answers
sequence
article_id
stringlengths
3
20
context
stringlengths
52
87.2k
question
stringlengths
4
234
question_id
stringlengths
1
24
title
stringlengths
0
179
{ "answer_end": [ 1639 ], "answer_start": [ 1626 ], "text": [ "ผู้รักษาประตู" ] }
104958
ตำแหน่งผู้เล่นฟุตบอล ในกีฬาฟุตบอล หนึ่งทีมมีผู้เล่น 11 คน เป็นมีผู้รักษาประตู 1 คน และผู้เล่นตำแหน่งอื่นอีก 10 คน ซึ่งประกอบด้วยผู้ที่ทำหน้าที่ป้องกัน (กองหลัง) ผู้อยู่แดนกลาง (กองกลาง) และผู้บุก (กองหน้า) แล้วแต่ระบบแผนที่ใช้ โดยตำแหน่งเหล่านั้นจะบ่งบอกถึงหน้าที่และพื้นที่ในการเล่นของตำแหน่งนั้น ๆ ด้วย โดยตอนแรกจะมีแค่ตำแหน่งกองหน้า (forwards), ฮาล์ฟแบ็ก (half-backs) และทรีควอเตอร์แบ็ก (three-quarter-backs) ช่วงแรกที่มีชื่ออย่างนี้เพราะว่า สมัยนั้นเป็นช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระบบ 2–3–5 เป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง การป้องกันจะมีฟุลแบ็กที่รู้จักกันในชื่อกองหลังฝั่งซ้ายและกองหลังฝั่งขวา แดนกลางจะมีเลฟต์ฮาล์ฟ (left-half), เซ็นเตอร์ฮาล์ฟ (centre-half) และไรต์ฮาล์ฟ (right-half) และในแนวบุกจะเป็นเอาต์ไซด์เลฟต์ (outside-left), อินไซด์เลฟต์ (inside-Left), กองหน้าตรงกลาง (centre-forward), อินไซด์ไรต์ (inside-right) และเอาต์ไซด์ไรต์ (outside-right) หลังจากนั้นรูปแบบระบบก็พัฒนาไปจนมีชื่อตำแหน่งมากมาย อย่างเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 คำว่า "ฮาล์ฟแบ็ก" ได้เปลี่ยนมาใช้คำว่า "กองกลาง" กับตำแหน่งที่เล่นในแดนกลางทั้งกลางสนามและริมเส้น กองกลางตัวกลางได้ถูกพัฒนาขึ้นอีกกลายเป็นกองกลางตัวบุกและกองกลางตัวรับ ในเกมสมัยใหม่ ตำแหน่งในฟุตบอลได้กำหนดไว้อย่างเคร่งครัดเหมือนรักบี้หรืออเมริกันฟุตบอล ถึงอย่างนั้นนักเตะส่วนใหญ่มักเล่นในตำแหน่งเดิมตลอดการค้าแข้งของพวกเขา เพราะในแต่ล่ะตำแหน่งนั้นใช้ทักษะและความสามารถทางร่างกายไม่เหมือนกัน แต่ก็มีนักฟุตบอลบางพวกที่เล่นได้หลายตำแหน่ง ซึ่งถึงเรียกว่า "นักเตะสารพัดประโยชน์" (utility players) ถึงกระนั้นก็ยังมีกลวิธีโททัลฟุตบอลที่วางตำแหน่งนักเตะอย่างหลวม ๆ ทำให้ผู้เล่นสามารถเล่นได้อย่างหลากหลาย ตัวอย่างเช่นโยฮัน ไกรฟฟ์ ที่สามารถเล่นได้ทุกตำแหน่งยกเว้นผู้รักษาประตูผู้รักษาประตู ผู้รักษาประตู. ผู้รักษาประตู (goalkeeper) เป็นตำแหน่งที่ป้องกันมากที่สุดในบรรดาหลายตำแหน่ง หน้าที่หลักก็คือการไม่ให้อีกทีมได้แต้มโดยการรับ การปัด หรือการชกบอลจากการยิง การโหม่ง หรือจากลูกที่ไขว้เข้ามา ตำแหน่งนี้ไม่เหมือนตำแหน่งอื่นในทีมตรงที่ส่วนใหญ่ตำแหน่งนี้มักใช้เวลาอยู่บริเวณกรอบเขตโทษ ผลคือทำให้ผู้รักษาประตูเห็นตำแหน่งที่ดีของสนามหรือจากลูกตั้งเตะ ผู้รักษาประตูเป็นผู้เล่นคนเดียวที่สามารถใช้มือกับลูกฟุตบอลได้ แต่ใช้ได้ในกรอบเขตโทษตัวเองเท่านั้น ตำแหน่งผู้รักษาประตูนี้ถือเป็นตำแหน่งที่สำคัญและยากในการป้องกันอีกด้วยกองหลัง กองหลัง. กองหลัง (defender) จะอยู่ด้านหลังของกองกลาง และหน้าที่หลักของพวกเขาก็คือสนับสนุนทีมและป้องกันไม่ให้อีกฝ่ายทำประตูได้ ปกติพวกเขาจะอยู่เพียงครึ่งสนามในฝั่งพวกเขาเพื่อป้องกัน กองหลังตัวสูงจะไปอยู่แดนหน้า บริเวณจุดโทษของอีกฝ่ายเมื่อมีลูกเตะมุม หรือลูกฟรีคิก เพื่อเขาจะโหม่งเข้าประตูอีกฝ่ายได้กองหลังตัวกลาง กองหลังตัวกลาง. กองหลังตัวกลาง (centre-back) หรือที่ในอดีตเรียกว่าเซ็นเตอร์ฮาล์ฟ หน้าที่ของพวกเขาคือการหยุดผู้เล่นอีกฝ่าย (โดยเฉพาะศูนย์)จากการทำประตู และนำลูกบอลออกจากเขตโทษ ตำแหน่งนี้เล่นอยู่ตรงกลางของแผงหลังตามชื่อ ทีมส่วนใหญ่มักจะใช้ 2 คน การยืนตำแหน่งจะยืนหน้าผู้รักษาประตู ทั้งสองเป็นหัวใจหลักในแนวรับ ทั้งการคุมพื้นที่และการประกบตัวต่อตัว กองหลังตัวกลางมักจะสูง แข็งแกร่ง และต้องมีความสามารถการกระโดดสูง การโหม่งดี และการแย่งลูกได้ดี กองหลังตัวกลางที่ประสบความสำเร็จต้องมีสมาธิ อ่านเกมได้อย่างยอดเยี่ยม และมีความกล้าหาญและเด็ดขาดในการแย่งลูกจากอีกฝ่ายที่จะผ่านไปทำประตู บางครั้งโดยเฉพาะลีกล่าง ๆ กองหลังตัวกลางยังขาดมีสมาธิในการควบคุมบอลและส่งบอลไม่ดี ทำได้เพียงแค่ปลอดภัยไว้ก่อน ถึงอย่างนั้น สำหรับกองหลังตัวกลางขอเพียงแค่มีทักษะฟุตบอลขั้นพื้นฐานเพื่อรูปแบบการเล่นที่เน้นการครองบอลเท่านั้นก็พอ ตำแหน่งนี้บางครั้งจะถูกเรียกว่าเซ็นเตอร์ฮาล์ฟ เดิมในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระบบแผน 2–3–5 เป็นที่นิยม แถมสามคนจะถูกเรียกว่าฮาล์ฟแบ็ก เมื่อระบบแผนพัฒนาต่อมา ผู้เล่นตรงกลางทั้งสามนี้ (เซ็นเตอร์ฮาล์ฟ) ได้ย้ายมาตำแหน่งป้องกันมากขึ้น ปัจจุบันยังมีคนเรียกชื่อเหล่านี้อยู่สวีปเปอร์ สวีปเปอร์. สวีปเปอร์ (sweeper) หรือ ลีเบโร () เป็นตำแหน่งที่แตกมาจากกองหลังตัวกลางอีกที หรือเป็นตำแหน่งที่มีกองหลังตัวกลางสามคน ซึ่งเป็นตำแหน่งระหว่างกองหลังตัวกลางทั้งสอง ชื่อนี้มาจากวลี "sweeps up" ในการขจัดบอลที่อีกฝ่ายเลี้ยงฝ่าแนวรับมาได้ ตำแหน่งพวกเขานั้นมีความเป็นอิสระมากกว่าแผงหลังซึ่งคอยประกบอีกฝ่ายที่ถูกกำหนดขึ้น ตำแหน่งสวีปเปอร์จำเป็นต้องมีทักษะอ่านเกมได้ยิ่งกว่ากองหลังตัวกลาง ในปัจจุบันมีกฎล้ำหน้าซึ่งมักใช้แนวนับในการจับอีกฝ่ายล้ำหน้า ทำให้ตำแหน่งนี้ไม่ค่อยได้รับความนิยมในปัจจุบันฟุลแบ็ก ฟุลแบ็ก. แบ็กซ้าย (left-back) และ แบ็กขวา (right-back) หรือที่ปกติจะเรียก ฟุลแบ็ก (full-back) จะประจำตำแหน่งที่ด้านข้างของกองหลังตัวกลาง เพื่อป้องกันการบุกจากริมเส้น และบ่อยครั้งที่ต้องไปหยุดการบุกของตำแหน่งปีกฝ่ายตรงข้ามที่พยายามผ่าน หรือโยนบอลเข้าเขตโทษ ตามปกติลูกเตะมุมหรือลูกฟรีคิก ฟุลแบ็กจะไม่ขึ้นไปช่วยแนวหน้า แต่อาจอยู่ประมาณเส้นครึ่งสนาม ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับแผนของแนวรับนั้น ๆ ด้วย ในเกมสมัยใหม่มีแนวโน้มที่จะให้ฟุลแบ็ก (วิงแบ็ก) มีบทบาทในการบุกด้วย แต่พวกนั้นจะไม่ถูกเรียกว่าแบ็กขวาหรือแบ็กซ้าย เดิมฟุลแบ็กเป็นแนวรับสุดท้ายของทีม แต่เมื่อเข้าคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตำแหน่งเซ็นเตอร์ฮาล์ฟได้ถอยร่นลงมากลายเป็นตำแหน่ง "กองหลังตัวกลาง" ฟุลแบ็กได้ถูกย้ายมาริมเส้นกลายเป็นแบ็กขวาและแบ็กซ้ายวิงแบ็ก วิงแบ็ก. วิงแบ็ก (wing-back) หรือฟุลแบ็กตัวบุก คือกองหลังที่เน้นในการบุก ชื่อตำแหน่งนี้มาจากปีก (winger) และฟุลแบ็กผสมกัน ปกติตำแหน่งนี้จะใช้ในแผน 3–5–2 จึงถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของแดนกลางในจังหวะการบุก หรือบางทีก็ใช้ในแผน 5–3–2 แต่คำว่าวิงแบ็กไม่ค่อยได้ใช้ในปัจจุบัน โดยเฉพาะเมื่อเล่นแผน 4–3–3 หรือ 4–2–3–1 ผู้เล่นวิงแบ็กจำเป็นต้องใช้พลกำลังอย่างมากในฟุตบอลสมัยใหม่ วิงแบ็กมักจะเล่นบนสนามมากกว่าฟุลแบ็กทั่วไปโดยเฉพาะกับทีมที่ไม่มีผู้เล่นปีก วิงแบ็กต้องการความอึดเป็นพิเศษในการวิ่งขึ้นไปแนวรุกและลงมาตั้งรับกองกลาง กองกลาง. กองกลาง (midfielder) เดิมทีเรียกว่าฮาล์ฟแบ็ก ตำแหน่งนี้จะเล่นอยู่ระหว่างศูนย์หน้าและกองหลัง หน้าที่หลักของตำแหน่งนี้คือครองบอล และรับบอลจากกองหลัง แล้วขึ้นไปส่งให้กองหน้า พร้อมกับไล่บอลจากผู้เล่นอีกฝ่าย ส่วนใหญ่ในทีมต้องมีกองกลางตัวกลาง (central midfielder) อย่างน้อยหนึ่งคน เพื่อหยุดเกมบุกของอีกฝ่าย นอกจากนั้นก็มีการทำประตู ไม่ก็ขึ้นไปบุกและลงมาตั้งรับตามหน้าที่ที่ได้รับ กองกลางนั้นต้องเล่นเกือบทั่วสนาม เมื่อถึงคราวรับ พวกเขาจะลงมาช่วยตั้งรับ เมื่อจะบุกก็ไปช่วยกองหน้าในการบุก พวกเขาส่วนใหญ่จะเป็นคนที่เริ่มเล่นในจังหวะการบุกของทีมกองกลางตัวกลาง กองกลางตัวกลาง. กองกลางตัวกลาง (centre midfielder) มีหน้าที่เชื่อมเกมระหว่างกองหลังและกองหน้า กองกลางตัวกลางนั้นมีหน้าที่มากมาย ตั้งแต่ช่วยทีมบุกในจังหวะการบุก และเมื่อเสียบอลให้อีกฝ่าย พวกเขาต้องพยายามแย่งมันมาก่อนจะถึงแนวหลัง เมื่อแนวหลังหรือพวกเขาได้ลูกบอลอีกครั้ง ตำแหน่งนี้จะเป็นคนที่เริ่มบุกก่อน บางครั้งตำแหน่งนี้จะได้รับชื่อว่า "ตัวทำเกม" (playmaker) บางครั้งตำแหน่งนี้ต้องไปอยู่แนวป้องกันเมื่อถูกบุกมาก ๆ หรือจังหวะเตะมุมของอีกฝ่าย กองกลางตัวกลางบางครั้งก็ต้องยุ่งอยู่กับจังหวะเกมอยู่ตลอดเวลาจนเรียกได้ว่าเป็น "ห้องเครื่องของทีม" (the engine room of the team) เมื่อเวลาผ่านไป กองกลางตัวกลางก็ได้รับการพัฒนาเป็นกองกลางตัวบุกและกองกลางตัวรับ ซึ่งทั้งสองตำแหน่งนี้จะอธิบายไว้ด้านล่างของกองกลางตัวกลางนี้ บางทีอาจวางตำแหน่งทั้งสามไว้ด้วยกัน หรืออาจให้กองกลางไปไว้ด้านกว้างหรือริมเส้นด้วยกองกลางตัวรับ กองกลางตัวรับ. กองกลางตัวรับ (defensive midfielder) เป็นกองกลางที่ประจำที่ก่อนกองหลัง มีบทบาทในการป้องกัน เมื่อไม่มีการบุก กองกลางตัวรับจะรีบถอยมาตั้งรับ และแย่งลูกบอลจากทีมฝ่ายตรงข้าม แม้หน้าที่หลักจะเป็นป้องกัน แต่ก็มีกองกลางบางคนที่ทำหน้าที่เป็นตัวทำเกมในแนวลึกหรือตัวทำเกมตัวต่ำ (deep-lying playmaker) ซึ่งสามารถกำหนดจังหวะเกมได้จากตำแหน่งที่อยู่ท้ายด้วยการผ่านบอล กองกลางตัวรับต้องการการยืนตำแหน่งที่ดี การขยันไล่บอล มีความสามารถในการสกัดบอล และต้องคาดการณ์ผู้เล่นและลูกบอลได้ดี นอกจากนี้ยังต้องการทักษะการส่งบอล และการครองบอลภายใต้ความกดดันได้ดี แต่ที่สำคัญที่สุดคือความอึด เพราะตำแหน่งนี้ต้องวิ่งไปทั่วสนามตลอดการค้าแข้ง ในสโมสรชั้นนำ กองกลางอาจวิ่งเกือบ 12 กิโลเมตร ตลอดเกม ส่วนตัวทำเกมตัวต่ำต้องการการสัมผัสบอลแรกในสถานการณ์กดดัน และทักษะส่งไกลไปอีกครึ่งสนามอย่างแม่นยำเพื่อให้เพื่อนบุกกองกลางตัวรุก กองกลางตัวรุก. กองกลางตัวรุก (attacking midfielder) คือกองกลางที่อยู่สูงกว่าปกติ แต่จะไม่เกินศูนย์หน้า เป็นผู้เล่นช่วยทีมในจังหวะบุก หน้าที่ของตำแหน่งนี้คือการสร้างโอกาสทำประตูด้วยวิสัยทัศน์ที่เหนือชั้นและทักษะของพวกเขา คนที่จะเล่นกองกลางตัวรุกต้องมีความชำนาญในการส่งบอล และที่สำคัญกว่านั้นก็คือการอ่านการเคลื่อนไหวของกองหลังเพื่อส่งบอลไปให้ศูนย์หน้าทำประตู บางครั้งตำแหน่งกองกลางตัวรุกถูกเรียกว่า "เตรกวาร์ติสตา" () ซึ่งรู้จักกันดีในการยิงประตูจากระยะไกล และการกล้าที่จะผ่านบอล แต่กองกลางตัวรุกไม่ใช่ว่าเป็นเตรกวาร์ติสตา เพราะเตรกวาร์ติสตาต้องเป็นกองกลางตัวรุกที่สร้างสรรค์การบุกที่หลากหลายในการทำประตู พวกเขามักจะเป็นผู้เล่นที่โดดเด่นประจำทีม ดังนั้นทีมมักจะให้เขาเป็นตัวฟรี เพื่อค่อยสร้างสรรค์สถานการณ์ในจังหวะบุกกองกลางด้านกว้าง กองกลางด้านกว้าง. กองกลางด้านกว้าง (wide midfielder) หรือ กองกลางตัวริมเส้น (side midfielder) ตำแหน่งในอดีตคือไรต์ฮาล์ฟและเลฟต์ฮาล์ฟ หรืออีกชื่อคือวิงฮาล์ฟ (wing-half) เป็นตำแหน่งที่ประจำการทางซ้ายและขวาของตำแหน่งเซ็นเตอร์กองกลาง พวกเขาบางครั้งก็ถูกเรียกว่า "ปีก" (winger) เนื่องจากแผนสมัยใหม่ได้เอากองหน้าริมเส้นเลื่อนมาเล่นในตำแหน่งกองกลางด้านกว้าง ทำให้ยังมีการใช้คำว่าปีกอยู่กองหน้า กองหน้า. กองหน้า (forward, striker) เป็นตำแหน่งของผู้เล่นฟุตบอลที่เล่นอยู่บริเวณหน้าประตูอีกฝ่าย หน้าที่หลักของกองหน้าก็คือทำประตู หรือสร้างโอกาสให้ผู้เล่นอื่นทำประตู หน้าที่ในจังหวะตั้งรับก็มี นั้นก็คือคอยไล่บอลจากองหลังและผู้รักษาประตูอีกฝ่าย ในแผนสมัยใหม่ กองหน้ามีได้ตั้งแต่ 1 ถึง 3 คน ;ยกตัวอย่างเช่นในแผน 4–2–3–1 จะมีกองหน้าคนเดียว, 4–4–2 จะมีกองหน้าสองคน, 4–3–3 จะมีกองหน้า 3 คน โดยมีกองหน้าตัวเป้าหนึ่งคน และปีก 2 คนกองหน้าตัวเป้า กองหน้าตัวเป้า. กองหน้าตัวเป้า หรือ กองหน้าตัวกลาง (centre forward) หรือ กองหน้าตัวหลัก (main striker) หน้าที่หลักของพวกเขาคือการทำประตู และเป็นหัวใจหลักในการบุกของทีม เมื่อก่อนกองหน้าต้องตัวสูง และแข็งแกร่งทางร่างกายเพื่อแย่งลูกในจังหวะที่มีคนโยนบอลเข้ามาเพื่อทำประตู ทำให้พวกเขาต้องพยายามทำประตูทั้งการเล่นกับเท้า การโหม่ง อีกทั้งส่งให้เพื่อนทำประตู ในปัจจุบันที่เน้นจังหวะบอลเร็วมากขึ้น การเคลื่อนไหวอย่างคล่องแคล่วจึงเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อฟุตบอลยุคนี้กองหน้าตัวต่ำ กองหน้าตัวต่ำ. กองหน้าตัวต่ำ (second striker, support striker) ในอดีตตำแหน่งนี้จะถูกเรียกว่ากองหน้าตัวใน (inside forward) ถึงจะมีประวัติมายาวนาน แต่นิยามของตำแหน่งนี้ก็แตกต่างกันไปทุกยุค การเป็นกองหน้าตัวต่ำนั้นไม่จำเป็นต้องมีตัวสูง หรือมีความแข็งแกร่งทางร่างกายเท่ากองหน้าตัวกลาง พวกต้องการทักษะเพื่อช่วยสร้างโอกาสทำประตูให้กองหน้าตัวกลาง การปั่นกองหลังฝ่ายตรงข้าม และถ้ามีโอกาสก็ยิงประตูด้วยตัวเองปีก ปีก. ปีก (winger) ประกอบด้วย ปีกซ้าย (left winger) และ ปีกขวา (right winger) ในอดีตเรียกตำแหน่งนี้ว่ากองหน้าตัวนอก (outside forward) เป็นตำแหน่งของผู้เล่นที่จะบุกจากทางริมเส้นขอบสนาม ในปัจจุบันตำแหน่งนี้ถูกเรียกว่าปีก หน้าที่ของตำแหน่งนี้คือใช้ความเร็วในการบุกผ่าฟุลแบ็กเพื่อป่วนกองหลัง แล้วส่งลูกหรือโยนลูกเข้าไปให้คนบุกอื่นอีกที หรืออาจบุกผ่ากองหลังคนอื่นเข้าไปทำประตูเอง
การไม่ให้อีกทีมได้แต้มโดยการรับ การปัด หรือการชกบอลเป็นหน้าที่หลักของตำแหน่งใดในกีฬาฟุตบอล
3519
{ "answer_end": [ 317 ], "answer_start": [ 309 ], "text": [ "รักลอยลม" ] }
71614
ชาติวุฒิ บุณยรักษ์ ชาติวุฒิ บุณยรักษ์ เป็นนักเขียนชาวไทย เกิดวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2518 ที่กรุงเทพฯ จบการศึกษา ปริญญานิเทศศาสตร์บัณฑิต สาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และ ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสื่อสารการตลาด มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เมื่อปี 2543 มีผลงานเรื่องสั้นเรื่องแรก “รักลอยลม” ตีพิมพ์ในนิตยสารสุดสัปดาห์ เมื่อปีพ.ศ. 2546 ปลายปีพ.ศ. 2547 ออกหนังสือรวมเรื่องสั้นสองเล่มในชื่อ “ตำนานสุดท้าย-ไอ้มดแดง” และ “วันพิพากษา” ในปีพ.ศ. 2548 รวมเรื่องสั้น “ตำนานสุดท้าย-ไอ้มดแดง” เข้ารอบ 1 ใน 20 เล่มสุดท้ายของการประกวดรางวัลซีไรท์ประจำปี 2548 ปีพ.ศ. 2549 มีรวมเรื่องสั้นลำดับที่สามในชื่อ “นาฏกรรมเมืองหรรษา” ออกกับสำนักพิมพ์มติชน "ชาติวุฒิ บุณยรักษ์" ได้เสียชีวิตลงเมื่อเวลา 15.00 น.วันที่6 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 จากอาการปอดบวมและติดเชื้อในกระแสเลือด หลังจากพักรักษาตัวจากเหตุอัตวินิบาตกรรมด้วยการลั่นกระสุนใส่ศีรษะตนเองเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2553เกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - เรื่องสั้น “มุมใหม่” ได้รับรางวัลชมเชยจากการประกวดรางวัล “mBook Contest สนุกคิด สนุกเขียน” โดยบ.โฟธอท จำกัด ร่วมกับ บ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) (2547) - เรื่องสั้น “วูบ” ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับหนึ่งจากการประกวดเรื่องสั้นของนิตยสาร ’m fine ครั้งที่หนึ่ง (2548) - เรื่องสั้น “ทาส” ได้รับรางวัลเรื่องสั้นดีเด่นประจำปี 2548 จากเว็บไซต์ประพันธ์สาส์น (2548) - เรื่องสั้น “คือคำสารภาพ” ได้รับรางวัลจากการประกวดเรื่องสั้นโครงการ “เปลือย” ของสุดสัปดาห์สำนักพิมพ์ (2548) - เรื่องสั้น “รักลอยลม” ได้รับรางวัลจากการประกวดเรื่องสั้นโครงการ “เปลือย” ของสุดสัปดาห์สำนักพิมพ์ (2548) - เรื่องสั้น “รอยเดิม” ได้รับรางวัลชมเชยจากการประกวดเรื่องสั้นโครงการชีวจริยธรรมกับสังคม โดยมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (2548) - เรื่องสั้น “บัวห้าดอก” เป็น 1 ใน 20 เรื่องสุดท้ายของการประกวดเรื่องสั้นวิทยาศาสตร์แนวสืบสวนสอบสวน รางวัล Nation Book Award ครั้งที่ 2 (2548) - เรื่องสั้น “รอยแยก” เป็น 1 ใน 12 เรื่องสุดท้ายของการประกวดรางวัลวรรณกรรมการเมืองพานแว่นฟ้าประจำปี 2548 - เรื่องสั้น “คนรัก” ได้รับรางวัลเรื่องสั้นดีเด่นจากการประกวด “โครงการวรรณกรรม-วรรณศิลป์ ครั้งที่ 1” ของนิตยสารสกุลไทย (2549) - เรื่องสั้น “คำถาม” ได้รับรางวัลเรื่องสั้นดีเด่นจากการประกวด “โครงการวรรณกรรม-วรรณศิลป์ ครั้งที่ 1” ของนิตยสารสกุลไทย (2549) - เรื่องสั้น “นาฏกรรมริมฝั่งโขง” เป็นหนึ่งในผลงานจากการประกวดวรรณกรรมลุ่มน้ำโขง โดยเครือข่ายอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง-ล้านนา - เรื่องสั้น “เจตนารมณ์สุดท้ายของชายวิปลาส” (จากหนังสือรวมเรื่องสั้นตำนานสุดท้าย-ไอ้มดแดง) ได้รับการจัดทำเป็นละครเวทีโดยอาจารย์และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร์เกษม และจัดแสดงต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรกในงานมหกรรมหนังสือทำมือและสื่อทางเลือกแห่งประเทศไทยครั้งที่ 3 ณ สวนสันติชัยปราการ ถนนพระอาทิตย์ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2548 - เรื่องสั้น “รอยแยก” เป็น 1 ใน 25 เรื่องสั้นยอดเยี่ยมรางวัลนายอินทร์อะวอร์ดครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2549 - เรื่องสั้น “เรื่องกล้วยๆ และหลอดไฟของพ่อ” เป็น 1 ใน 25 เรื่องสั้นยอดเยี่ยมรางวัลนายอินทร์อะวอร์ดครั้งที่ 7 ประจำปีพ.ศ. 2549 อ้างอิง:ข้อมูลจาก บ. เจเนซิสมีเดียคอม จำกัด สนพ.แรกที่ตีพิมพ์ผลงานของเขา
ผลงานเรื่องสั้นเรื่องแรกของชาติวุฒิ บุณยรักษ์ คือเรื่องใด
3520
{ "answer_end": [ 1197 ], "answer_start": [ 1194 ], "text": [ "ทาส" ] }
71614
ชาติวุฒิ บุณยรักษ์ ชาติวุฒิ บุณยรักษ์ เป็นนักเขียนชาวไทย เกิดวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2518 ที่กรุงเทพฯ จบการศึกษา ปริญญานิเทศศาสตร์บัณฑิต สาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และ ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสื่อสารการตลาด มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เมื่อปี 2543 มีผลงานเรื่องสั้นเรื่องแรก “รักลอยลม” ตีพิมพ์ในนิตยสารสุดสัปดาห์ เมื่อปีพ.ศ. 2546 ปลายปีพ.ศ. 2547 ออกหนังสือรวมเรื่องสั้นสองเล่มในชื่อ “ตำนานสุดท้าย-ไอ้มดแดง” และ “วันพิพากษา” ในปีพ.ศ. 2548 รวมเรื่องสั้น “ตำนานสุดท้าย-ไอ้มดแดง” เข้ารอบ 1 ใน 20 เล่มสุดท้ายของการประกวดรางวัลซีไรท์ประจำปี 2548 ปีพ.ศ. 2549 มีรวมเรื่องสั้นลำดับที่สามในชื่อ “นาฏกรรมเมืองหรรษา” ออกกับสำนักพิมพ์มติชน "ชาติวุฒิ บุณยรักษ์" ได้เสียชีวิตลงเมื่อเวลา 15.00 น.วันที่6 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 จากอาการปอดบวมและติดเชื้อในกระแสเลือด หลังจากพักรักษาตัวจากเหตุอัตวินิบาตกรรมด้วยการลั่นกระสุนใส่ศีรษะตนเองเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2553เกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - เรื่องสั้น “มุมใหม่” ได้รับรางวัลชมเชยจากการประกวดรางวัล “mBook Contest สนุกคิด สนุกเขียน” โดยบ.โฟธอท จำกัด ร่วมกับ บ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) (2547) - เรื่องสั้น “วูบ” ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับหนึ่งจากการประกวดเรื่องสั้นของนิตยสาร ’m fine ครั้งที่หนึ่ง (2548) - เรื่องสั้น “ทาส” ได้รับรางวัลเรื่องสั้นดีเด่นประจำปี 2548 จากเว็บไซต์ประพันธ์สาส์น (2548) - เรื่องสั้น “คือคำสารภาพ” ได้รับรางวัลจากการประกวดเรื่องสั้นโครงการ “เปลือย” ของสุดสัปดาห์สำนักพิมพ์ (2548) - เรื่องสั้น “รักลอยลม” ได้รับรางวัลจากการประกวดเรื่องสั้นโครงการ “เปลือย” ของสุดสัปดาห์สำนักพิมพ์ (2548) - เรื่องสั้น “รอยเดิม” ได้รับรางวัลชมเชยจากการประกวดเรื่องสั้นโครงการชีวจริยธรรมกับสังคม โดยมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (2548) - เรื่องสั้น “บัวห้าดอก” เป็น 1 ใน 20 เรื่องสุดท้ายของการประกวดเรื่องสั้นวิทยาศาสตร์แนวสืบสวนสอบสวน รางวัล Nation Book Award ครั้งที่ 2 (2548) - เรื่องสั้น “รอยแยก” เป็น 1 ใน 12 เรื่องสุดท้ายของการประกวดรางวัลวรรณกรรมการเมืองพานแว่นฟ้าประจำปี 2548 - เรื่องสั้น “คนรัก” ได้รับรางวัลเรื่องสั้นดีเด่นจากการประกวด “โครงการวรรณกรรม-วรรณศิลป์ ครั้งที่ 1” ของนิตยสารสกุลไทย (2549) - เรื่องสั้น “คำถาม” ได้รับรางวัลเรื่องสั้นดีเด่นจากการประกวด “โครงการวรรณกรรม-วรรณศิลป์ ครั้งที่ 1” ของนิตยสารสกุลไทย (2549) - เรื่องสั้น “นาฏกรรมริมฝั่งโขง” เป็นหนึ่งในผลงานจากการประกวดวรรณกรรมลุ่มน้ำโขง โดยเครือข่ายอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง-ล้านนา - เรื่องสั้น “เจตนารมณ์สุดท้ายของชายวิปลาส” (จากหนังสือรวมเรื่องสั้นตำนานสุดท้าย-ไอ้มดแดง) ได้รับการจัดทำเป็นละครเวทีโดยอาจารย์และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร์เกษม และจัดแสดงต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรกในงานมหกรรมหนังสือทำมือและสื่อทางเลือกแห่งประเทศไทยครั้งที่ 3 ณ สวนสันติชัยปราการ ถนนพระอาทิตย์ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2548 - เรื่องสั้น “รอยแยก” เป็น 1 ใน 25 เรื่องสั้นยอดเยี่ยมรางวัลนายอินทร์อะวอร์ดครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2549 - เรื่องสั้น “เรื่องกล้วยๆ และหลอดไฟของพ่อ” เป็น 1 ใน 25 เรื่องสั้นยอดเยี่ยมรางวัลนายอินทร์อะวอร์ดครั้งที่ 7 ประจำปีพ.ศ. 2549 อ้างอิง:ข้อมูลจาก บ. เจเนซิสมีเดียคอม จำกัด สนพ.แรกที่ตีพิมพ์ผลงานของเขา
เรื่องสั้นของชาติวุฒิ บุณยรักษ์ เรื่องใดที่ได้รับรางวัลเรื่องสั้นดีเด่นประจำปี 2548 จากเว็บไซต์ประพันธ์สาส์น
3521
{ "answer_end": [ 651 ], "answer_start": [ 632 ], "text": [ "ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน" ] }
592903
อนัตตลักขณสูตร อนัตตลักขณสูตร () คือพระสูตรที่แสดงลักษณะ คือ เครื่องกำหนดหมายว่าเป็นอนัตตา เป็นพระสูตรที่มีความสำคัญที่สุดพระสูตรหนึ่ง เนื่องจากหลังจากที่พระโคตมพุทธเจ้าได้ทรงแสดงพระสูตรนี้แล้ว ได้บังเกิดพระอรหันต์ในพระบวรพุทธศาสนา 5 องค์ รวมพระพุทธองค์เป็น 6 องค์ ซึ่งพระสูตรนี้ มีใจความเกี่ยวกับ ความไม่ใช่ตัวตนของ รูป คือ ร่างกาย เวทนา คือ ความรู้สึกสุขทุกข์หรือเฉย ๆ สัญญา คือ ความจำได้หมายรู้ สังขาร คือ ความคิดหรือเจตนา วิญญาณ คือ ความรู้อารมณ์ทางตา หู เป็นต้น หรือเรียกอีกประการหนึ่งว่า อายตนะทั้ง 6 อันได้แก่สัมผัสทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจประวัติ ประวัติ. อนัตตลักขณสูตร เป็นพระสูตรที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี หรือในเขตเมืองสารนาถ ประเทศอินเดียในปัจจุบันเมื่อพระชนมายุได้ 35 พรรษา พระสูตรนี้ โดยทรงแสดงต่อปัญจวัคคีย์ ในวันแรม 5 ค่ำ เดือน 8 หลังจากที่ พระพุทธองค์ได้แสดงปฐมเทศนาคือธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 จนพระอัญญาโกณฑัญญะบรรลุโสดาบัน และในวันต่อ ๆ มา คือในวันแรม 1 ค่ำ 2 ค่ำ 3 ค่ำ และ 4 ค่ำเดือน 8 ทรงแสดง “ปกิณณกเทศนา” ยังผลให้พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ บรรลุโสดาบันตามลำดับ และได้รับเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในระหว่างที่ทรงแสดงปกิณณกเทศนา เพื่ออบรมพระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิอยู่นั้น พระอริยเจ้าทั้งหลายมิได้บิณฑบาตยังชีพ ต่างเร่งกระทำความเพียร เช่นเดียวกับสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็มิได้ทรงบิณฑบาตรเช่นกัน เพื่อทรงสั่งสอนอบรมพระอริยเจ้าจนกระทั่งแต่ละองค์สำเร็จมรรคผลขั้นต้นในที่สุด ครั้นเมื่อถึงวันแรม 5 ค่ำ เดือน 8 หลังจากสดับพระธรรมเทศนาอนัตตลักขณสูตรพระภิกษุปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ได้บรรลุพระนิพพานเป็นพระอรหันต์พร้อมกันทั้ง 5 รูป นับเป็นพระอรหันต์กลุ่มแรกในพระบวรพุทธศาสนา ดังปรากฏในเนื้อความของพระสูตรดังที่พระธรรมสังคาหกาจารย์ หรือ พระอาจารย์ผู้ทำสังคายนาร้อยกรองตั้งเป็นพระบาลีไว้ ได้กล่าวไว้ในตอนท้ายพระสูตรไว้ ดังนี้ " อิทมโวจ ภควา. อตฺตมนา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทุ. อิมสฺมึ จ ปน เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ. เตน โข ปน สมเยน ฉ โลเก อรหนฺโต โหนฺติ." ความว่า "พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระสูตรนี้แล้ว พระปัญจวัคคีย์มีใจยินดี เพลิดเพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาค. ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ จิตของพระปัญจวัคคีย์พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น ครั้งนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก 6 องค์"เนื้อหา เนื้อหา. พระสูตรนี้มีใจความโดยย่อดังที่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) ได้ทรงมีพระนิพนธ์ไว้ดังต่อไปนี้ ตอนที่ 1 พระบรมศาสดาได้ทรงแสดง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ว่าเป็นอนัตตา มิใช่อัตตาตัวตน ถ้าทั้งห้านี้ พึงเป็นอัตตาตัวตน ทั้งห้านี้ก็ถึงไม่เป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลก็จะพึงได้ในส่วนทั้งห้านี้ว่า ขอให้เป็นอย่างนี้เถิด อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย แต่เพราะเหตุว่าทั้งห้านี้มิใช่อัตตาตัวตน ฉะนั้น ทั้งห้านี้จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลก็ย่อมไม่ได้ส่วนทั้งห้านี้ว่า ขอให้เป็นอย่างนี้เถิด อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย ตอนที่ 2 พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสอบความรู้ความเห็นของท่านทั้งห้านั้น ตรัสถามว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทั้งห้านี้เที่ยงหรือไม่เที่ยง ท่านทั้งห้า ทูลตอบว่า ไม่เที่ยง ตรัสถามอีกว่า สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุข ท่านทั้งห้ากราบทูลว่าเป็นทุกข์ ก็ตรัสถามต่อไปว่า สิ่งใดไม่เที่ยงเป็นทุกข์มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ควรหรือจะเห็นสิ่งนั้น ตอนที่ 3 พระพุทธเจ้าได้ตรัสรุปลงว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทั้งห้านี้ที่เป็นส่วนอดีตก็ดี เป็นส่วนอนาคตก็ดี เป็นส่วนปัจจุบันก็ดี เป็นส่วนภายในก็ดี เป็นส่วนภายนอกก็ดี เป็นส่วนหยาบก็ดี เป็นส่วนละเอียดก็ดี เป็นส่วนเลวก็ดี เป็นส่วนประณีตก็ดี อยู่ในที่ไกลก็ดี อยู่ในที่ใกล้ก็ดี ทั้งหมดก็สักแต่ว่าเป็นรูป เป็นเวทนา เป็นสัญญา เป็นสังขาร เป็นวิญญาณ ควรเป็นด้วยปัญญาชอบตามที่เป็นแล้วว่า นี่ไม่ใช่ของเรา เราไม่ใช่นี่ นี่ไม่ใช่ตัวตนของเรา ตอนที่ 4 พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงผลทีเกิดแก่ผู้ฟังและเกิดความรู้เห็นชอบดั่งกล่าวมานั้นต่อไปว่า อริยสาวก คือ ผู้ฟังผู้ประเสริฐซึ่งได้สดับแล้วอย่างนี้ ย่อมเกิดนิพพิทา คือ ความหน่ายในรูป หน่ายในเวทนา หน่ายในสัญญา หน่ายในสังขาร หน่ายในวิญญาณ เมื่อหน่ายก็ย่อมสิ้นราคะ คือ สิ้นความติด ความยินดี ความกำหนัด เมื้อสิ้นราคะ ก็ย่อมวิมุตติ คือ หลุดพ้น เมื่อวิมุตติ ก็ย่อมมีญาณ คือความรู้ว่าวิมุตติ หลุดพ้นแล้ว และย่อมรู้ว่า ชาติ คือ ความเกิดสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นที่จะพึงทำเพื่อความเป็นเช่นนี้อีกต่อไปความสำคัญ ความสำคัญ. จุดมุ่งหมายของพระสูตรนี้ก็เพื่อชี้ให้เห็นถึงความเป็นอนัตตาของสรรพสิ่ง ให้เล็งเห็นว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ หรือขันธ์ 5 นั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรไปเป็นธรรมดา ไม่ควรที่จะเห็นโดยสำคัญด้วยตัณหา มานะ ทิฏฐิว่า นั่นเป็นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา ก่อนที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุธเจ้าจะทรงตรัสรู้ทรงตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณนั้น ชาวโลกมีทิฏฐิสุดโต่งอยู่ 2 ประการ กล่าวคือ ฝ่ายสัสสตทิฏฐิ ที่เห็นว่าในปัจจุบันชาตินี้ก็มีอัตตา คือ ตัวตน เมื่อสิ้นชีวิตไปแล้วอัตตาคือตัวตนก็ยังไม่สิ้น ยังจะมีสืบภพชาติต่อไป มีชาติหน้าเรื่อยไปไม่มีขาดสูญ และฝ่ายอุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่า มีอัตตาตัวตนอยู่แต่ในปัจจุบันชาตินี้เท่านั้น เมื่อสิ้นชีวิตไปแล้วอัตตาตัวตนก็สิ้นไป ไม่มีอะไรเหลืออยู่ที่จะให้ไปเกิด ดั่งที่เห็นว่า ตายสูญ แต่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศว่า ความเห็นทั้ง 2 ฝ่ายล้วนเป็น มิจฉาทิฏฐิ คือความเห็นผิด และทรงชี้ทางที่เห็นถูกไว้ว่า ตราบใดที่ยังไม่สิ้นความยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ 5 แล้ว อาทิ ยังยึดมันว่า รูปเป็นตัวตน หรืออัตตา เวทนาเป็นอัตตา สัญญาเป็นอัตตา สังขารเป็นอัตตา และวิญญาณเป็นอัตตา ก็ยังจะมีการเกิดดับไม่รู้จักจบสิ้นในสังสารวัฏ การยึดมั่นในขันธ์ 5 นี้ เรียกว่า "ปัญจุปาทานขันธ์" สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) ทรงแสดงทัศนะไว้ว่า "ในสมัยพุทธกาลหรือสมัยไหน ๆ ก็คงเป็นเช่นนี้ ในปัจจุบันก็เป็นเช่นนี้ และพระปัญจวัคคีย์นั้นก็ย่อมมีความยึดถืออยู่เช่นนี้อย่างมั่นคง เพราะฉะนั้น เมื่อฟังธรรมจักร ท่านพระอัญญาโกณฑัญญะจึงได้ดวงตาเห็นธรรมเพียงรูปเดียว เมื่อพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมอบรมอีก จึงได้ดวงตาเห็นธรรมจนครบทั้ง 5 รูป แต่ก็ได้เพียงดวงตาเห็นธรรม เท่ากับว่าเห็นทุกขสัจ ความจริงคือทุกข์ขึ้นเท่านั้น พระพุทธเจ้าจึงได้ทรงแสดงพระสูตรที่ 2 ชี้ลักษณะของอาการทั้ง 5 เหล่านี้ว่าเป็น อนัตตา คือ ไม่ใช่ตัวตนโดยชัดเจน"ความเชื่อ ความเชื่อ. อนัตตลักขณสูตร เป็นพระสูตรที่ยังให้เกิดพระอรหันต์ในคราวเดียวกันถึง 5 องค์ อีกทั้งยังเป็นพระอรหันต์กลุ่มแรก นับเป็นการลงหลักปักฐานพระธรรมวินัยของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าครั้งสำคัญ เชื่อถือกันว่า พระสูตรนี้เป็นหนึ่งในพระสูตรสำคัญรวบรวมเอาหัวใจของพระบวรพุทธศาสนาไว้ อย่างครอบคลุม กว้างขวาง จึงขนานนามกันว่าเป็น "ราชาธรรม" เช่นเดียวกับ ธัมมจักกัปปวัตนสูตรและอาทิตตปริยายสูตร ซึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ และยังให้บังเกิดการประกาศพระศาสนาครั้งใหญ่ไปทั่วสากลจักรวาล และบังเกิดพระอรหันต์เป็นจำนวนมาก โดยหลวงปู่จันทา ถาวโร แห่งวัดป่าเขาน้อย จังหวัดพิจิตร พระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ที่กล่าวว่าธัมมจักกัปปวัตตนสูตร อนัตตลักขณสูตร และอาทิตตปริยายสูตร ทั้ง 3 สูตรนี้เรียกว่า ราชาธรรม เป็นธรรมอันยิ่งใหญ่ของศาสนาพุทธ ธรรมทั้ง 84,000 พระธรรมขันธ์มารวมอยู่ที่นี่ทั้งหมดลำดับในพระไตรปิฏก ลำดับในพระไตรปิฏก. อนัตตลักขณสูตร จัดอยู่ในหมวดมหาวรรค แห่งพระวินัยปิฎก และเนื้อความในลักษณะเดียวกันยังปรากฏในปัญจวัคคิยสูตร แห่งสังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค ในพระสุตตันตปิฎก ส่วนในพระไตรปิฎกภาษาจีน จัดอยู่ในหมวดอาคม คือสัมยุกตะ อาคม พระสูตรที่ 34 มีรหัสว่า SA 34
อนัตตลักขณสูตรคือพระสูตรที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงที่ใด
3522
{ "answer_end": [ 569 ], "answer_start": [ 565 ], "text": [ "2009" ] }
290713
เชอร์ล็อค โฮล์มส์ ดับแผนพิฆาตโลก เชอร์ล็อค โฮล์มส์ ดับแผนพิฆาตโลก () เป็นภาพยนตร์ในปี ค.ศ. 2009 ดัดแปลงมาจากตัวละครในบทประพันธ์ชื่อเรื่องเดียวกันของเซอร์อาร์เทอร์ โคนัน ดอยล์ ภาพยนตร์กำกับโดยกาย ริตชี และมีโปรดิวเซอร์คือโจเอล ซิลเวอร์, ไลโอเนล ไวแกรม, ซูซาน ดาวนีย์ และแดน ลิน เขียนบทภาพยนตร์โดยไมเคิล โรเบิร์ต จอห์นสัน, แอนโทนี เพกแฮม และไซมอน คินเบิร์ก โดยยึดจากเนื้อเรื่องตัวละครของไลโอเนล ไวแกรม และโคนัน ดอยล์ โรเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์ รับบทเป็นเชอร์ล็อก โฮมส์ และจู๊ด ลอว์ รับบทเป็นนายแพทย์จอห์น วอตสัน ภาพยนตร์ออกฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 2009 และในวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 2009 ในสหราชอาณาจักรและแถบแปซิฟิก และเข้าฉายในประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ในปีเดียวกันเรื่องย่อ เรื่องย่อ. ในปี 1891 ณ กรุงลอนดอน เชอร์ล็อก โฮมส์ (โรเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์) ผู้มีชื่อเสียงในการเสาะหาความจริงในเบื้องลึกแห่งปริศนาสุดซับซ้อน ด้วยความช่วยเหลือจาก นายแพทย์จอห์น วอตสัน (จู๊ด ลอว์) ชื่อดังซึ่งหาผู้มีฝีมือทัดเทียมได้ยากในการไขคดีอาชญากรรมทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะด้วยพลังแห่งการสังเกตอันเป็นเอกลักษณ์ ทักษะการอนุมานอันโดดเด่น หรือพลังหมัดอันรุนแรงของเขา แต่พายุร้ายกำลังก่อตัวเหนือลอนดอน การข่มขู่ซึ่งไม่เหมือนกับอะไรทั้งหมดที่โฮมส์เคยเผชิญหน้ามาก่อน และเป็นความท้าทายที่เขากำลังมองหาอยู่พอดี หลังจากคดีฆาตกรรมโหดร้ายในพิธีกรรมอย่างต่อเนื่อง โฮมส์และวอตสันไปถึงทันเวลาช่วยชีวิตเหยื่อรายล่าสุด และเผยโฉมหน้าฆาตกร ลอร์ดแบล็กวุด (มาร์ก สตรอง) ซึ่งสร้างความหวาดกลัวให้กับทั้งบรรดาเพื่อนร่วมคุกและเหล่าผู้คุม กับการที่เขาดูเหมือนจะเชื่อมโยงกับพลังด้านมืด ได้เตือนโฮมส์ว่าความตายไม่มีอำนาจเหนือเขา และที่จริงแล้วการประหารนั้นจะเป็นไปตามแผนการของแบล็กวุด และเมื่อทุกอย่างเกิดขึ้น แบล็กวุดก็ทำตามสัญญา การฟื้นคืนชีพของเขาสร้างความตื่นตระหนกให้กับลอนดอนและความทึ่งให้กับสกอตแลนด์ยาร์ด แต่สำหรับโฮมส์แล้ว สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเกม พวกเขากำลังแข่งกับแผนการมฤตยูของแบล็กวุด โฮมส์ต้องกระโจนสู่โลกแห่งศาสตร์มืดและตกตะลึงกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ซึ่งตรรกะอาจเป็นอาวุธที่ดีสุดในการต่อสู้กับอาชญากรรมในบางครั้ง แต่หมัดฮุกขวาแม่น ๆ ก็มักจะช่วยไว้ได้เสมอนักแสดงภาคต่อ ภาคต่อ. เชอร์ล็อค โฮล์มส์ ดับแผนพิฆาตโลก มีภาคต่อเป็นภาค 2 ในชื่อว่า เชอร์ล็อค โฮล์มส์ เกมพญายมเงามรณะ (Sherlock Holmes: A Game of Shadows) จะเล่าถึงนักสืบเชอร์ล็อก โฮมส์ และเพื่อนสนิทอย่างนายแพทย์จอห์น วอตสัน กับการเผชิญหน้ากับตัวร้ายอย่างศาสตราจารย์เจมส์ มอริอาร์ตี (แสดงโดยแจเร็ด แฮร์ริส) ในภาคสองนี้ด้วย ซึ่งเข้าฉายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2554 และเข้าฉายในประเทศไทย ในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2554
ภาพยนตร์เรื่องเชอร์ล็อค โฮล์มส์ ดับแผนพิฆาตโลก เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี ค.ศ. ใด
3523
{ "answer_end": [ 775 ], "answer_start": [ 750 ], "text": [ "โรเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์" ] }
290713
เชอร์ล็อค โฮล์มส์ ดับแผนพิฆาตโลก เชอร์ล็อค โฮล์มส์ ดับแผนพิฆาตโลก () เป็นภาพยนตร์ในปี ค.ศ. 2009 ดัดแปลงมาจากตัวละครในบทประพันธ์ชื่อเรื่องเดียวกันของเซอร์อาร์เทอร์ โคนัน ดอยล์ ภาพยนตร์กำกับโดยกาย ริตชี และมีโปรดิวเซอร์คือโจเอล ซิลเวอร์, ไลโอเนล ไวแกรม, ซูซาน ดาวนีย์ และแดน ลิน เขียนบทภาพยนตร์โดยไมเคิล โรเบิร์ต จอห์นสัน, แอนโทนี เพกแฮม และไซมอน คินเบิร์ก โดยยึดจากเนื้อเรื่องตัวละครของไลโอเนล ไวแกรม และโคนัน ดอยล์ โรเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์ รับบทเป็นเชอร์ล็อก โฮมส์ และจู๊ด ลอว์ รับบทเป็นนายแพทย์จอห์น วอตสัน ภาพยนตร์ออกฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 2009 และในวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 2009 ในสหราชอาณาจักรและแถบแปซิฟิก และเข้าฉายในประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ในปีเดียวกันเรื่องย่อ เรื่องย่อ. ในปี 1891 ณ กรุงลอนดอน เชอร์ล็อก โฮมส์ (โรเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์) ผู้มีชื่อเสียงในการเสาะหาความจริงในเบื้องลึกแห่งปริศนาสุดซับซ้อน ด้วยความช่วยเหลือจาก นายแพทย์จอห์น วอตสัน (จู๊ด ลอว์) ชื่อดังซึ่งหาผู้มีฝีมือทัดเทียมได้ยากในการไขคดีอาชญากรรมทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะด้วยพลังแห่งการสังเกตอันเป็นเอกลักษณ์ ทักษะการอนุมานอันโดดเด่น หรือพลังหมัดอันรุนแรงของเขา แต่พายุร้ายกำลังก่อตัวเหนือลอนดอน การข่มขู่ซึ่งไม่เหมือนกับอะไรทั้งหมดที่โฮมส์เคยเผชิญหน้ามาก่อน และเป็นความท้าทายที่เขากำลังมองหาอยู่พอดี หลังจากคดีฆาตกรรมโหดร้ายในพิธีกรรมอย่างต่อเนื่อง โฮมส์และวอตสันไปถึงทันเวลาช่วยชีวิตเหยื่อรายล่าสุด และเผยโฉมหน้าฆาตกร ลอร์ดแบล็กวุด (มาร์ก สตรอง) ซึ่งสร้างความหวาดกลัวให้กับทั้งบรรดาเพื่อนร่วมคุกและเหล่าผู้คุม กับการที่เขาดูเหมือนจะเชื่อมโยงกับพลังด้านมืด ได้เตือนโฮมส์ว่าความตายไม่มีอำนาจเหนือเขา และที่จริงแล้วการประหารนั้นจะเป็นไปตามแผนการของแบล็กวุด และเมื่อทุกอย่างเกิดขึ้น แบล็กวุดก็ทำตามสัญญา การฟื้นคืนชีพของเขาสร้างความตื่นตระหนกให้กับลอนดอนและความทึ่งให้กับสกอตแลนด์ยาร์ด แต่สำหรับโฮมส์แล้ว สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเกม พวกเขากำลังแข่งกับแผนการมฤตยูของแบล็กวุด โฮมส์ต้องกระโจนสู่โลกแห่งศาสตร์มืดและตกตะลึงกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ซึ่งตรรกะอาจเป็นอาวุธที่ดีสุดในการต่อสู้กับอาชญากรรมในบางครั้ง แต่หมัดฮุกขวาแม่น ๆ ก็มักจะช่วยไว้ได้เสมอนักแสดงภาคต่อ ภาคต่อ. เชอร์ล็อค โฮล์มส์ ดับแผนพิฆาตโลก มีภาคต่อเป็นภาค 2 ในชื่อว่า เชอร์ล็อค โฮล์มส์ เกมพญายมเงามรณะ (Sherlock Holmes: A Game of Shadows) จะเล่าถึงนักสืบเชอร์ล็อก โฮมส์ และเพื่อนสนิทอย่างนายแพทย์จอห์น วอตสัน กับการเผชิญหน้ากับตัวร้ายอย่างศาสตราจารย์เจมส์ มอริอาร์ตี (แสดงโดยแจเร็ด แฮร์ริส) ในภาคสองนี้ด้วย ซึ่งเข้าฉายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2554 และเข้าฉายในประเทศไทย ในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2554
ใครคือนักแสดงที่รับบทเชอร์ล็อค โฮล์มส์ ในภาพยนตร์เรื่องเชอร์ล็อค โฮล์มส์ ดับแผนพิฆาตโลก
3524
{ "answer_end": [ 158 ], "answer_start": [ 154 ], "text": [ "1865" ] }
433122
ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด () เป็นธนาคารที่มีชื่อเสียง ก่อตั้งขึ้นและมีฐานอยู่ในฮ่องกง นับแต่ ค.ศ. 1865 เมื่อครั้งยังเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิอังกฤษ นับเป็นหนึ่งในกลุ่มธนาคารที่เก่าแก่ที่สุดในโลกสมัยใหม่ บริษัทฯ เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งกลุ่มเอชเอสบีสีและนับแต่ ค.ศ. 1990 จนถึงปัจจุบันเป็นเจ้าของบริษัทสาขาเอชเอสบีซี โฮลดิ้งส์ พีแอลซี ทั้งหมด ธุรกิจของบริษัทฯ มีตั้งแต่บทบาทในการบริหารเงินส่วนบุคคลและการธนาคารพาณิชย์ ไปจนถึงบรรษัทธนกิจ (corporate banking) และวาณิชธนกิจ การธนาคารเอกชนและการธนาคารโลก บริษัทฯ เป็นธนาคารใหญ่ที่สุดในฮ่องกงโดยมีสาขาและสำนักงานทั่วภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก รวมทั้งประเทศอื่นทั่วโลกประวัติ HSBC ประเทศไทย ประวัติ HSBC ประเทศไทย. HSBC ได้เปิดสำนักงานในประเทศไทยเมื่อปี ค.ศ. 1888 เป็นธนาคารพาณิชย์ของเอกชนแห่งแรกในประเทศไทย โดยปี ค.ศ. 1889 HSBC ได้ออกบัตรธนาคาร (เทียบเท่าธนบัตร) ซึ่งใช้เป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยให้เงินกู้แก่รัฐบาลไทยเพื่อสร้างทางรถไฟสายต่างๆ มกราคม ค.ศ. 2012 HSBC ได้ประกาศขายกิจการธนาคารในส่วนของลูกค้ารายย่อย รวมถึงโอนพนักงานเจ้าหน้าที่ส่วนงานนี้ทั้งหมดให้แก่กลุ่มธนาคารกรุงศรีอยุธยา โดยมีผลหลังวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 2012 เป็นต้นไป แต่ HSBC ประเทศไทยคงกิจการธนาคารสำหรับลูกค้าองค์กรหรือลูกค้าธุรกิจเท่านั้นที่ตั้งสำนักงาน ที่ตั้งสำนักงาน. สำนักงานแห่งแรกของ HSBC ประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ตรอกกัปตันบุช ถนนสี่พระยา กรุงเทพมหานคร(ปัจจุบันพื้นที่อาคารเดิมได้ถูกรือทิ้งทั้งหมดและต่อมาก่อสร้างเป็น โรงแรมรอยัลออคิดเชอราตัน) โดย HSBC ประเทศไทยได้ย้ายสำนักงานไปอยู่ที่ อาคารอื้อจือเหลียง ถนนพระราม 4 ตรงข้ามกับสวนลุมพินี ปี ค.ศ. 2011 HSBC ประเทศไทยจึงมีการเปิดสำนักงานสาขาทองหล่อ (สุขุมวิท 55) ตามแผนระยะที่สองของธนาคารแห่งประเทศไทยที่ให้ธนาคารต่างชาติมีสาขาได้สองแห่ง
ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. ใด
3525
{ "answer_end": [ 691 ], "answer_start": [ 687 ], "text": [ "HSBC" ] }
433122
ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด () เป็นธนาคารที่มีชื่อเสียง ก่อตั้งขึ้นและมีฐานอยู่ในฮ่องกง นับแต่ ค.ศ. 1865 เมื่อครั้งยังเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิอังกฤษ นับเป็นหนึ่งในกลุ่มธนาคารที่เก่าแก่ที่สุดในโลกสมัยใหม่ บริษัทฯ เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งกลุ่มเอชเอสบีสีและนับแต่ ค.ศ. 1990 จนถึงปัจจุบันเป็นเจ้าของบริษัทสาขาเอชเอสบีซี โฮลดิ้งส์ พีแอลซี ทั้งหมด ธุรกิจของบริษัทฯ มีตั้งแต่บทบาทในการบริหารเงินส่วนบุคคลและการธนาคารพาณิชย์ ไปจนถึงบรรษัทธนกิจ (corporate banking) และวาณิชธนกิจ การธนาคารเอกชนและการธนาคารโลก บริษัทฯ เป็นธนาคารใหญ่ที่สุดในฮ่องกงโดยมีสาขาและสำนักงานทั่วภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก รวมทั้งประเทศอื่นทั่วโลกประวัติ HSBC ประเทศไทย ประวัติ HSBC ประเทศไทย. HSBC ได้เปิดสำนักงานในประเทศไทยเมื่อปี ค.ศ. 1888 เป็นธนาคารพาณิชย์ของเอกชนแห่งแรกในประเทศไทย โดยปี ค.ศ. 1889 HSBC ได้ออกบัตรธนาคาร (เทียบเท่าธนบัตร) ซึ่งใช้เป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยให้เงินกู้แก่รัฐบาลไทยเพื่อสร้างทางรถไฟสายต่างๆ มกราคม ค.ศ. 2012 HSBC ได้ประกาศขายกิจการธนาคารในส่วนของลูกค้ารายย่อย รวมถึงโอนพนักงานเจ้าหน้าที่ส่วนงานนี้ทั้งหมดให้แก่กลุ่มธนาคารกรุงศรีอยุธยา โดยมีผลหลังวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 2012 เป็นต้นไป แต่ HSBC ประเทศไทยคงกิจการธนาคารสำหรับลูกค้าองค์กรหรือลูกค้าธุรกิจเท่านั้นที่ตั้งสำนักงาน ที่ตั้งสำนักงาน. สำนักงานแห่งแรกของ HSBC ประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ตรอกกัปตันบุช ถนนสี่พระยา กรุงเทพมหานคร(ปัจจุบันพื้นที่อาคารเดิมได้ถูกรือทิ้งทั้งหมดและต่อมาก่อสร้างเป็น โรงแรมรอยัลออคิดเชอราตัน) โดย HSBC ประเทศไทยได้ย้ายสำนักงานไปอยู่ที่ อาคารอื้อจือเหลียง ถนนพระราม 4 ตรงข้ามกับสวนลุมพินี ปี ค.ศ. 2011 HSBC ประเทศไทยจึงมีการเปิดสำนักงานสาขาทองหล่อ (สุขุมวิท 55) ตามแผนระยะที่สองของธนาคารแห่งประเทศไทยที่ให้ธนาคารต่างชาติมีสาขาได้สองแห่ง
ตัวย่อของธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่นคืออะไร
3526
{ "answer_end": [ 17 ], "answer_start": [ 9 ], "text": [ "นายหนหวย" ] }
543396
นายหนหวย นายหนหวย เป็นนามปากกาของ ศิลปชัย ชาญเฉลิม นักเขียนสารคดีแนวการเมืองและประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง นายหนหวย เกิดเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2465 ที่บ้านถนนพรหมเทพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช หลักสูตรฝ่ายอำนวยการ รุ่นที่ 3 และหลักสูตรผลิตรายการวิทยุ โรงเรียนสงครามจิตวิทยา กรมยุทธการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด รุ่นที่ 10 ประกาศนียบัตร ภาษาฝรั่งเศส สมาคมฝรั่งเศสในประเทศไทย และอลิย์องฟรังษ์ ปารีส และมหาวิทยาลัยเมืองเบอซองซง ประเทศฝรั่งเศส รับราชการครั้งแรกเป็นครูประชาบาล ในกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส (พ.ศ. 2483) เป็นตำรวจสนาม ต่อมาได้ถูกเกณฑ์เป็นทหารเข้าร่วมรบในสงครามมหาเอเชียบูรพา ที่เชียงตุง ต่อมาเมื่อสงครามยุติ ได้ปลดกระจำการ จึงหันมาเป็นผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์, บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ และนักเขียนอิสระในนามปากกา "นายหนหวย" (มีความหมายว่า "ความกลัดกลุ้ม" เป็นภาษาอีสาน ซึ่งหมายถึง "ความกลัดกลุ้มของคนไทยทั้งชาติและเจ้าตัว จากกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8") โดยทำงานกับหนังสือพิมพ์หลายฉบับ เช่น ชาติไทยรายวัน, เผ่าไทยรายวัน, แผ่นดินไทยรายสัปดาห์ จากนั้นได้เข้าทำงานในธนาคารออมสิน ในตำแหน่งหัวหน้าแผนกค้นคว้าและโฆษณาการเป็นคนแรก และรับราชการในสำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี โดยมีหน้าที่ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข่าวสารเพื่อต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ เช่น ออกอากาศกระจายเสียงทางวิทยุ เป็นเวลานานถึง 32 ปี และได้มีโอกาสเดินทางไปศึกษาดูงานในหลาย ๆ ประเทศ รวมถึงได้รับการอบรมหลายหลักสูตร จากหลายสถาบัน ผลงานทางด้านการเป็นนักเขียน นายหนหวย เป็นผู้ที่มีความชำนาญเป็นอย่างดีในภาษาไทย รวมถึงต่างประเทศภาษาต่าง ๆ เช่น ภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศส มีผลงานเขียนต่าง ๆ ที่เป็นที่รู้จักกันดี เช่น เจ้าฟ้าประชาธิปก ราชันผู้นิราศ, หมอปลัดเลกับกรุงสยาม, ทหารเรือปฏิวัติ, สามก๊กฉบับนายหนหวย, กบฏนายสิบ ปี ๒๔๗๘ เป็นต้น และสารคดีสั้นอีกหลายร้อยเรื่องในหนังสือพิมพ์รายวันและรายสัปดาห์ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2490-พ.ศ. 2501 ได้รับรางวัลกิตติคุณสัมพันธ์สังข์เงิน สาขาปลุกใจให้รักชาติ จากสมาคมนักการประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2525 และได้รับปริญญาครุศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์ วิชาเอกประวัติศาสตร์ จากวิทยาลัยครูอุบลราชธานี พ.ศ. 2535
ศิลปชัย ชาญเฉลิม มีนามปากกาว่าอะไร
3527
{ "answer_end": [ 905 ], "answer_start": [ 898 ], "text": [ "กลางคืน" ] }
489857
นกทึดทือมลายู นกทึดทือมลายู หรือ นกเค้าแมวมลายู หรือ นกฮูกมลายู หรือ นกพิทิดพิที ในภาษาใต้ (; หรือ Bubo ketupa) นกล่าเหยื่อชนิดหนึ่ง จำพวกนกเค้าแมว เป็นนกเค้าแมวขนาดกลาง มีความสูงประมาณ 49-50 เซนติเมตร ปีกสั้นกว่า 40 เซนติเมตร ดวงตาสีเหลืองจนถึงเหลืองแกมทอง มีขนเหนือคิ้วเป็นแผงยาวออกไปด้านข้างทั้งสองด้าน ส่วนขนบริเวณเหนือโคนปากเป็นสีขาว ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลมีลายสีจางกระจาย ด้านล่างสีเนื้อแกมน้ำตาลเหลือง มีลายขีดสีดำ เมื่อหุบปีกจะเห็นลายแถบสีน้ำตาลจางสลับสีเข้มบริเวณปลายปีก ขาสีเขียว มีเล็บโค้งแหลม และมีปากงุ้มแหลม มีฤดูผสมพันธุ์ในช่วงฤดูหนาวต่อฤดูร้อน ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเมษายน ทำรังอยู่ในโพรงไม้ หรือใช้รังเก่าของนกอื่น ๆ เป็นรัง ออกไข่ครั้งละ 1-3 ฟอง ลักษณะไข่มีเปลือกสีขาวและทรงกลม ตัวผู้จะเป็นฝ่ายส่งเสียงร้องเรียกตัวเมีย มักอาศัยอยู่ตามป่าดิบแล้ง, ป่าดิบชื้น ตั้งแต่ระดับพื้นราบจนกระทั่งความสูง 800 เมตรจากระดับน้ำทะเล ใกล้แหล่งน้ำหรือลำธารในป่า และบริเวณใกล้ชายฝั่ง ส่วนใหญ่หากินในเวลากลางคืน จับสัตว์ขนาดเล็กกินเป็นอาหาร ซึ่งได้แก่ ปลา, กบ, ปู, ค้างคาว, นกชนิดอื่น และสัตว์เลื้อยคลานเกือบทุกชนิด เมื่อเวลาบินล่าเหยื่อจะบินได้เงียบกริบมาก พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ตอนล่างของไทยเช่น จังหวัดนราธิวาส พบไปตลอดแหลมมลายูจนถึงประเทศอินโดนีเซีย, เกาะชวา และหมู่เกาะซุนดา ซึ่งนกทึดทือมลายู เป็นนกที่ถูกอ้างอิงถึงในนวนิยายสำหรับเด็กเรื่อง แฮร์รี่ พ็อตเตอร์ ด้วยเป็นนกของแฮร์รี่ พ็อตเตอร์ ตัวละครเอก เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546
นกทึดทือมลายูจะออกหากินตอนไหน
3528
{ "answer_end": [ 167 ], "answer_start": [ 152 ], "text": [ "เจ้าหญิงแตงอ่อน" ] }
738611
จรูญ ธรรมศิลป์ จรูญ ธรรมศิลป์ (ชื่อเล่น เป๊ะ) เกิดวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2499 เป็นผู้กำกับ ค่ายผลิตละคร ดาราวิดีโอ ช่อง 7 สี และมีผลงานเรื่องแรกคือเรื่อง เจ้าหญิงแตงอ่อน และได้สร้างผลงานละครหลังข่าวไว้อีกมากมาย เช่น รากนครา ฟ้าใหม่ หลงเงาจันทร์ ขิงก็ราข่าก็แรง อาเก๋ง เสียชีวิตลงอย่างสงบด้วยโรคมะเร็ง เมื่อช่วงเช้าวันที่ 11 พฤศจิกายน 2558 ที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ผลงานละครโทรทัศน์ ผลงาน. ละครโทรทัศน์. สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7- ปราสาทมืด (2531) - ห้องหุ่น (2532) - หงส์ทอง (2533) - มณีร้าว (2533) - ตะวันชิงพลบ (2534) - เมืองโพล้เพล้ (2535) - ภาพอาถรรพณ์ (2535) - แก้วสารพัดนึก (2535) - ภูตแม่น้ำโขง (2535) - นางทาส (2536) - ศีรษะมาร (2536) - ทวิภพ (2537) - วิมานมะพร้าว (2537) - กระสือ (2537) - โอ้...มาดา (2538) - ภูตพิศวาส (2538) - สายโลหิต (2538) **กำกับร่วม - แม่นาคพระนคร (2539) - ญาติกา (2539) - รัตนโกสินทร์ (2539) - ปอบผีฟ้า (2540) - การะเกด (2540) - กิ่งไผ่ (2541) - พลังรัก (2541) - บ่วงหงส์ (2541) - แม่นาค (2542) - หนุ่มทิพย์ (2542) - ม่านบังใจ (2543) - รากนครา (2543) - เงาใจ (2544) - ปิ่นไพร (2544) - บอดี้การ์ดสาว (2545) - สาวน้อย (2545) - รุ่งทิพย์ (2545) - นะหน้าทอง (2546) - มหาเฮง (2546) - สาวน้อยในตะเกียงแก้ว ภาค 2 (2547) - ฟ้าใหม่ (2547) - นางสาวส้มหล่น (2548) - บ้านร้อยดอกไม้ (2548) - เหมราช (2548) - หลงเงาจันทร์ (2549) - ขิงก็รา ข่าก็แรง (2549) - ยายหนูลูกพ่อ (2549) - ปู่โสมเฝ้าทรัพย์ (2550) - สายใยสวาท (2551) - เธอคือชีวิต (2551) - คู่ป่วนอลวน (2551) - มือนาง (2552) - ตะวันยอแสง (2553) - สวรรค์สร้าง (2553) - บันไดดอกรัก (2554) - อสูรน้อยในตะเกียงแก้ว (2555) - อาญารัก (2556) - คือหัตถาครองพิภพ (2556)
ผลงานกำกับเรื่องแรกของจรูญ ธรรมศิลป์ คือเรื่องใด
3529
{ "answer_end": [ 298 ], "answer_start": [ 292 ], "text": [ "มะเร็ง" ] }
738611
จรูญ ธรรมศิลป์ จรูญ ธรรมศิลป์ (ชื่อเล่น เป๊ะ) เกิดวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2499 เป็นผู้กำกับ ค่ายผลิตละคร ดาราวิดีโอ ช่อง 7 สี และมีผลงานเรื่องแรกคือเรื่อง เจ้าหญิงแตงอ่อน และได้สร้างผลงานละครหลังข่าวไว้อีกมากมาย เช่น รากนครา ฟ้าใหม่ หลงเงาจันทร์ ขิงก็ราข่าก็แรง อาเก๋ง เสียชีวิตลงอย่างสงบด้วยโรคมะเร็ง เมื่อช่วงเช้าวันที่ 11 พฤศจิกายน 2558 ที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ผลงานละครโทรทัศน์ ผลงาน. ละครโทรทัศน์. สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7- ปราสาทมืด (2531) - ห้องหุ่น (2532) - หงส์ทอง (2533) - มณีร้าว (2533) - ตะวันชิงพลบ (2534) - เมืองโพล้เพล้ (2535) - ภาพอาถรรพณ์ (2535) - แก้วสารพัดนึก (2535) - ภูตแม่น้ำโขง (2535) - นางทาส (2536) - ศีรษะมาร (2536) - ทวิภพ (2537) - วิมานมะพร้าว (2537) - กระสือ (2537) - โอ้...มาดา (2538) - ภูตพิศวาส (2538) - สายโลหิต (2538) **กำกับร่วม - แม่นาคพระนคร (2539) - ญาติกา (2539) - รัตนโกสินทร์ (2539) - ปอบผีฟ้า (2540) - การะเกด (2540) - กิ่งไผ่ (2541) - พลังรัก (2541) - บ่วงหงส์ (2541) - แม่นาค (2542) - หนุ่มทิพย์ (2542) - ม่านบังใจ (2543) - รากนครา (2543) - เงาใจ (2544) - ปิ่นไพร (2544) - บอดี้การ์ดสาว (2545) - สาวน้อย (2545) - รุ่งทิพย์ (2545) - นะหน้าทอง (2546) - มหาเฮง (2546) - สาวน้อยในตะเกียงแก้ว ภาค 2 (2547) - ฟ้าใหม่ (2547) - นางสาวส้มหล่น (2548) - บ้านร้อยดอกไม้ (2548) - เหมราช (2548) - หลงเงาจันทร์ (2549) - ขิงก็รา ข่าก็แรง (2549) - ยายหนูลูกพ่อ (2549) - ปู่โสมเฝ้าทรัพย์ (2550) - สายใยสวาท (2551) - เธอคือชีวิต (2551) - คู่ป่วนอลวน (2551) - มือนาง (2552) - ตะวันยอแสง (2553) - สวรรค์สร้าง (2553) - บันไดดอกรัก (2554) - อสูรน้อยในตะเกียงแก้ว (2555) - อาญารัก (2556) - คือหัตถาครองพิภพ (2556)
จรูญ ธรรมศิลป์ เสียชีวิตด้วยโรคอะไร
3530
{ "answer_end": [ 214 ], "answer_start": [ 208 ], "text": [ "สกลนคร" ] }
83515
พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ ตั้งอยู่ริมทางหลวงสายสกลนคร-กาฬสินธุ์ หมายเลข ๒๑๓ บริเวณกิโลเมตรที่ ๑๔ ห่างจากตัวเมืองสกลนครประมาณ ๑๖ กิโลเมตรประวัติ ประวัติ. พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์จังหวัดสกลนคร เป็นพระตำหนักที่สร้างขึ้นในบริเวณเทือกเขาภูพาน ใน พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ทรงเลือกพื้นที่สร้างพระตำหนักด้วยพระองค์เอง ทรงใช้แผนที่ทางอากาศและการเสด็จสำรวจเส้นทางบริเวณ ป่าเขา น้ำตก เป็นปัจจัยในการกำหนดเขตพื้นที่ก่อสร้างพระตำหนักและบริเวณพระตำหนักซึ่งประกอบด้วยเขตพระราชฐานชั้นในและเขตพระราชฐานชั้นนอกพื้นที่ของพระตำหนัก พื้นที่ของพระตำหนัก. พื้นที่บริเวณพระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ เมื่อแรกตั้งพระตำหนักมี ๙๔๐ ไร่ ในเวลาต่อมาได้ขยายเขตพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการฟื้นฟูสภาพป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติอีกประมาณ ๑,๐๑๐ ไร่ รวมเป็นพื้นที่ ๑,๙๕๐ ไร่หมู่พระตำหนักหมู่พระตำหนัก. - ๑.หมู่พระตำหนัก หมู่พระตำหนักประกอบด้วย อาคารหลังพระตำหนักปีกไม้ เป็นพระตำหนักหลังแรก สร้างใน พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นรูปแบบล็อกเดขิน ใช้เป็นเรือนรับรองหลังแรก ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๑๙ ทรงมีพระบรมราชโองการให้สร้างพระตำหนักใหญ่เป็นตึกสองชั้น รูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ บริเวณเนินหน้าผาห่างจากพระตำหนักปีกไม้ ประมาณ ๕๐๐ เมตร และยังได้ก่อสร้างพระตำหนักที่มีรูปแบบใกล้เคียงกัน และต่อมาได้มีการสร้างพระตำหนักหลังหนึ่งในบริเวณใกล้เคียงกัน รวมเป็นพระตำหนัก ๔ หลัง ห่างจากพระตำหนักใหญ่ประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร ได้สร้างบ้านพัก พลโทเปรม ติณสูลานนท์ แม่ทัพภาคที่ ๒ (ยศและตำแหน่งขณะนั้น)- ๑. สวนรวมพันธุ์ไม้ (Mixed garden) - ๒. สวนแบบประดิษฐ์ (Formal Style) - ๓. สวนแบบธรรมชาติ (Informal Style) - ๔. สวนหินประดับประดา (Rock garden) - ๕. สวนประดับหิน (Stone garden) การจัดสวน นับจากเขตพระราชฐานชั้นนอกพระตำหนักริมถนนมีสระน้ำขอบตั้งหินทรายแดง (Red Stone) ปลูกบัวสายสีแดง ชมพู ม่วง ประดับเรียงราย สลับกับต้นตะแบก ส่วนประดู่ อีกทั้งปลูกไม้ทั้งปลูกไม้ดอกและไม้ใบ สลับให้สวยงามสิ่งอำนวยความสะดวกภายในพระตำหนัก สิ่งอำนวยความสะดวกภายในพระตำหนัก. สิ่งอำนวยความสะดวกในพระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ เป็นแหล่งที่สะดวกต่อการเดินทางไปท่องเที่ยว ทั้งนี้เพราะอยู่ไม่ห่างจากตัวเมืองสกลนครอยู่ริมถนนหลวงสายสกลนคร - กาฬสินธุ์ นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยวทั้งรถยนต์ส่วนตัวและการนำพาหนะเข้าชม สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ที่กองรักษาการเพื่อเข้าชมพระตำหนักชั้นนอกได้โดยสะดวก หากต้องการชมพระตำหนักชั้นในต้องติดต่อทางราชการเพื่อขออนุญาตจากผู้ดูแลพระตำหนักเป็นการล่วงหน้า ปัจจุบันพระตำหนักภูพานราชนิเวศน์มีประชาชนเข้าชมอย่างต่อเนื่องแสดงถึงความสนใจในความงดงามของพระตำหนักแห่งนี้การเดินทางมายังพระตำหนัก การเดินทางมายังพระตำหนัก. เส้นทางเข้าสู่พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ตั้งอยู่ริมทางหลวงสายสกลนคร-กาฬสินธุ์ หมายเลข ๒๑๓ บริเวณกิโลเมตรที่ ๑๔ ห่างจากตัวเมืองสกลนครประมาณ ๑๖ กิโลเมตรข้อมูลเพิ่มเติม ข้อมูลเพิ่มเติม. พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์
พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ตั้งอยู่ที่จังหวัดใด
3531
{ "answer_end": [ 63 ], "answer_start": [ 32 ], "text": [ "สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย" ] }
239459
สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ (มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย, 27 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียพระองค์สุดท้าย โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย ทรงประสูติในฐานะพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์ทรงได้รับพระอิสริยยศ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระเมื่อครั้งประสูติ พระบิดาและพระมารดาของพระองค์คือ เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งเอดินเบอระและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย ในวัยเยาว์ เจ้าหญิงมารีทรงใช้พระชนมชีพในเคนต์, มอลตาและโคบูร์ก หลังจากการปฏิเสธข้อเสนอที่จะอภิเษกสมรสกับพระญาติของพระองค์เองคือ พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรในอนาคต พระองค์ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระชายาในมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์แห่งโรมาเนีย องค์รัชทายาทของพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย ในปี ค.ศ. 1892 เจ้าหญิงมารีทรงดำรงเป็นมกุฎราชกุมารีอยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1893 ถึง ค.ศ. 1914 ซึ่งทรงดำรงในพระอิสริยยศนี้ยาวนานที่สุดในบรรดาผู้ครองพระอิสริยยศนี้ และทรงกลายเป็นที่นิยมชมชอบในหมู่ประชาชนชาวโรมาเนียในทันที เจ้าหญิงมารีทรงควบคุมพระสวามีผู้ทรงอ่อนแอและเอาแต่ใจก่อนที่จะทรงขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1914 เป็นแรงกระตุ้นให้นักหนังสือพิมพ์ชาวแคนาดาได้ให้ความเห็นว่า "มีพระมเหสีเพียงไม่กี่พระองค์เท่านั้นที่จะทรงมีอิทธิพลยิ่งใหญ่กว่าสมเด็จพระราชินีมารีในช่วงรัชสมัยพระสวามีของพระองค์" หลังจากการเกิดขึ้นของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมเด็จพระราชินีมารีทรงผลักดันให้พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ดำเนินการเป็นพันธมิตรกับไตรภาคีและประกาศสงครามกับเยอรมนี ซึ่งที่สุดก็ทรงดำเนินการในปี ค.ศ. 1916 ในช่วงแรกของสงคราม บูคาเรสต์ได้ถูกยึดครองโดยฝ่ายมหาอำนาจกลางและสมเด็จพระราชินีมารี พระเจ้าเฟอร์ดินานด์พร้อมพระโอรสธิดาทั้ง 5 พระองค์ทรงลี้ภัยไปยังมอลดาเวีย ซึ่งที่นั่นสมเด็จพระราชินีมารีและพระธิดาทั้งสามพระองค์ทรงประกอบพระกรณียกิจในฐานะพยาบาลในโรงพยาบาลทหาร ทรงดูแลทหารที่บาดเจ็บหรือเป็นอหิวาตกโรค ในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1918 แคว้นทรานซิลเวเนีย ตามมาด้วยเบสซาราเบียและบูโกวินา ได้รวมตัวกันจัดตั้ง ราชอาณาจักรโรมาเนียเก่า พระนางมารีในขณะนี้ทรงดำรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเกรตเทอร์โรมาเนีย พระองค์ทรงเข้าร่วมการประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919 ซึ่งพระองค์ทรงทำให้นานาชาติยอมรับในอาณาเขตที่กว้างใหญ่ของโรมาเนีย ในปี ค.ศ. 1922 สมเด็จพระราชินีมารีและพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกในมหาวิหารที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษที่เมืองโบราณซึ่งก็คือ อัลบาอูเลีย เป็นพระราชพิธีที่ซับซ้อนซึ่งสะท้อนสถานะของทั้งสองพระองค์ในฐานะพระมหากษัตริย์ของรัฐทั้งมวล ขณะเป็นสมเด็จพระราชินี พระองค์ทรงได้รับความนิยมอย่างมาก จากทั้งในโรมาเนียและต่างประเทศ ในปี ค.ศ. 1926 สมเด็จพระราชินีมารีและพระโอรสธิดาอีก 2 พระองค์ได้เสด็จเยือนสหรัฐอเมริกาในทางการทูต ทั้งสามพระองค์ได้รับการต้อนรับจากประชาชนอย่างกระตือรือร้นและทรงเสด็จเยือนหลายเมืองก่อนจะกลับโรมาเนีย เมื่อเสด็จกลับ สมเด็จพระราชินีมารีทรงพบว่าพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคตในไม่กี่เดือนต่อมา ในช่วงนี้สมเด็จพระพันปีหลวงมารีทรงปฏิเสธที่จะเป็นส่วนหนึ่งในสภาผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ที่จะต้องปกครองประเทศแทนพระนัดดาที่ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ ซึ่งก็คือ พระเจ้าไมเคิลแห่งโรมาเนีย ในปี ค.ศ. 1930 พระโอรสองค์โตของพระนางมารีคือ เจ้าชายคาโรลแห่งโรมาเนีย ซึ่งทรงถูกเว้นสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ ได้ถอดถอนพระโอรสและช่วงชิงราชบัลลังก์ ขึ้นครองราชย์ในฐานะ พระเจ้าคาโรลที่ 2 พระองค์ทรงถอดถอนพระนางมารีออกจากบทบาททางการเมืองและทรงพยายามทำลายความนิยมในตัวพระมารดา เป็นผลให้พระนางมารีต้องเสด็จออกจากบูคาเรสต์และทรงใช้พระชนมชีพที่เหลือในชนบท หรือไม่ก็พระตำหนักของพระองค์ที่ทะเลดำ ในปี ค.ศ. 1937 พระองค์ทรงพระประชวรด้วยโรคตับแข็งและสิ้นพระชนม์ในปีถัดมา จากการเปลี่ยนแปลงโรมาเนียไปสู่สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย สถาบันพระมหากษัตริย์ได้ถูกประณามอย่างรุนแรงโดยทางการพรรคคอมมิวนิสต์ มีหลายบันทึกชีวประวัติเกี่ยวกับพระราชวงศ์ที่ได้บรรยายว่า พระนางมารีทรงเป็นคนติดสุราและมีพฤติกรรมสำส่อนทางเพศ โดยมาจากเรื่องอื้อฉาวจำนวนมากและพฤติกรรมที่ปล่อยเนื้อปล่อยตัวทั้งก่อนและในระหว่างสงคราม ในช่วงปีที่นำไปสู่การปฏิวัติโรมาเนียในปี ค.ศ. 1989 ความนิยมในพระนางมารีได้รับการฟื้นฟูและพระองค์ทรงได้รับการเสนอภาพในฐานะผู้รักชาติจากประชาชน แรกเริ่มสิ่งที่จดจำได้เกี่ยวกับพระนางมารีคือการอุทิศพระองค์ในฐานะพยาบาล แต่ก็ทรงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในการที่ทรงพระนิพนธ์งานเขียน รวมถึงพระนิพนธ์อัตชีวประวัติที่น่าสะเทือนใจของพระองค์เองช่วงต้นพระชนมชีพ (ค.ศ. 1875 - 1893)ประสูติ ช่วงต้นพระชนมชีพ (ค.ศ. 1875 - 1893). ประสูติ. เจ้าหญิงมารีประสูติที่พระตำหนักของพระราชบิดาและพระราชมารดาที่อีสต์เวลปาร์ก มณฑลเคนต์ ในวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1875 เวลา 10.30 น. ต่อหน้าพระราชบิดา การประสูติของพระองค์ได้มีการเฉลิมฉลองด้วยการยิงสลุต พระองค์เป็นพระราชธิดาองค์โตและเป็นพระราชบุตรองค์ที่สองในเจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งเอดินเบอระและเจ้าหญิงมาเรีย อเล็กซานดรอฟนา ดัชเชสแห่งเอดินเบอระ (เดิมคือ แกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย) เจ้าหญิงทรงได้รับการตั้งพระนามว่า มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย ตามพระนามของพระราชมารดาและพระอัยยิกา แต่เจ้าหญิงมีพระนามอย่างไม่เป็นทางการว่า "มิสซี่" (Missy) ดยุกแห่งเอดินเบอระทรงบันทึกไว้ว่าพระธิดาของพระองค์ "สัญญาว่าจะเป็นเด็กดีเหมือนพี่ชายของเธอและจะแสดงให้เห็นถึงปอดที่มีสุขภาพที่ดี และจะทำเช่นนั้นก่อนที่เธอจะได้รับความเป็นธรรมในโลก" ในฐานะที่เป็นพระราชนัดดาในพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์อยู่ในสายสันตติวงศ์ฝ่ายชาย เจ้าหญิงมารีมีพระนามอย่างเป็นทางการว่า "เฮอร์รอยัลไฮเนส เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ" ตั้งแต่ประสูติ พิธีตั้งพระนามของเจ้าหญิงมารีได้จัดขึ้นในโบสถ์ส่วนพระองค์ที่พระราชวังวินด์เซอร์ในวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1875 และกระทำอย่างเป็นทางการโดยอาเทอร์ สแตนลีย์และเจอรัลด์ เวลสลีย์ เจ้าคณะแห่งวินด์เซอร์ พิธีล้างบาปจัดแบบ "ส่วนพระองค์และเคร่งครัด" เนื่องจากเป็นเวลาหนึ่งวันหลังจากพิธีครบรอบการสิ้นพระชนม์ของพระสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียซึ่งก็คือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระบิดาและพระมารดาอุปถัมภ์ของเจ้าหญิงมารีได้แก่ จักรพรรดินีมารีเยีย อะเลคซันโดรฟนาแห่งรัสเซีย (พระอัยยิกาฝ่ายพระมารดา ซึ่งสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงเป็นตัวแทน), เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงแห่งเวลส์ (พระปิตุจฉา), เจ้าหญิงอเล็กซานดรีนแห่งบาเดิน ดัชเชสแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (พระปัยยิกา ซึ่งเจ้าหญิงเฮเลนาแห่งสหราชอาณาจักรทรงเป็นตัวแทน), ซาเรวิชแห่งรัสเซีย (พระมาตุลา ซึ่งปีเตอร์ อันเดรเยวิช ชูวาลอฟเป็นตัวแทน) และดยุกแห่งคอนน็อตและสตราเธิร์น (พระปิตุลา ซึ่งเจ้าชายลีโอโพลด์ ดยุกแห่งออลบานีทรงเป็นตัวแทน)การศึกษาอบรม การศึกษาอบรม. เจ้าหญิงมารีพร้อมพระเชษฐาและพระขนิษฐาของพระองค์ ได้แก่ เจ้าชายอัลเฟรด (ประสูติ ค.ศ. 1874), เจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตา (ประสูติ ค.ศ. 1876 ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "ดั๊กกี้"), เจ้าหญิงอเล็กซานดรา (ประสูติ ค.ศ. 1878 ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "ซานดรา") และเจ้าหญิงเบียทริซ (ประสูติ ค.ศ. 1884 ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "เบบี้บี") ทรงใช้พระชนมชีพในช่วงต้นส่วนใหญ่ที่อีสต์เวลปาร์ก ที่ซึ่งพระราชมารดาทรงโปรดมากกว่าพระตำหนักแคลเรนซ์ สถานที่ประทับ ในบันทึกความทรงจำของพระองค์ เจ้าหญิงมารีทรงจดจำช่วงเวลาที่อีสต์เวลด้วยความรัก ดยุกแห่งเอดินเบอระไม่ได้ทรงใช้พระชนมชีพส่วนใหญ่กับพระโอรสธิดาเนื่องจากทรงต้องปฏิบัติพระกรณียกิจในราชนาวี และพระชนมชีพของพระโอรสธิดาส่วนใหญ่จึงอยู่ภายใต้การปกครองของพระราชมารดา เจ้าหญิงมารีทรงระบุหลังจากนั้นว่าพระองค์ไม่ทรงทราบถึงสีพระเกศาของพระราชบิดาจนกระทั่งหลังจากนั้นทรงทอดพระเนตรไปยังพระสาทิสลักษณ์ และทรงเชื่อว่าสีพระเกศาพระราชบิดาคงจะเข้มกว่าที่เป็นจริง เมื่อพระราชบิดาทรงประทับที่พระตำหนัก ดยุกมักจะทรงเล่นกับพระโอรสธิดา พระองค์มักจะประดิษฐ์เกมจำนวนมากเพื่อมาใช้เล่นกับพระโอรสธิดา ท่ามกลางพระเชษฐาและพระขนิษฐา เจ้าหญิงมารีทรงสนิทกับเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตา พระขนิษฐา ซึ่งมีพระชนมายุอ่อนกว่าพระองค์หนึ่งปี แต่หลายคนเชื่อว่าเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตามีพระชนมายุมากกว่าเนื่องจากความสูงของพระองค์ ได้สร้างความผิดหวังให้เจ้าหญิงอย่างมาก พระโอรสธิดาจากบ้านเอดินเบอระทุกพระองค์ได้เข้าพิธีล้างบาปและอบรมภายใต้นิกายแองกลิคัน สิ่งนี้สร้างความไม่พอใจแก่พระราชมารดาซึ่งทรงเป็นออร์โธดอกซ์รัสเซียอย่างมาก ดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงเป็นผู้สนับสนุนแนวคิดการแยกกันระหว่างรุ่นและเจ้าหญิงมารีทรงเสียพระทัยอย่างลึกๆว่าพระราชมารดาของพระองค์ไม่ทรงเคยอนุญาตให้พระองค์สนทนากับบุคคล "ให้ราวกับว่า [พวกเขา] ก็เท่าเทียมกัน" เลย ถึงกระนั้น ดัชเชสทรงเป็นบุคคลที่มีพระทัยกว้าง, มีวัฒนธรรม และเป็น"บุคคลที่สำคัญที่สุด"ในพระชนม์ชีพวัยเยาว์ของพระโอรสธิดาทุกพระองค์ ตามคำสั่งของพระราชมารดา เจ้าหญิงมารีและพระขนิษฐาต้องได้รับการศึกษาในภาษาฝรั่งเศส ที่เจ้าหญิงและพระขนิษฐาทรงรังเกียจและไม่ค่อยได้ตรัส แต่โดยรวม ดัชเชสทรงละเลยการศึกษาของพระธิดา โดยทรงพิจารณาว่าพระธิดาของพระองค์เองนั้นไม่ฉลาดหรือมีพรสวรรค์เท่าไร ทุกพระองค์ได้รับอนุญาตให้อ่านออกเสียงได้แต่ต้องเป็นเรื่องเกี่ยวกับการวาดภาพและการลงสีภาพ ในพื้นที่ที่ทรงได้รับมรดกทางความสามารถจากสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระธิดาทรงได้รับเพียงแค่ "การเรียนการสอนการเดินเท้า" ดยุกและดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงเสด็จออกรับสมาชิกราชวงศ์บ่อยๆที่อีสต์เวลปาร์ก โดยทรงเชิญร่วมเสวยพระกระยาหารเช้าเกือบทุกวัน และในปีค.ศ. 1885 เจ้าหญิงมารีและเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาทรงได้เป็นเพื่อนเจ้าสาวในพิธีอภิเษกสมรสของพระปิตุจฉาคือ เจ้าหญิงเบียทริซกับเจ้าชายเฮนรีแห่งแบ็ตเต็นเบิร์ก ในบรรดาพระสหายของเจ้าหญิงมารีนั้นทรงเป็นพระญาติทางฝ่ายพระมารดา ได้แก่ แกรนด์ดยุกนิโคลัส (ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "นิกกี้" ), แกรนด์ดยุกจอร์จ (ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "จอร์จี้" ), แกรนด์ดัชเชสเซเนีย และพระญาติอีกสองพระองค์ได้แก่ แกรนด์ดยุกไมเคิล (ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "มิชา" ) และแกรนด์ดัชเชสโอลกา ซึ่งมีพระชนมายุอ่อนกว่าพระธิดาบ้านเอดินเบอระมาก พระสหายอื่นๆอีกก็ได้แก่พระโอรสธิดาในพระมาตุลา คือ แกรนด์ดยุกวลาดิมีร์ อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซีย ในปีค.ศ. 1886 เมื่อเจ้าหญิงมารีทรงมีพระชนมายุ 11 พรรษา ดยุกแห่งเอดินเบอระทรงได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญการสูงสุดของกองทัพเรือเมดิเตอร์เรเนียน และทั้งครอบครัวต้องย้ายไปประทับที่พระราชวังซานอันโตนิโอในมอลตา เจ้าหญิงมารีทรงจดจำช่วงเวลาในมอลตาว่า "เป็นช่วงเวลาที่มีความสุขที่สุดในชีวิตของฉัน" ที่มอลตา เจ้าหญิงมารีทรงพบกับความรักครั้งแรกกับเมาริซ บอร์ก กัปตันเรือของดยุก ซึ่งเจ้าหญิงมารีทรงเรียกเขาว่า "กัปตันที่รัก" เจ้าหญิงมารีทรงรู้สึกหึงหวงเมื่อบอร์กให้ความสนใจในพระขนิษฐามากกว่าพระองค์ ดยุกและดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงรักการประทับในมอลตาอย่างมากและพระราชวังซานอันโตนิโอก็จะเต็มไปด้วยแขกผู้มาเยือนเสมอ เจ้าหญิงมารีและเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาทรงได้รับม้าขาวจากพระราชมารดาและจะทรงไปลงแข่งขันในท้องถิ่นเป็นประจำทุกวันยกเว้นวันเสาร์ ในระหว่างช่วงปีแรกที่มอลตา พระพี่เลี้ยงชาวฝรั่งเศสจะเป็นผู้ดูแลการศึกษาแก่เหล่าเจ้าหญิงแต่เมื่อเธอมีสุขภาพไม่ดี ในปีต่อมาเธอจึงถูกแทนที่ด้วยสตรีชาวเยอรมันที่อ่อนวัยกว่า ที่ซานอันโตนิโอ ดยุกและดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงดูแลห้องประทับสำหรับเจ้าชายจอร์จแห่งเวลส์ พระราชโอรสองค์ที่สองในเจ้าชายแห่งเวลส์ ซึ่งทรงปฏิบัติพระกรณียกิจในราชนาวี เจ้าชายจอร์จทรงเรียกพระภคินีจากเอดินเบอระทั้งสามที่สูงวัยกว่าว่า "ผู้น่ารักที่สุดทั้งสาม" แต่ทรงโปรดเจ้าหญิงมารีมากที่สุด ในขณะที่ดยุกแห่งเอดินเบอระทรงกลายเป็นรัชทายาทโดยสมมติของเออร์เนสต์ที่ 2 ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระปิตุลาผู้ทรงไร้บุตร เมื่อเจ้าชายแห่งเวลส์ทรงสละสิทธิ์ในดัชชีนี้ ดังนั้นครอบครัวจึงย้ายไปที่โคบูร์กในปีค.ศ. 1889 เจ้าหญิงมารีทรงมีมุมมองในช่วงเวลานี้ว่า "เป็นจุดจบของชีวิตที่เคยได้รับความสุขและสนุกโดยไม่มีใครควบคุมอย่างแท้จริง ชีวิตที่เคยปราศจากความผิดหวังหรือความหลงผิดและไม่มีความบาดหมางใดๆ" องค์ดัชเชสทรงเป็นผู้นิยมเยอรมัน พระองค์ทรงจ้างพระพี่เลี้ยงชาวเยอรมันมาอภิบาลพระธิดา โดยทรงซื้อเสื้อผ้าธรรมดาแก่พระธิดาและแม้กระทั่งให้พระธิดาทรงยอมรับในความเชื่อนิกายลูเทอแรน ครอบครัวทรงใช้เวลาในช่วงฤดูร้อนที่ปราสาทโรสเนา ดยุกเออร์เนสต์ทรงบรรยายถึงเจ้าหญิงมารีว่าเป็น "เด็กที่แปลกประหลาด" ราชสำนักขององค์ดยุกเป็นราชสำนักที่เข้มงวดน้อยกว่าราชสำนักอื่นๆในเยอรมัน ในโคบูร์ก การศึกษาของเจ้าหญิงได้มีการขยับขยายมากยิ่งขึ้น โดยมีการให้ความสำคัญกับการวาดภาพและดนตรี ซึ่งทรงได้รับการอบรมจากแอนนา เมสซิงและนางเฮลเฟอริช ตามลำดับ ในวันพฤหัสบดีและวันอาทิตย์ เจ้าหญิงมารีและพระขนิษฐาจะเสด็จไปยังโรงละครโคบูร์กซึ่งเป็นสถานที่ที่ทุกพระองค์ทรงสนุกอย่างมาก กิจกรรมอื่นๆที่เหล่าพระธิดาทรงโปรดที่โคบูร์กคือการเข้าร่วมงานเลี้ยงฤดูหนาวที่พระราชมารดาทรงจัดขึ้น ที่ซึ่งทุกพระองค์ทรงเล่นสเก็ตน้ำแข็งและเกมกีฬาต่างๆอย่างเช่น ฮอกกี้น้ำแข็งอภิเษกสมรส อภิเษกสมรส. เจ้าหญิงมารีทรงเจริญพระชันษามาเป็น "หญิงสาวที่น่ารัก" ด้วย"ดวงพระเนตรสีฟ้าเป็นประกายและพระเกศาสีอ่อนเนียน" เจ้าหญิงทรงถูกหมายโดยเหล่าราชนิกูลที่ยังโสดทั้งหลาย รวมทั้ง เจ้าชายจอร์จแห่งเวลส์ ผู้ซึ่งในปีค.ศ. 1892 ทรงกลายเป็นผู้มีสิทธิ์สืบราชบัลลังก์ลำดับที่สอง สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายแห่งเวลส์และดยุกแห่งเอดินเบอระทรงอนุมัติแผนการนี้ แต่เจ้าหญิงแห่งเวลส์และดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงปฏิเสธแผนการนี้ เจ้าหญิงแห่งเวลส์ไม่ทรงโปรดราชตระกูลที่นิยมเยอรมันและดัชเชสแห่งเอดินเบอระไม่ประสงค์ให้พระธิดาอยู่ในอังกฤษที่ทรงไม่พอพระทัย ดัชเชสทรงไม่พอใจในความเป็นจริงที่ว่า เจ้าหญิงแห่งเวลส์ ซึ่งพระราชบิดานั้นเดิมทรงเป็นเพียงเจ้าชายเยอรมันชั้นรองก่อนที่จะทรงได้รับราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์ก ซึ่งทำให้พระองค์ทรงมีลำดับยศสูงกว่าดัชเชสตามลำดับความสำคัญ ดัชเชสแห่งเอดินเบอระยังทรงต่อต้านแนวคิดการแต่งงานกันในระหว่างเครือญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งผิดธรรมเนียมในศาสนจักรออร์ทอด็อกซ์รัสเซียของพระองค์แต่เดิม ดังนั้นเมื่อเจ้าชายจอร์จทรงสู่ขอเจ้าหญิง เจ้าหญิงมารีทรงรีบบอกพระองค์ว่าการอภิเษกสมรสนั้นเป็นไปไม่ได้และทรงบอกว่าพระองค์ยังคงเป็น "เพื่อนสนิทที่รัก" ของเจ้าหญิงเสมอ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงให้ความเห็นหลังจากนั้นว่า "จอร์จีสูญเสียมิสซีไปจากการรอและรอ" ในช่วงนี้ พระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย ทรงกำลังมองหาพระชายาที่เหมาะสมสำหรับมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ เพื่อรักษาความต่อเนื่องในการสืบราชสันตติวงศ์และเพื่อให้มั่นพระทัยในความต่อเนื่องของราชวงศ์โฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน จากแรงกระตุ้นโดยการคาดหวังที่จะขจัดความตึงเครียดระหว่างรัสเซียและโรมาเนียในการควบคุมเหนือดินแดนเบสซาราเบีย ดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงแนะนำให้เจ้าหญิงมารีทรงพบกับมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ เจ้าหญิงมารีและมุกฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงพบกันครั้งแรกและคุ้นเคยกันในงานเลี้ยงพระกระยาหารค่ำและทั้งคู่ทรงสนทนาเป็นภาษาเยอรมัน เจ้าหญิงทรงพบว่ามกุฎราชกุมารทรงเป็นคนขี้อายแต่น่ารัก และการพบกันครั้งที่สองก็เป็นไปได้ด้วยดี เมื่อทั้งสองพระองค์ทรงหมั้นอย่างเป็นทางการ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงเขียนถึงเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์ว่า "[เฟอร์ดินานด์]เป็นคนที่ดีและพ่อแม่ของเขาก็มีเสน่ห์ แต่ประเทศนั้นไม่ปลอดภัยอย่างมากและสังคมในบูคาเรสต์เป็นสังคมที่ผิดศีลธรรมอย่างเลวร้ายมาก ดังนั้นงานอภิเษกครั้งนี้จะต้องทำให้ล่าช้าเพราะว่า มิสซียังมีอายุไม่ถึง 17 ปีเลยจนกว่าจะถึงสิ้นเดือนตุลาคม!" จักรพรรดินีวิกตอเรียแห่งเยอรมัน พระปิตุจฉาของเจ้าหญิงมารี ทรงเขียนถึงมกุฎราชกุมารีโซเฟียแห่งกรีซ พระราชธิดา ว่า "ตอนนี้มิสซีมีความยินดีมาก แต่น่าเศร้าที่เธอยังเด็กนัก แล้วเธอจะสามารถคาดเดาสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างไร?" ในช่วงปลายปีค.ศ. 1892 พระเจ้าคาโรลเสด็จเยือนลอนดอนโดยจะทรงเข้าพบดนุกแห่งเอดินเบอระและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ซึ่งในที่สุดก็จะทรงเห็นด้วยกับการอภิเษกสมรส และทรงพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์แก่พระเจ้าคาโรล ในวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1893 เจ้าหญิงมารีและมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงประกอบพระราชพิธีอภิเษกสมรสที่ปราสาทซิกมาริงเงินในสามพิธี ได้แก่ พิธีระดับรัฐ, พิธีคาทอลิก (ศาสนาของมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์) และพิธีแองกลิคัน (ศาสนาของเจ้าหญิงมารี) พิธีระดับรัฐได้ถูกดำเนินการที่ห้องโถงแดงของปราสาทโดยคาร์ล ฟอน เวนเดล องค์จักรพรรดิเยอรมันได้เสด็จมาเป็นพยานองค์แรกในสัญลักษณ์ของพิธีอภิเษกสมรส ในเวลา 4 นาฬิกา พิธีคาทอลิกได้ถูกจัดที่โบสถ์เมือง โดยพระราชบิดาทรงพาเจ้าหญิงมารีมาที่แท่นบูชา พิธีแองกลิคันมีความเรียบง่ายและได้ดำเนินการในห้องหนึ่งของปราสาท แม้ว่าพระเจ้าคาโรลทรงอนุญาตให้ทั้งคู่เสด็จไป "โฮนิกทัก" (Honigtag; หนึ่งวันสำหรับการฮันนีมูน) เจ้าหญิงมารีและมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงใช้เวลาไม่กี่วันที่ปราสาทในเคราเชนวีส์ที่บาวาเรีย จากที่นั่นทรงเดินทางผ่านชนบท และการเดินทางต้องถูกขัดจังหวะและหยุดที่กรุงเวียนนา ที่ซึ่งทรงเข้าเฝ้าจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย เนื่องจากความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นระหว่างออสเตรียและโรมาเนีย (การเข้าเฝ้าเกิดขึ้นระหว่างการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องของบันทึกความเข้าใจทรานซิลเวเนีย) ทั้งสองพระองค์เสด็จเยือนเป็นระยะเวลาสั้นๆ และทรงมาถึงชายแดนของเมืองพรีดีลจากการเดินทางข้ามคืนผ่านทรานซิลเวเนียด้วยรถไฟ เจ้าหญิงมารีทรงได้รับการต้อนรับจากชาวโรมาเนียอย่างอบอุ่นซึ่งปรารถนาในสถาบันพระมหากษัตริย์ที่มีความเป็นบุคคลมากขึ้นมกุฎราชกุมารีแห่งโรมาเนีย (ค.ศ. 1893 - 1914)พระชนม์ชีพภายในประเทศ มกุฎราชกุมารีแห่งโรมาเนีย (ค.ศ. 1893 - 1914). พระชนม์ชีพภายในประเทศ. ในช่วงปีแรกของการอภิเษกสมรสระหว่างมกุฎราชกุมารีมารีและมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์นั้นไม่ง่าย และเจ้าหญิงมารีทรงบอกพระสวามีในภายหลังว่า "มันเป็นเรื่องน่าละอายจริงๆที่เราทั้งคู่ต้องเสียเวลาเป็นเวลาหลายปีในช่วงวัยรุ่นเพียงเพื่อเรียนรู้การใช้ชีวิตร่วมกัน!" ความสัมพันธ์ของทั้งสองพระองค์ได้ค่อยๆพัฒนาเป็นมิตรภาพที่จริงใจอย่างช้าๆ เจ้าหญิงมารีทรงเคารพมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ในฐานะที่เป็นผู้ชายคนหนึ่ง และต่อมาเป็นพระมหากษัตริย์ และมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ก็ทรงเคารพเจ้าหญิงมารีในฐานะที่เจ้าหญิงทรงเข้าใจในโลกนี้ดีกว่าพระองค์ ในที่สุดเจ้าหญิงมารีก็ทรงเชื่อว่า พระองค์กับมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์เป็น "เพื่อนร่วมงานที่ดีที่สุด เป็นสหายที่ดีที่สุด แต่ชีวิตของเราประสานเข้ากันได้ในบางเรื่อง" มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงโปรดมากเมื่อเจ้าหญิงมารีทรงปรากฏพระองค์ในระหว่างการสวนสนามของทหารและทำให้เจ้าหญิงทรงได้รับเชิญมายังงานเหล่านี้บ่อยครั้ง เจ้าหญิงมารีทรงมีพระประสูติกาลบุตรพระองค์แรกคือ เจ้าชายคาโรล ในเวลาเพียงเก้าเดือนหลังจากอภิเษกสมรส ในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1893 ถึงแม้ว่าเจ้าหญิงมารีจะทรงขอใช้คลอโรฟอร์มเพื่อระงับอาการเจ็บปวด แต่เหล่าแพทย์ไม่เต็มใจที่จะทำเช่นนั้น แพทย์หลวงโรมาเนียเชื่อว่า "ผู้หญิงทุกคนจะต้องชดใช้ด้วยความเจ็บปวดจากบาปของอีฟ" หลังจากที่พระมารดาของเจ้าหญิงมารีและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงยืนยันตามคำขอของเจ้าหญิง ในที่สุดพระเจ้าคาโรลทรงอนุญาตให้พระสุณิสาสามารถใช้ยาได้ เจ้าหญิงมารีไม่ทรงมีความสุขมากนักหลังจากมีพระประสูติกาลพระโอรสองค์แรก ต่อมาทรงเขียนว่า "รู้สึกเหมือนเอาหัว (ของเจ้าหญิงมารี) หันไปชนผนัง" ในทำนองเดียวกันแม้ว่าเจ้าหญิงมารีจะทรงได้รับการย้ำเตือนอย่างต่อเนื่องจากพระมเหสีในพระเจ้าคาโรลคือ สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ ที่ทรงเห็นว่าการที่เจ้าหญิงทรงมีบุตรถือว่า "เป็นช่วงเวลาที่รุ่งโรจน์ที่สุดในชีวิต (ของเจ้าหญิงมารี)" เจ้าหญิงทรงนึกถึงพระมารดาของพระองค์จากการที่ทรงมีพระประสูติกาลบุตรพระองค์ที่สองคือ เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ในปีค.ศ. 1894 หลังจากทีทรงคุ้นเคยกับการใช้พระชนม์ชีพในโรมาเนีย เจ้าหญิงมารีทรงเริ่มมีความสุขจากการมีพระประสูติกาลพระโอรสธิดา ซึ่งได้แก่ เจ้าหญิงมาเรีย (ค.ศ. 1900 - 1961) ทรงมีพระนามที่เรียกกันในราชวงศ์ว่า "มิกนอน" , เจ้าชายนิโคลัส (ค.ศ. 1903 - 1978) ทรงมีพระนามที่เรียกกันในราชวงศ์ว่า "นิกกี้" , เจ้าหญิงอีเลียนา (ค.ศ. 1909 -1991) และ เจ้าชายเมอร์เซีย (ค.ศ. 1913 - 1916) พระเจ้าคาโรลและสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธทรงนำเจ้าชายคาโรลและเจ้าหญิงเอลิซาเบธออกจากการดูแลของเจ้าหญิงมารีในทันที โดยทรงเห็นว่าเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสมที่ให้อยู่ภายใต้การอภิบาลโดยพระบิดามารดาที่ยังเป็นวัยรุ่น เจ้าหญิงมารีทรงรักพระโอรสธิดามาก แต่ก็ทรงพบว่ามันเป็นเรื่องยากที่จะทรงสามารถว่ากล่าวตักเตือนพระโอรสธิดาได้ บางครั้งจึงทรงรู้สึกว่าไม่สามารถดูแลพระโอรสธิดาได้อย่างถูกต้อง ดังนั้นพระโอรสธิดาจะได้รับการศึกษาในบางส่วน แต่ไม่เคยถูกส่งไปโรงเรียน ในฐานะที่เป็นเชื้อพระวงศ์จึงไม่สามารถให้การศึกษาในชั้นเรียนได้ ซึ่งทำให้บุคลิกส่วนใหญ่ของพระโอรสธิดาได้สร้างข้อบกพร่องอย่างรุนแรงเมื่อเจริญพระชันษา เอียน จี. ดูคา ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยหลัง ได้เขียนบันทึกในเวลาต่อมาว่า "ดูเหมือนว่า [พระเจ้าคาโรล] จะประสงค์ที่จะปล่อยให้รัชทายาทโรมาเนียไม่มีความพร้อมในการสืบราชบัลลังก์"พระชนม์ชีพในราชสำนัก พระชนม์ชีพในราชสำนัก. ตั้งแต่เริ่ม มกุฎราชกุมารีมารีทรงประสบปัญหาในการปรับตัวเข้ากับชีวิตในโรมาเนีย บุคลิกภาพและ"จิตวิญญาณสูงสุด"ของพระองค์ได้สร้างข้อถกเถียงอย่างมากในราชสำนักโรมาเนีย และพระองค์ไม่ทรงโปรดบรรยากาศที่เคร่งครัดในราชวงศ์ของพระองค์ พระองค์ทรงเขียนว่าพระองค์เอง "ไม่ได้ถูกพามาโรมาเนียเพื่อให้เป็นที่รักหรือเป็นที่พูดถึง และที่มากที่สุดคือ พระองค์ทรงเป็นส่วนหนึ่งในเครื่องจักรของพระเจ้าคาโรลที่ได้สร้างรอยแผลขึ้นในตัวของพระองค์ พระองค์ได้ถูกนำเข้ามาเพื่อประดับตกแต่ง, รับการศึกษา, ทำให้มีความสำคัญลดลงและถูกฝึกอบรมตามความคิดของบุรุษผู้ยิ่งใหญ่" เมื่อบรรยายถึงช่วงต้นๆในโรมาเนีย มกุฎราชกุมารีมารีทรงเขียนว่า "เป็นเวลานานที่ [พระองค์] รู้สึกเซื่องซึมในขณะที่พระสวามีหนุ่ม [ของพระองค์] ทรงเข้ารับราชการทหาร ทั้งหมดนี้ทำให้ต้องโดดเดี่ยวในห้องพักที่ [พระองค์] ทรงเกลียด เป็นห้องแบบเยอรมันขนาดใหญ่" สมเด็จพระจักรพรรดินี พระพันปีหลวงแห่งเยอรมันทรงเขียนจดหมายถึงมกุฎราชกุมารีแห่งกรีซ พระราชธิดาว่า "มิสซีแห่งโรมาเนียน่าสงสารกว่าลูกอีกนะ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ปกครองที่เผด็จการที่สุดในครอบครัวของพระองค์ และทรงบดขยี้อิสรภาพของเฟอร์ดินานด์ดังนั้นจึงทำให้ไม่มีใครสนใจในตัวเขาและภรรยาของเขาผู้งดงามและน่ารัก แม่กลัวว่าเธอจะตกอยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบาก และเหมือนกับผีเสื้อแทนที่จะบินตอมดอกไม้ แต่ได้เผาปีกที่งดงามของเธอโดยการบินเข้าไปใกล้กองไฟ!" พระองค์ทรงเรียนรู้ภาษาโรมาเนียอย่างง่ายดาย พระองค์ทรงทำตามคำแนะนำของพระมารดาที่ต้องระมัดระวังในการแต่งกายและแสดงความเคารพต่อพิธีกรรมออร์โธดอกซ์ มกุฎราชกุมารีมารีและมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงได้รับการแนะนำจากพระมหากษัตริย์ที่ให้คงจำกัดกลุ่มของพระสหาย ดังนั้น พระองค์ทรงเสียพระทัยมากที่วงล้อมครอบครัวของพระองค์ได้ลดเหลือเพียงแค่พระมหากษัตริย์และมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ "ผู้ซึ่งยืนหยัดอย่างหวาดกลัวอย่างมากต่อชายชราพระหัตถ์เหล็ก ซึ่งทรงสั่นเทิ้มตลอดทุกการกระทำ [ของมารี] ที่อาจจะสร้างความไม่พอใจแก่หน้าที่ของพระประมุขของราชวงศ์" ในหนังสือเสริมนิตยสารไทม์ได้เขียนว่าพระนางมารีทรงพบว่าพระองค์เอง "จากช่วงเวลาที่มาถึงบูคาเรสต์ ทรงต้องอยู่ภายใต้การปกครองที่เข้มงวดของพระเจ้าคาโรลที่ 1" ในปีค.ศ. 1896 มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์และมกุฎราชกุมารีมารีทรงย้ายไปประทับที่พระราชวังโคโทรเซนี ที่ซึ่งได้รับการขยับขยายโดยกริกอร์ เซอร์เชส สถาปนิกชาวโรมาเนีย และพระนางมารีทรงเพิ่มการออกแบบของพระนางเองด้วย ในปีถัดมา มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงพระประชวรด้วยโรคไข้รากสาดน้อย ทุกวัน พระองค์ทรงเพ้อและแม้ว่าแพทย์จะพยายามอย่างดีที่สุดแล้วแต่พระองค์ทรงใกล้จะสิ้นพระชนม์ ในช่วงเวลานี้ พระนางมารีทรงเขียนจดหมายแลกเปลี่ยนเป็นจำนวนมากกับครอบครัวของพระนางในอังกฤษ และทรงหวาดกลัวที่จะต้องสูญเสียพระสวามี พระเจ้าคาโรลยังทรงมีรัชทายาทอีกพระองค์คือ เจ้าชายคาโรล ผู้ซึ่งยังทรงพระเยาว์นัก ดังนั้นทุกคนในราชวงศ์ต่างต้องการให้มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงฝ่าฟันโรคภัยไปได้ ในที่สุดพระองค์ก็ทำได้สำเร็จ พระองค์และพระนางมารีได้เสด็จไปยังซินายอา ประทับที่ปราสาทเปเรส เพื่อฟื้นฟูพระวรกาย อย่างไรก็ตาม ทั้งสองพระองค์ก็ไม่สามารถเข้าร่วมพระราชพิธีพัชราภิเษกของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียในฤดูร้อนได้ ในช่วงการพักฟื้นของมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ พระนางมารีทรงใช้เวลาร่วมกับพระราชบุตรทั้งสองพระองค์ โดยทรงมีพระดำเนินและเก็บดอกไม้ร่วมกัน ในฤดูหนาวปีค.ศ. 1897/1898 ทรงใช้เวลาร่วมกับพระราชวงศ์รัสเซียที่เฟรนช์ริวีเอรา ที่ซึ่งพระนางมารีได้ทรงม้าทั้งๆที่อากาศหนาวเย็น ในช่วงนี้ มกุฎราชกุมารีมารีทรงพบกับร้อยโท จอร์จี คานตาคูซีเน เป็นสมาชิกที่มมาจากเชื้อสายนอกสมรสของเชื้อพระวงศ์ผู้ครองแคว้นในสมัยโบราณของโรมาเนียและเป็นเชื้อสายของเจ้าชายเซอร์บาน คานตาคูซีโน ถึงแม้รูปโฉมจะไม่หล่อเหลาเท่าไหร่ แต่คานตาคูซีเนเป็นคนที่มีอารมณ์ขันและแต่งตัวดี และมีความสามารถในการขี่ม้า ทั้งคู่ได้เริ่มมีความรักแก่กัน แต่เรื่องอื้อฉาวนี้ได้สิ้นสุดเมื่อสาธารณะได้รับรู้ พระราชมารดาของพระนางมารีทรงประณามพฤติกรรมของพระธิดาและทรงโปรดให้พระธิดาเสด็จมายังโคบูร์กเมื่อพระนางมารีทรงพระครรภ์ในปีค.ศ. 1897 นักประวัติศาสตร์ จูเลีย เกลาร์ดี เชื่อว่าพระนางมารีมีพระประสูติกาลบุตรที่โคบูร์ก และบุตรอาจจะเสียชีวิตตั้งแต่เกิดหรือไม่ก็ถูกส่งไปยังสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าทันที มีการคาดเดากันว่า "เจ้าหญิงมิกนอน" พระธิดาองค์ที่สองของพระนางมารี ที่จริงแล้วเป็นบุตรที่ประสูติกับคานตาคูซีเน ไม่ใช่มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ ในปีถัดๆมา มีข่าวลือว่าพระนางมารีทรงมีความสัมพันธ์กับแกรนด์ดยุกบอริส วลาดีมีโรวิชแห่งรัสเซีย, วัลดอร์ฟ อัสเตอร์, เจ้าชายบาร์บู สเตอบีย์, และโจ บอยล์ ในปีค.ศ. 1903 มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์และพระนางมารีทรงเปิดปราสาทเปลีซอร์ เป็นปราสาทในสถาปัตยกรรมแบบนวศิลป์ที่เมืองซินายอา ซึ่งพระเจ้าคาโรลทรงมอบให้กับทั้งสองพระองค์ พระนางมารีทรงได้เรียนรู้ถึงขอบเขตการอดกลั้นซึ่งนำไปสู่การปราบปรามกบฏชาวนาโรมาเนียค.ศ. 1907 ซึ่งสายเกินไปที่จะทรงพยายามไกล่เกลี่ย หลังจากนั้นพระนางได้ทรงฉลองพระองค์ชุดพื้นบ้านโรมาเนียบ่อยๆทั้งในที่ประทับและที่สาธารณะและทรงเริ่มทิศทางแฟชั่นการแต่งกายแบบนี้ในหมู่เด็กสาวชนชั้นสูง ในวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 1913 ราชอาณาจักรบัลแกเรียได้ประกาศสงครามกับราชอาณาจักรกรีซ เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามบอลข่านครั้งที่สอง ในวันที่ 4 กรกฎาคม โรมาเนียได้เข้าร่วมสงคราม โดยเป็นพันธมิตรกับกรีซ สงครามได้ดำเนินเป็นระยะเวลาอย่างน้อยหนึ่งเดือน แต่กลับแย่ลงเนื่องจากมีการระบาดของอหิวาตกโรค พระนางมารีทรงเผชิญครั้งแรกกับการระบาดของโรคซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนในพระชนม์ชีพของพระนาง ด้วยการช่วยเหลือจากนายแพทย์ เอียน คานตาคูซิโนและซิสเตอร์ พุคชี นางพยาบาลจากกาชาด พระนางมารีทรงเดินทางไปทั่วโรมาเนียและบัลแกเรีย เพื่อขอความร่วมมือจากโรงพยาบาล เหตุการณ์เหล่านี้ได้ตระเตรียมให้พระนางเพื่อประสบการณ์ในสงครามโลก ผลของสงครามทำให้เกิดสนธิสัญญาบูคาเรสต์ (1913) โรมาเนียได้ครอบครองโดบรูจาใต้ รวมทั้งบอลคิค [Balchik (Balcic)] เมืองชายฝั่งทะเล ที่ซึ่งพระนางมารีทรงหวงแหนมากในปีค.ศ. 1924 และมักจะทรงใช้เป็นที่ประทับของพระนาง หลังจากสงครามสิ้นสุด พระเจ้าคาโรลที่ 1 ทรงพระประชวร ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 ที่เมืองซาราเยโว อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย องค์รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ทรงถูกลอบปลงพระชนม์ ข่าวนี้ได้ทำให้พระนางมารีและพระราชวงศ์ต้องตกตะลึงอย่างมาก ซึ่งทรงกำลังพักผ่อนอยู่ที่ซินายอาเมื่อข่าวได้มาถึง ในวันที่ 28 กรกฎาคม ออสเตรีย-ฮังการีประกาศสงครามต่อเซอร์เบียและพระนางมารีทรงเห็นว่า "สันติภาพโลกได้ถูกฉีกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย" จากนั้นในวันที่ 3 สิงหาคม พระเจ้าคาโรลทรงเรียกประชุมสภาที่ปรึกษาราชบัลลังก์โรมาเนียที่ซินายอา เพื่อทรงตัดสินพระทัยว่าโรมาเนียควรเข้าร่วมสงคราม ถึงแม้ว่าพระเจ้าคาโรลทรงโปรดที่จะให้ประเทศของพระองค์สนับสนุนเยอรมนีและฝ่ายมหาอำนาจกลาง แต่สภาได้ตัดสินใจต่อต้านพระราชประสงค์ ไม่นานหลังจากการประชุมสภา พระอาการประชวรของพระเจ้าคาโรลได้แย่ลงและในที่สุดต้องทรงประทับบนแท่นบรรทมตลอด มีการกล่าวกันว่าพระองค์อาจจะสละราชบัลลังก์ ในที่สุด พระองค์เสด็จสวรรคตในวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1914 และมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงสืบราชบัลลังก์เป็นพระมหากษัตริย์โดยทันทีสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย (ค.ศ. 1914 - 1927)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย (ค.ศ. 1914 - 1927). สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง. ในวันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1914 มกุฎราชกุมารีมารีและมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ได้รับการประกาศสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีในรัฐสภา เจ้าหญิงแอนน์ มารี คัลลิมาชี พระสหายสนิทของพระนางมารี ได้เขียนว่า "ขณะเป็นมกุฎราชกุมารี [มารี] ทรงเป็นที่นิยม เมื่อทรงเป็นสมเด็จพระราชินี พระนางทรงเป็นที่รักอย่างมาก" พระนางทรงมีอิทธิพลเหนือพระสวามีและตลอดทั้งราชสำนัก จากงานเขียนของนักประวัติศาสตร์ เอ.แอล. อีสเตอร์แมน ได้เขียนว่า "ไม่ใช่ [เฟอร์ดินานด์] แต่มารีต่างหากที่ปกครองโรมาเนีย" ในช่วงการขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ รัฐบาลได้อยู่ภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรีจากพรรคเสรีนิยม คือ นายกรัฐมนตรีเอียน ไอ. ซี. บราเทียนู พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และสมเด็จพระราชินีมารีทรงร่วมกันตัดสินพระทัยไม่ให้มีการเปลี่ยนแปลงในราชสำนักมากนักและทรงพยายามให้ผู้คนยอมรับการเปลี่ยนผ่านยุคสมัยหนึ่งไปอีกยุคสมัยหนึ่งมากกว่าการบังคับพวกเขา ดังนั้นข้าราชบริพารของเจ้าชายคาโรลกับเจ้าหญิงเอลิซาเบธยังคงอยู่ในตำแหน่งเดิม แม้ว่าจะมีคนที่ไม่โปรดก็ตาม ด้วยการช่วยเหลือของบราเทียนู พระนางมารีทรงเริ่มกดดันให้พระเจ้าเฟอร์ดินานด์เข้าสู่สงคราม พร้อมกันนั้นพระนางทรงติดต่อเหล่าพระญาติที่ครองราชย์ในประเทศต่างๆของยุโรปและทรงพยายามต่อรองเงื่อนไขที่ดีที่สุดแก่โรมาเนีย ในกรณีที่ประเทศจะเข้าสู่สงคราม พระนางมารีทรงสนับสนุนการเป็นพันธมิตรกับพันธมิตรไตรภาคี (รัสเซีย, ฝรั่งเศส และอังกฤษ) ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะทรงมีเชื้อสายชาวอังกฤษ ความเป็นกลางไม่ได้ทำให้ปราศจากภัยอันตรายใดๆและการเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายไตรภาคี นั้นหมายความว่า โรมาเนียจะทำหน้าที่เป็น "ดินแดนกันชน" ให้รัสเซียเมื่อมีการโจมตีเกิดขึ้น ในที่สุด พระนางมารีทรงเรียกร้องให้พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ผู้ทรงไม่แน่พระทัย ให้นำโรมาเนียเข้าสู่สงคราม ด้วยการนำให้รัฐมนตรีฝรั่งเศส ออกุสต์ เฟลิกซ์ เดอ โบปอย เคานท์แห่งแซงต์-ออแลร์ เดินทางมายังโรมาเนีย เพื่อย้ำเตือนว่าพระนางมารีทรงเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสถึงสองครั้ง ครั้งแรกคือจากการประสูติ อีกครั้งหนึ่งคือจากพระหทัย พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงทำตามคำวิงวอนของพระนางมารี และพระองค์ได้ลงพระปรมาภิไธยในสนธิสัญญาเป็นพันธมิตรกับพันธมิตรไตรภาคีในวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1916 ในวันที่ 27 สิงหาคม โรมาเนียได้ประกาศสงครามกับออสเตรีย-ฮังการีอย่างเป็นทางการ แซงต์-ออแลร์ได้ว่า พระนางมารีทรง"โอบกอดสงครามเหมือนกับโอบกอดศาสนา" หลังจากที่ทรงตรัสบอกแก่พระโอรสธิดาว่าประเทศได้เข้าสู่สงคราม พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และพระนางมารีทรงปลดข้าราชบริพารชาวเยอรมัน ซึ่งพวกเขาจะยังคงมีหน้าที่อย่างเดียวคือการเป็น "เชลยสงคราม" ในช่วงก่อนสงคราม พระนางมารีทรงมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือกาชาดโรมาเนียและเสด็จเยี่ยมโรงพยาบาลทุกวัน ในช่วงเดือนแรกของสงคราม โรมาเนียต่อสู้กับข้าศึกไม่น้อยกว่าเก้าครั้ง บ้างสู้รบในแผ่นดินโรมาเนีย เช่น ยุทธการทูร์ตูคาเอีย ในวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1916 เจ้าชายเมอร์เซีย พระโอรสองค์สุดท้องของพระนางมารี ซึ่งทรงพระประชวรด้วยโรคไข้รากสาดน้อย ได้สิ้นพระชนม์ลงที่เมืองบัฟเตีย พระนางมารีทรงมีพระจริตคุ้มคลั่งโดยทรงเชียนในบันทึกของพระนางเองว่า "มีอะไรที่สามารถทำให้เป็นเหมือนกันหรือไม่" หลังจากบูคาเรสต์พ่ายแพ้แก่กองทัพออสเตรีย ราชสำนักได้ย้ายไปประทับที่เมืองยาช เมืองหลวงของแคว้นมอลเดเวียในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1916 ที่นั่นพระนางยังคงประกอบพระกรณียกิจในฐานะพยาบาลที่โรงพยาบาลทหาร ทุกวันพระนางมารีจะทรงฉลองพระองค์พยาบาลและเสด็จไปที่สถานีรถไฟยาช ที่ซึ่งพระนางจะได้ทรงรับทหารที่บาดเจ็บได้มากขึ้น จากนั้นพระนางจะทรงส่งพวกเขาไปยังโรงพยาบาล หลังจากข้อสรุปของการปฏิวัติรัสเซียในต้นเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1917 และชัยชนะของบอลเชวิก จากคำกล่าวของแฟรงก์ แรตติแกน นักการทูต ที่ว่า โรมาเนียได้กลายเป็น "เกาะที่ล้อมรอบไปด้วยศัตรูโดยไม่มีความหวังที่จะได้รับการช่วยเหลือจากพันธมิตร" หลังจากนั้นไม่นาน พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงลงนามในสนธิสัญญาฟอกซานีในวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917 พระนางมารีทรงพิจารณาแล้วว่าสนธิสัญญานี้เต็มไปด้วยอันตราย ในขณะที่บราเทียนูและสเตอร์บีย์เชื่อว่าการทำเช่นนี้ถือเป็นมาตรการจำเป็นเพื่อที่จะถ่วงเวลาให้มากขึ้น ในเหตุการณ์ต่อๆมาพิสูจน์ได้ว่าการสันนิษฐานของพระนางมารีนั้นถูกต้อง ในปีค.ศ. 1918 พระนางมารีทรงพิโรธและต่อต้านกันลงนามในสนธิสัญญาบูคาเรสต์ ทำให้มีการบรรยายถึงพระนางเพิ่มว่าทรง "เป็นผู้ชายที่แท้จริงเพียงคนเดียวในโรมาเนีย" การสงบศึกกับเยอรมนี (11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918) ได้ทำให้การต่อสู้ในยุโรปสิ้นสุดลงและนำไปสู่การสิ้นสุดสงครามด้วย ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ราชรัฐฮังการีได้เริ่มต้นพิชิตทรานซิลเวเนีย ซึ่งชาวฮังการีสามารถครอบครองได้อย่างสมบูรณ์ในราวปีค.ศ. 1200 แนวคิดเกี่ยวกับ "เกรตเทอร์โรมาเนีย" ยังคงมีอยู่ในจิตใจของชาวโรมาเนียในทรานซิลเวเนียเป็นบางครั้ง และบราเทียนูได้สนับสนุนแนวคิดนี้อย่างแข็งขันตั้งแต่ก่อนสงคราม ในปีค.ศ. 1918 ทั้งเบสซาราเบียและบูโกวินาได้โหวตเพื่อรวมเข้ากับโรมาเนีย มีการชุมนุมกันที่อัลบาอูเลีย เมืองโบราณในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1918 ที่ซึ่งวาซิลลี โกลดิสได้อ่านประกาศการรวมทรานซิลเวเนียเข้ากับราชอาณาจักรโรมาเนียเก่า เอกสารฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนโดยชาวโรมาเนียและผู้แทนชาวแซ็กซอน โดยการจัดตั้ง "สภาสูงแห่งชาติโรมาเนีย" () เพื่อการบริหารราชการชั่วคราวในระดับจังหวัด พระนางมารีทรงเขียนว่า "ความฝันถึงที่ราบของชาวโรมาเนีย ดูเหมือนว่าจะกลายเป็นจริง...มันเป็นสิ่งที่น่าทึ่งมาก ฉันแทบไม่อยากจะเชื่อเลย" หลังจากการชุมนุม พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และสมเด็จพระราชินีมารีได้เสด็จกลับบูคาเรสต์ที่ซึ่งทรงพบกับความรื่นเริง "วันแห่ง "ความกระตือรือร้น, ความตื่นเต้นอย่างที่สุด" พร้อมกับวงดนตรีเสียงดังและทหารเดินสวนสนามและผู้คนตะโกนโห่ร้อง" ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรได้จัดงานเฉลิมฉลองและพระนางมารีทรงมีความสุขที่จะได้เห็นฝ่ายสัมพันธมิตรบนผืนแผ่นดินโรมาเนียเป็นครั้งแรกการประชุมสันติภาพปารีส การประชุมสันติภาพปารีส. เนื่องจากพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงปฏิเสธที่จะลงนามในสนธิสัญญาบูคาเรสต์และโรมาเนียได้ประกาศตนเป็นศัตรูกับฝ่ายมหาอำนาจกลางจนกระทั่งสิ้นสุดสงคราม จึงทำให้มีสถานที่ที่ซึ่งประเทศที่ชนะสงครามมารวมกันในการประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919 ที่ซึ่งได้มีการรับประกัน คณะผู้แทนอย่างเป็นทางการนำโดยบราเทียนู ซึ่งเขาพึ่งจะได้เป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยที่สาม ความแข็งกระด้างของบราเทียนูบวกกับการต่อต้านของนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส ฌอร์ฌ เกลอม็องโซ ที่จะพยายามมองข้ามการยอมรับของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ต่อสนธิสัญญาบูคาเรสต์นำไปสู่ความขัดแย้งและคณะผู้แทนโรมาเนียได้เดินทาออกจากปารีส สิ่งนี้ได้สร้างความผิดหวังแก่ "มหาอำนาจทั้งสี่" อย่างมาก ด้วยความหวังที่จะแก้ไขสถานการณ์ แซงต์-ออแลร์ได้แนะนำว่าควรส่งสมเด็จพระราชินีมารีไปเข้าร่วมการประชุมแทน สมเด็จพระราชินีทรงยินดีอย่างยิ่งเมื่อมีโอกาสเช่นนี้ พระนางมารีเสด็จถึงปารีสในวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1919 พระนางทรงเป็นที่นิยมในหมู่ชาวฝรั่งเศสในทันที อันเนื่องมาจากความกล้าหาญของพระนางในสงคราม ในการประชุม เกลอม็องโซได้กล่าวกับพระนางมารีว่า "กระหม่อมไม่ชอบนายกรัฐมนตรีของพระองค์เลย" ซึ่งพระนางทรงตอบทันทีว่า "บางทีคุณพบฉันแล้วคงน่าจะพอใจมากขึ้นนะ" เขาและประธานาธิบดี แรมง ปวงกาเรได้เปลี่ยนทัศนคติของเกลอม็องโซที่มีต่อโรมาเนียนับตั้งแต่การมาถึงของพระนางมารี หลังจากทรงประทับในกรุงปารีสเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ พระนางมารีทรงตอบรับคำเชิญของพระเจ้าจอร์จที่ 5 และสมเด็จพระราชินีแมรี และทรงเดินทางข้ามช่องแคบอังกฤษและประทับที่พระราชวังบักกิงแฮม ด้วยความหวังที่ว่าจะทรงได้รับความเป็นมิตรไมตรีแก่โรมาเนีย พระนางมารีทรงพบปะคุ้นเคยกับบุคคลทางการเมืองที่สำคัญในช่วงเวลานั้น ดังเช่น ลอร์ดคูร์ซอน, วินสตัน เชอร์ชิล และวัลดอร์ฟ อัสเตอร์กับแนนซี อัสเตอร์ พระนางได้เสด็จไปเยี่ยมพระโอรส นิกกี ซึ่งทรงศึกษาอยู่ที่วิทยาลัยอีตันบ่อยๆ พระนางมารีทรงมีความสุขอย่างมากที่ได้กลับไปยังอังกฤษหลังจากจากมาเป็นเวลานาน ทรงเขียนว่า "มันเป็นความรู้สึกที่เปี่ยมล้นจริงๆที่ได้มาถึงลอนดอน และได้รับการต้อนรับที่สถานีโดยจอร์จและเมย์" หลังจากสิ้นสุดการเสด็จเยือนอังกฤษ พระนางมารีได้เสด็จกลับปารีส ที่ซึ่งผู้คนยังคงตื่นเต้นสำหรับการเสด็จมาถึงของพระนางอย่างที่เคยเป็นเมื่อไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา ฝูงชนรวมตัวกันอยู่รอบๆพระนางบ่อยๆ เพื่อรอที่จะพบสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียจาก "ต่างแดน" ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา วูดโรว์ วิลสัน ก็ยังคงไม่สร้างความประทับใจแก่พระนางมารี และความเห็นของพระนางเกี่ยวกับกฎหมายรัสเซียที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความสัมพันธ์ทางเพศ ซึ่งพระนางพิจารณาว่าไม่เหมาะสม ก็ไม่ได้ช่วยอะไร พระนางมารีได้สร้างความตกตะลึงแก่เจ้าหน้าที่โดยทรงโบกพระหัตถ์ให้รัฐมนตรีของพระนางทั้งหมดออกไปและทรงนำการเจรจาต่อรองด้วยพระนางเอง จากนั้นพระนางทรงแสดงความเห็นในเรื่องนี้ว่า "ไม่เป็นไร พวกคุณทั้งหมดเพียงแค่ยอมรับฉันด้วยความผิดพลาดทางศีลธรรมของฉันเอง" พระนางมารีเสด็จออกจากปารีสพร้อมเสบียงอาหารจำนวนมากเพื่อช่วยเหลือโรมาเนีย ในปีหลังจากนั้น ผลการประชุมได้มีข้อตกลงในสนธิสัญญาแวร์ซายโดยยอมรับโรมาเนียอันยิ่งใหญ่ในระดับนานาชาติ ดังนั้นราชอาณาจักรของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์และพระนางมารีได้เพิ่มขึ้นสองเท่าเป็น 295,000 ตารางกิโลเมตร (114,000 ตารางไมล์) และจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นถึงสิบล้านคน สิ่งนี้ทำให้แกรนด์ดัชเชสมาเรีย ปาฟลอฟนาแห่งรัสเซีย ผู้ทรงประทับอยู่ในบูคาเรสต์ช่วงสั้นๆได้สรุปว่า "ด้วยเสน่ห์ ความงามและสติปัญญาที่เพียบพร้อม [มารี]ได้รับทุกสิ่งทุกอย่างที่ทรงปรารถนา"ความพยายามของราชวงศ์ ความพยายามของราชวงศ์. ในปีค.ศ. 1920 เจ้าหญิงเอลิซาเบธ พระธิดาองค์โตของพระนางมารี ทรงหมั้นกับเจ้าชายจอร์จแห่งกรีซ พระโอรสองค์โตในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซกับอดีตสมเด็จพระราชินีโซเฟีย พระญาติของพระนางมารี ซึ่งทรงถูกถอดถอนจากราชบัลลังก์กรีซ หลังจากที่พระนางทรงเชิญเจ้าชายจอร์จพร้อมพระขนิษฐาทั้งสองพระองค์คือ เจ้าหญิงเฮเลนและเจ้าหญิงไอรีน มาร่วมประทับพร้อมกับพระนางที่ซินายอา พระนางมารีทรงจัดการกิจกรรมต่างๆมากมายแก่คู่หนุ่มสาวทั้งสองและทรงยินดีอย่างมากที่จะทรงอภิเษกสมรสกับพระธิดาของพระนางตามที่ทรงคาดหมายไว้แล้ว ซึ่งพระธิดาของพระนางเองนั้นมีข้อด่างพร้อยอย่างรุนแรง ในเดือนตุลาคม มีรายงานข่าวจากกรีซเกี่ยวกับการสวรรคตของสมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์แห่งกรีซ ซึ่งเจ้าหญิงกรีซต้องรีบเสด็จกลับไปพบพระบิดาและพระมารดาอย่างเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในวันถัดมา มีข่าวแจ้งว่า พระมารดาของพระนางมารีได้สิ้นพระชนม์แล้วอย่างสงบที่ซูริก พระนางมารีทรงเตรียมการเดินทางไปยังสวิตเซอร์แลนด์ ที่ซึ่งพระนางจะทรงพาเจ้าหญิงเฮเลนและเจ้าหญิงไอรีนไปพบพระบิดาและพระมารดาของทั้งสองพระองค์ได้และเข้าร่วมพิธีฝังพระศพพระมารดาของพระนาง ในขณะที่เจ้าชายจอร์จและเจ้าหญิงเอลิซาเบธยังคงประทับอยู่ที่ซินายอา ในเวลาต่อมาอย่างรวดเร็ว มกุฎราชกุมารคาโรลได้มีการหมั้นหมายเจ้าหญิงเฮเลนและทั้งสองพระองค์ก็ได้อภิเษกสมรสในปีถัดมา พระนางมารีทรงปลื้มปิติมาก หลังจากที่ไม่ทรงยอมรับความสัมพันธ์ของมกุฎราชกุมารคาโรลกับซิซิ ลามบริโนและทรงกลุ้มพระทัยมากที่เธอได้ให้กำเนิดลูกนอกสมรสกับมกุฎราชกุมารคาโรล คือ คาโรล ลามบริโน ซึ่งสิ่งที่พระนางพอจะบรรเทาได้ก็คือให้เด็กใช้นามสกุลของมารดา ในปีค.ศ. 1922 พระนางมารีทรงให้ "เจ้าหญิงมิกนอล" พระธิดาองค์ที่สองอภิเษกสมรสกับพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย (หลังจากนี้คือ ยูโกสลาเวีย) พระนางมารีทรงปลื้มปิติมากที่พระนัดดาทั้งสองประสูติ ซึ่งก็คือ เจ้าชายไมเคิลแห่งโรมาเนีย (ประสูติ ค.ศ. 1921-2017) และเจ้าชายปีเตอร์แห่งยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1923 - 1970) การประสูติของพระนัดดาทั้งสองพระองค์ที่ถูกกำหนดชะตาให้ครองราชบัลลังก์ในยุโรปดูเหมือนจะประสานความทะเยอทะยานของพระนางได้ ความพยายามในราชวงศ์ของพระนางมารีได้ถูกมองจากนักวิจารณ์ว่าเป็นพระมารดาที่คอยชักจูงควบคุมซึ่งต้องเสียสละความสุขของพระโอรสธิดาของพระนางเองเพื่อตอบสนองความทะเยอทะยานของพระนาง แต่ในความเป็นจริง พระนางมารีไม่ทรงเคยบังคับพระโอรสธิดาอภิเษกสมรสเลย ค.ศ. 1924 พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และพระราชินีมารีทรงประกอบพระราชกรณียกิจเสด็จทางการทูตไปยังฝรั่งเศส, สวิตเซอร์แลนด์, เบลเยียมและสหราชอาณาจักร ในอังกฤษ พระนางทรงได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากพระเจ้าจอร์จที่ 5 ซึ่งทรงประกาศว่า "นอกเหนือจากการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ซึ่งเราได้ทำให้ลุล่วงแล้ว พวกเรายังมีความสัมพันธ์ที่รักใคร่กัน ฝ่าพระบาท สมเด็จพระราชินี ญาติที่รักของข้าพเจ้าเป็นชาวอังกฤษโดยกำเนิด" พระนางมารีทรงเขียนถึงวันที่เสด็จเยือนอังกฤษในทำนองเดียวกันว่า "เป็นวันที่ดีสำหรับฉัน มีทั้งอารมณ์หวาน, ความสุข และในเวลาเดียวกันก็รู้สึกรุ่งโรจน์ที่ได้กลับมายังประเทศของฉันในฐานะราชินี ที่ได้รับการต้อนรับอย่างเป็นทางการ เป็นเกียรติอย่างยิ่งและกระตือรือร้นในการแลกเปลี่ยน ที่รู้สึกว่าหัวใจคุณพองโตด้วยความภาคภูมิและความพึงพอใจที่รู้สึกถึงหัวใจเต้นและน้ำตาเริ่มไหลออกจากดวงตาของคุณ ในขณะที่บางสิ่งรวมตัวเป็นก้อนกลืนเข้าไปในลำคอของคุณ!" การเสด็จเยือนในระดับรัฐครั้งนี้ถือเป็นสัญลักษณ์ในการยอมรับศักดิ์ศรีของโรมาเนียที่ได้รับหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะเสด็จเยือนเจนีวา พระนางมารีและพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงเป็นพระราชวงศ์คู่แรกที่เสด็จไปยังสำนักงานใหญ่ของสันนิบาตชาติที่พึ่งก่อตั้งขึ้นพระราชพิธีราชาภิเษก พระราชพิธีราชาภิเษก. สถานที่ที่พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และพระนางมารีทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกคือที่อัลบาอูเลีย ที่ซึ่งเคยเป็นป้อมปราการสำคัญในยุคกลาง และเป็นที่ซึ่งเจ้าชายไมเคิล ผู้กล้าหาญได้สถาปนาพระองค์เองขึ้นเป็นวอยโวด (Voivode) แห่งทรานซิลเวเนียในปีค.ศ. 1599 จึงเป็นการรวมตัวกันของวัลลาเซียและทรานซิลเวเนียเป็นครั้งแรก มหาวิหารออร์ทอดอกซ์ได้ถูกสร้างขึ้นในชื่อ มหาวิหารราชาภิเษกในปีค.ศ. 1921 - 1922 เครื่องประดับอัญมณีที่สลับซับซ้อนและฉลองพระองค์ได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ในพระราชพิธีราชาภิเษกโดยเฉพาะ มงกุฎของสมเด็จพระราชินีมารีได้ถูกออกแบบโดยจิตรกรชื่อว่า คอสติน เปเทรสคู และถูกสร้างขึ้นมาในรูปแบบอาร์นูโวโดย "ฟาลีซ" ซึ่งเป็นร้านเครื่องเพชรในกรุงปารีส มงกุฎนี้ได้แรงบันดาลใจมาจาก พระนางมิลิกา เดสปินา พระชายาในองค์ประมุขแห่งวัลลาเซียในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นามว่า เนียกอเอ บาซารับ และทั้งหมดทำขึ้นจากทองคำทรานซิลวาเนีย มงกุฎมีจี้ประดับอยู่ทั้งสองข้าง ข้างหนึ่งเป็นภาพตราแผ่นดินโรมาเนีย อีกข้างหนึ่งเป็นตราอาร์มดยุกแห่งเอดินเบอระ ซึ่งเป็นตราอาร์มที่พระนางมารีทรงใช้ก่อนอภิเษกสมรส มงกุฎมีค่าใช้จ่ายประมาณ 65,000 ฟรังก์ ซึ่งจ่ายโดยรัฐผ่านกฎหมายพิเศษ ท่ามกลางเหล่าอาคันตุกะที่มาร่วมในพระราชพิธีราชาภิเษกของทั้งสองพระองค์มีทั้ง เจ้าหญิงเบียทริซ หรือ "เบบี้บี" พระขนิษฐาของพระนางมารี, ดยุกแห่งยอร์ก และนายพลฝรั่งเศส แม็กซิมี เวย์กองด์ กับ อองรี มัทธีอัส เบอร์เทโลต์ พระราชพิธีได้ดำเนินการโดยอัครบิดรแห่งโรมาเนียทั้งมวล มิรอน คริสที แต่ก็ไม่ได้ดำเนินการภายในมหาวิหารเนื่อจากพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงเป็นคาทอลิก และทรงปฏิเสธที่จะรับการสวมมงกุฎจากสมาชิกนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ หลังจากที่ทรงสวมมงกุฎลงบนพระเศียรของพระองค์เองแล้ว พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงสวมมงกุฎให้สมเด็จพระราชินีมารี ซึ่งทรงคุกเข้าอยู่ก่อนแล้ว ทันใดนั้นปืนใหญ่ได้ถูกจุดเป็นสัญญาณว่าพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีองค์แรกแห่งโรมาเนียอันยิ่งใหญ่ได้รับการเจิมตามพิธีศาสนาแล้ว งานเฉลิมฉลองได้ถูกจัดขึ้นในห้องเดียวกับที่สหภาพได้ถูกประกาศในปีค.ศ. 1918 ชาวนากว่า 20,000 คนได้ร่วมรับประทานเนื้อสเต็กย่างที่ถูกเตรียมไว้ ในวันถัดมา พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และพระนางมารีได้เสด็จเข้าบูคาเรสต์อย่างสมพระเกียรติ ความยิ่งใหญ่ของพระราชพิธีราชาภิเษกได้ถูกอ้างมาเป็นหลักฐานการแสดงตนของพระนางมารี พระนางมารีทรงรับเข้ารีตศาสนจักรออร์ทอดอกซ์โรมาเนียในปีค.ศ. 1926 เป็นการกล่าวถึงการที่ทรงปรารถนาที่จะใกล้ชิดกับพสกนิกรของพระนางเสด็จเยือนสหรัฐอเมริกา เสด็จเยือนสหรัฐอเมริกา. พิพิธภัณฑ์ศิลปะแมรีฮิลล์ในแมรีฮิลล์, วอชิงตันซึ่งแต่เดิมได้รับการออกแบบเพื่อนเป็นคฤหาสน์ของนักธุรกิจผู้มั่งคั่ง ซามูเอล ฮิลล์ แต่ด้วยคำขอของลออี ฟูลเลอร์ ทำให้อาคารนี้ถูกเปลี่ยนเป็นพิพิธภัณฑ์แทน ฮิลล์หวังว่ามันจะถูกอุทิศไปใช้สอยในปีค.ศ. 1926 และเขาคิดว่ามันเป็นอนุสรณ์แห่งความสงบสุขแด่ภรรยาของเขา แมรี และสมเด็จพระราชินีมารี พระนางมารีทรงเห็นด้วยที่จะเสด็จเยือนสหรัฐอเมริกาและเป็นสักขีพยานในการอุทิศอาคารนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ฟูลเลอร์เป็นพระสหายเก่าของพระนาง ฟูลเลอร์รีบประสานความร่วมมือกับคณะกรรมาธิการที่สนับสนุน "การเสด็จเยือน" อเมริกาของพระนางมารี และได้มีการเตรียมการเมื่อพระนางทรงออกเดินทาง พระนางมารีทรงมองการเดินทางครั้งนี้ว่าเป็นการ "เห็นประเทศ, พบปะประชาชนและวางโรมาเนียลงบนแผนที่" พระนางทรงเดินทางด้วยเรือข้ามมหาสมุทรแอตเลนติกและเสด็จถึงนิวยอร์กในวันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1926 โดยมีเจ้าชายนิโคลัสและเจ้าหญิงอีเลียนาโดยเสด็จด้วย เมื่อเสด็จถึง พระนางมารีทรงได้รับการต้อนรับอย่างกระตือรือร้นโดยชาวอเมริกัน ด้วย"เสียงหวูดของเรือกลไฟ, เสียงสนั่นของปืนที่พ่นควันขาวเหนือหมอกสีเทา, เสียงแซ่ซ้องตามฝนที่ตกลงมา" พระนางทรงได้รับการต้อนรับอย่างเป็นทางการจากจิมมี วอล์กเกอร์ นายกเทศมนตรีเมืองนิวยอร์ก คอนสแตนซ์ ลิลลี มอร์ริส ผู้เขียนหนังสือ On Tour with Queen Marie ได้เขียนว่า ผู้คนมีความตืนเต้นสำหรับการเสด็จถึงของพระนางมารีโดยส่วนใหญ่เพราะเสน่ห์ของพระนางเป็นสิ่งที่เกือบจะเป็นตำนาน ซึ่งได้ถูกสร้างขึ้นโดยเอกสารและคำเล่าลือตลอดพระชนม์ชีพของพระนาง เธอได้ตั้งข้อสังเกตว่า "สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมผู้มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ครั้งหนึ่งทรงเสด็จมาพร้อมกับพระสวามีของพระนางเพียงช่วงเวลาสั้นๆ และหลายปีที่ผ่านมาพระประมุขแห่งฮาวาย ผู้ผิวดำ ได้รับเกียรติจากเรา แต่ก็ไม่มีโอกาสอื่นอีก และเวลาก็ไม่ได้ถูกตั้งไว้ดีไปกว่านี้" พระนางมารีทรงเป็นที่นิยมในหมู่สตรีที่เรียกร้องสิทธิเลือกตั้ง ที่ซึ่งพระนางทรงถูกมองว่าเป็น"สตรีที่มีปัญญา ทรงวางแผนการรัฐประหารหลายต่อหลายครั้ง ที่ซึ่งสมองของพระนางได้คิดแก้ไขปัญหายากๆเพื่อพสกนิกรของพระนาง ผู้ซึ่งเคยเป็นของขวัญแก่พระนางเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ดีของพระนาง" ในช่วงที่เสด็จเยือนอเมริกา พระนางมารี, เจ้าชายนิโคลัสและเจ้าหญิงอีเลียนาได้เสด็จเยือนหลายเมืองรวมทั้ง ฟิลาเดลเฟีย ทุกพระองค์เป็นที่นิยมชมชอบมากและทรงได้รับการต้อนรับด้วยความกระตือรือร้นอย่างเท่าเทียมกันในแต่ละเมืองที่ได้เสด็จ ซึ่งมีมากเสียจน "[เจ้าชายนิโคลัสและเจ้าหญิงอีเลียนา]รู้สึกมีนงงอย่างพอสมควรโดยการปรบมืออย่างมากของพวกเขา" ก่อนที่จะเสด็จออกจากสหรัฐอเมริกาพระนางมารีทรงถูกเสนอให้ประทับรถกันกระสุนเข้าเมืองจากบริษัทวิลลีส์-ไนท์ ซึ่งพระนางทรงตอบรับอย่างเป็นสุข ในวันที่ 24 พฤศจิกายน พระนางมารีและพระโอรสธิดาได้รับการส่งเสด็จจากคณะผู้แทนจากวอชิงตัน ดี.ซี. เนื่องจากทรงเตรียมที่จะเสด็จออกจากอ่าวนิวยอร์กด้วยเรือ มอร์ริสได้เขียนว่า "จากมุมมองสุดท้ายของเราต่อฝ่าพระบาทและพระโอรสธิดาของพระนางทรงโบกพระหัตถ์กลับมาหาเราด้วยรอยยิ้มและน้ำตาจากการที่ทรงผ่านฉากแห่งความสุข" มอร์ริสได้เดินทางมาพร้อมกับสมเด็จพระราชินีตลอดการเดินทางของพระนางและได้บันทึกรายละเอียดช่วงเวลของพระนางมารีในอเมริกาลงในหนังสือของเธอ ซึ่งถูกตีพิมพ์ในปีค.ศ. 1927 พระนางมารีทรงรู้สึกยินดีกับการเสด็จเยือนครั้งนี้มากและทรงหวังว่าจะได้กลับมาอเมริกาโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ พระนางทรงบันทึกในพระอนุทินของพระนางว่า "ทั้งลูกๆและตัวฉันต่างมีความฝันเดียวกันคือ การกลับมา! การกลับไปยังโลกใหม่ที่น่าทึ่ง ซึ่งจะทำให้คุณเกือบจะเวียนหัว เพราะมันมหึมามาก, มันมีเสียงหนวกหู, มันมีการแข่งขัน, มันมีความก้าวหน้าอย่างใจร้อนที่จะทำอย่างมากขึ้นเสมอ,มันมักจะใหญ่โตขึ้น, เร็วขึ้น, มีความร้อนใจอย่างน่าอัศจรรย์ ที่ซึ่งฉันคิดว่าทุกสิ่งเป็นที่สามารถรับรู้...ฉันรู้ว่าตราบใดที่ฉันยังมีชีวิตอยู่, ยังหายใจและยังคงคิด ความรักสำหรับอเมริกาจะทำให้ชีวิตและความคิดของฉันสวยงาม...บางทีโชคชะตาอาจจะช่วยให้ฉันได้กลับไปยังอเมริกาสักวันหนึ่ง"ตกพุ่มหม้าย (ค.ศ. 1927 - 1938)ค.ศ. 1927 - 1930 ตกพุ่มหม้าย (ค.ศ. 1927 - 1938). ค.ศ. 1927 - 1930. เจ้าชายคาโรลทรงทำให้เกิดวิกฤตราชวงศ์โรมาเนียขึ้นโดยทรงประกาศสละสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระเจ้าเฟอร์ดินานด์อย่างเป็นทางการในวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1926 พร้อมกับทรงสละสิทธิในการเป็นผู้ปกครองของเจ้าชายไมเคิล ซึ่งได้รับการประกาศเป็นองค์รัชทายาทแทน พระราชบัญญัติผู้สำเร็จราชการแผ่นดินได้ผ่านสภา และได้จัดตั้งสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินซึ่งประกอบด้วย เจ้าชายนิโคลัส, อัครบิดรแห่งโรมาเนีย มิรอน คริสทีและจีออร์เก บุซดูกาน ประธานศาลยุติธรรมสูงสุด อย่างไรก็ตามทั้งพระนางมารีและพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ก็ไม่ทรงเต็มพระทัยที่เสด็จออกไปโดยปล่อยให้ประเทศอยู่ภายใต้พระหัตถ์ของพระนัดดา ซึ่งมีพระชนมายุเพียง 5 พรรษา แม้ว่าจะทรงได้รับการดูแลจากคณะผู้สำเร็จราชการ เนื่องจากทรงกลัวว่าดินแดนที่ได้รับในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจะถูกอ้างสิทธิโดยประเทศเพื่อนบ้านและความผันผวนทางการเมืองอาจจะนไปสู่ความไม่สงบได้ อย่างไรก็ตามเมื่อพระนางมารีเสด็จกลับมาจากอเมริกา พระชนม์ชีพของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ดูเหมือนใกล้จะดับสิ้นลง พระองค์ทรงประชวรอย่างทุกข์ทรมานด้วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และในเดือนเมษายน ค.ศ. 1927 ทรงใกล้จะสวรรคตโดยทรงรับพิธีกรรมสุดท้ายของคริสตจักรโรมันคาทอลิก พระองค์สวรรคตในวันที่ 20 กรกฎาคม ภายในอ้อมพระพาหาของพระนางมารี พระนางทรงเขียนในเวลาต่อมาว่า " 'ฉันเหนื่อยเหลือเกิน' นี่เป็นคำพูดสุดท้ายที่เขาพูดและเมื่อเขาเอนตัวลงนอนอย่างเงียบสงบภายในอ้อมแขนของฉัน หนึ่งชั่วโมงต่อมาฉันรู้ว่าอย่างน้อยฉันต้องขอบคุณพระเจ้าเพื่อเขา นี่เป็นการพักผ่อนอย่างสงบที่แท้จริง" เจ้าชายไมเคิลทรงสืบราชบัลลังก์ต่อโดยอัตโนมัติหลังจากการสวรรคตของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ และสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินได้เข้ามารับบทบาทของพระองค์ในฐานะพระมหากษัตริย์ ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1928 เจ้าชายคาโรลทรงพบว่าพระชนม์ชีพของพระองค์ในต่างประเทศกับแม็กดา ลูเปสคูเป็นที่ไม่น่าพอพระทัย ทรงพยายามหาหนทางเสด็จกลับมายังโรมาเนียด้วยความช่วยเหลือของไวส์เคานท์โรเทอร์แมร์ที่ 1 พระองค์ทรงถูกสั่งห้ามทำเช่นนั้นโดยผู้มีอำนาจในอังกฤษ ซึ่งได้ดำเนินการขับไล่พระองค์ออกจากอังกฤษ ด้วยความพิโรธอย่างมาก พระนางมารีทรงส่งคำขอโทษอย่างเป็นทางการแก่พระเจ้าจอร์จที่ 5 ในนามของพระโอรสของพระนาง ซึ่งพระโอรสได้เริ่มต้นวางแผนการก่อรัฐประหาร เจ้าชายคาโรลทรงประสบความสำเร็จในการหย่าขาดจากเจ้าหญิงเฮเลนในวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1928 ด้วยฐานจากการที่ไม่ทรงลงรอยกัน ความนิยมในพระนางมารีได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงในรัชสมัยของพระเจ้าไมเคิลและหลังจากที่ทรงปฏิเสธที่จะเป็นส่วนหนึ่งของสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในปีค.ศ. 1929 พระนางทรงถูกกล่าวหาโดยสื่อและแม้กระทั่งเจ้าหญิงเฮเลนว่าทรงวางแผนก่อรัฐประหาร ในช่วงนี้ มีข่าวลือเป็นจำนวนมากเกี่ยวกับการอภิเษกสมรสของเจ้าหญิงอีเลียนา หลังจากที่มีการพูดคุยถึงการที่จะให้เจ้าหญิงอีเลียนาอภิเษกสมรสกับพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรียหรือเจ้าชายแห่งอัสตูเรียส และในที่สุดเจ้าหญิงก็ทรงหมั้นกับอเล็กซานเดอร์ เคานท์แห่งโฮชเบิร์ก ราชนิกุลเยอรมันสายรองในต้นปีค.ศ. 1930 แต่การหมั้นครั้งนี้อายุสั้น พระนางมารีไม่ทรงสามารถจัดการอภิเษกสมรสทางการเมืองของพระธิดาองค์เล็กได้ ซึ่งเจ้าหญิงต้องทรงอภิเษกสมรสกับอาร์คดยุกแอนตันแห่งออสเตรีย-ทัสคานี จากอิตาลีแทนในปีค.ศ. 1931รัชสมัยพระเจ้าคาโรล รัชสมัยพระเจ้าคาโรล. ในวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1930 เจ้าชายคาโรลได้เสด็จถึงบูคาเรสต์และเสด็จไปยังรัฐสภา ที่ซึ่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ค.ศ. 1927 ได้ถูกประกาศว่าเป็นโมฆะ ดังนั้น เจ้าชายคาโรลจึงช่วงชิงราชบัลลังก์ของพระโอรส และทรงครองราชย์เป็น พระเจ้าคาโรลที่ 2 เมื่อทรงได้ทราบข่างการกลับมาของพระเจ้าคาโรล พระนางมารีผู้ทรงประทับอยู่ต่างประเทศก็ทรงโล่งพระทัย พระนางทรงมีความกังวลกับทิศทางที่ประเทศกำลังมุ่งไปมากและทรงมองการกลับมาของพระเจ้าคาโรลว่าเป็น การกลับมาของบุตรชายผู้ล้างผลาญ (Return of the Prodigal Son) แต่ทันทีที่พระนางเสด็จกลับบูคาเรสต์ พระนางก็ทรงเริ่มตระหนักว่าทุกสิ่งเป็นไปไม่ได้ด้วยดี พระเจ้าคาโรลทรงปฏิเสธคำแนะนำของพระนางมารีที่ให้รับเจ้าหญิงเฮเลนกลับมา และไม่ทรงเคยของคำปรึกษาพระนางมารีตลอดรัชสมัยของพระองค์เลย จึงทำให้รอยร้าวความสัมพันธ์ระหว่างพระมารดาและพระโอรสที่มีอยู่แล้วได้แตกหักโดยสมบูรณ์ ด้วยความอ้างว้างและพระนางเกือบจะละทิ้งความเชื่อของพระนาง พระนางมารีทรงหันไปสนพระทัยคำสอนของศาสนาบาไฮ ซึ่งพระนางทรงพบว่า "มีความน่าสนใจอย่างมาก" พระนางมารีทรงเป็นเชื้อพระวงศ์พระองค์แรกที่นับถือบาไฮ พระนางทรงเขียนในเวลาต่อมาว่า "ศาสนาบาไฮสอนให้นำมาซึ่งความสงบสุขและความเข้าใจ มันเหมือนกับอ้อมกอดกว้างที่รวมผู้คนซึ่งหาความหมายของความหวังมาเป็นเวลานานเข้าด้วยกัน มันยอมรับศาสดาทั้งหลายที่มีมาก่อนหน้านี้ มันไม่ทำลายลัทธิอื่นๆและปล่อยให้ประตูทุกบานเปิดออก โชคร้ายจากความขัดแย้งที่มีอย่างต่อเนื่องในหมู่ผู้ศรัทธาในคำสารภาพและความระอาในการถือทิฐิที่มีต่อกันและกัน ฉันได้ค้นพบคำสอนของบาไฮที่สอนถึงจิตวิญญาณที่แท้จริงของพระคริสต์ที่มักจะถูกปฏิเสธและเข้าใจผิด: ความสามัคคีแทนที่ความขัดแย้ง, ความหวังแทนที่การลงทัณฑ์, ความรักแทนที่ความเกลียดชัง และความไว้วางใจที่ยิ่งใหญ่สำหรับมวลมนุษย์ทุกคน" ในปีค.ศ. 1931 เจ้าชายนิโคลัสทรงหนีตามไปกับเอียนา โดเลทติ ผู้หญิงผู้เคยผ่านการหย่าร้างมาแล้ว พระนางมารีไม่ทรงเห็นด้วยกับการกระทำของพระโอรสและทรงรู้สึกเจ็บปวดจากการพยายามเข้าไปเกี่ยวในเรื่องของโดเลทติอย่างซ้ำๆทำให้เจ้าชายนิโคลัสทรงหลีกเลี่ยงที่จะติดต่อกับพระมารดา แม้ว่าพระนางจะทรงตำหนิผู้หญิงที่เข้ามาในชีวิตของพระโอรส ในขณะเดียวกันพระนางก็ทรงตำหนิตัวพระนางเองด้วยในการที่ทรงล้มเหลวจากการพยายามทำให้ทุกสิ่งถูกต้อง แต่พระนางก็ทรงดื้อดึงและปฏิเสธที่จะพบกับแม็กดา ลูเปสคู แม้ว่าพระเจ้าคาโรลจะทรงอ้อนวอนก็ตาม จนกระทั่งในปีสุดท้ายของพระชนม์ชีพ พระนางก็แทบจะไม่กล่าวถึงชื่อของลูเปสคูเลย ด้วยทั้งประเทศเกลียดชังพระสนมในพระเจ้าคาโรล มันเป็นช่วงก่อนที่ฝ่ายปฏิปักษ์ของพระมหากษัตริย์จะเกิดขึ้น ฝ่ายปฏิปักษ์นี้ที่โดดเด่นที่สุดคือมาจากกลุ่มไอออนการ์ด ซึ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนจากเบนิโต มุสโสลินีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ หลังจากที่พระเจ้าคาโรลทรงหันมาขอให้นายกรัฐมนตรีเอียน ดูคาช่วยเหลือ กลุ่มไอออนการ์ดได้ลอบสังหารดูคาในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1933 หลังจากการอสัญกรรมของดูคา ความนิยมในพระเจ้าคาโรลได้ลดลงและได้มีข่าวลือว่าจะมีความพยายามลอบปลงพระชนม์พระองค์ในพิธีสวนสนามอิสรภาพประจำปี เพื่อทรงหลีกเลี่ยงการนี้ พระองค์จึงให้พระนางมารีเสด็จแทนพระองค์ในพิธีสวนสนามนี้ และครั้งนี้จะเป็นการปรากฏพระองค์ต่อหน้าสาธารณชนครั้งสุดท้ายของพระนางมารี หลังจากพิธีสวนสนามผ่านไป พระเจ้าคาโรลทรงพยายามทำลายความนิยมในตัวพระมารดาท่ามกลางชาวโรมาเนียและทรงพยายามที่จะผลักดันให้พระนางเสด็จออกจากประเทศ แต่พระนางมารีไม่ทรงยอมทำตาม และทรงเสด็จไปประทับที่ชนบททั้งสองแห่งแทน สถานที่แรกคือปราสาทบราน ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เมืองบราซอฟในทรานซิลเวเนียใต้ ซึ่งเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นได้มอบให้พระนางเป็นของกำนัลไว้ตั้งแต่ปีค.ศ. 1920 และพระนางทรงบูรณะสถานที่ในอีกเจ็ดปีต่อมา อีกสถานที่หนึ่งคือบอลชิค ที่ซึ่งพระนางทรงสร้างพระราชวังบอลชิคและโบสถ์เล็กๆที่เรียกว่า Stella Maris และทรงตกแต่งสวนของพระนาง พระนางยังทรงเสด็จเยี่ยมเจ้าหญิงอีเลียนาและพระโอรสธิดาของเจ้าหญิงในออสเตรีย เจ้าหญิงอีเลียนาไม่ค่อยทรงได้รับอนุญาตจากพระเจ้าคาโรลให้เสด็จเยือนโรมาเนีย สิ่งนี้ทำให้พระนางมารีทรงขุ่นเคืองพระทัยมาก พระนางยังทรงเสด็จไปยังเบลเกรดโดยทรงใช้เวลากับพระธิดา "เจ้าหญิงมิกนอน" และพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ พระชามาดา ในปีค.ศ. 1934 พระนางมารีเสด็จเยือนอังกฤษอีกครั้ง ทรงพบกับดัชเชสแห่งยอร์ก ผู้ซึ่งทำให้พระนางทรงปลื้มปิติมากประชวรและสิ้นพระชนม์ ประชวรและสิ้นพระชนม์. ในช่วงฤดูร้อนปีค.ศ. 1937 พระนางมารีทรงพระประชวร แพทย์ประจำพระองค์คือ นายแพทย์คัสเตลานี ได้วินิจฉัยว่าพระนางทรงเป็นโรคมะเร็งตับอ่อนแม้ว่าการวินิจฉัยอย่างเป็นทางการจะระบุว่าทรงเป็นโรคตับแข็ง พระนางมารีไม่ใช่นักดื่มและเมื่อทรงได้ยินข่าว พระนางทรงรายงานว่า "มันต้องเป็นโรคตับแข็งที่ไม่มีแอลกอฮอล์แน่ๆ เพราะตลอดทั้งชีวิตของฉัน ฉันไม่เคยลิ้มรสแอลกอฮอล์เลยนะ" พระนางได้ถูกแนะนำให้งดเสวยพระกระยาหารที่เย็นจัด และรับการฉีดยาและบรรทมพักผ่อน ในช่วงนั้นพระนางมารีทรงมีพระวรกายที่อ่อนแอมาก จนพระนางไม่ทรงสามารถแม้แต่จับปากกาได้เลย ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1938 พระนางถูกส่งไปยังโรงพยาบาลในอิตาลี ด้วยหวังว่าพระวรกายจะได้รับการฟื้นฟู ที่นั่นเจ้าชายนิโคลัสและพระชายาของเจ้าชายได้เสด็จเยี่ยมพระนางมารี ซึ่งในที่สุดแล้วพระนางมารีทรงให้อภัยในการกระทำผิดของพระสุณิสา นอกจากนี้ เจ้าหญิงเฮเลน ผู้ซึ่งพระนางไม่ทรงเคยพบอีกเลยตลอดระยะเวลา 7 ปี ได้เสด็จมาเยี่ยมพระนาง รวมทั้งวัลดอร์ฟ อัสเตอร์ด้วย ในที่สุดพระนางมารีทรงถูกย้ายไปรักษาที่โรงพยาบาลในเดรสเดิน ด้วยพระอาการทรุดลงเรื่อยๆ พระนางมารีทรงขอเสด็จกลับโรมาเนียเพื่อที่จะได้สิ้นพระชนม์ที่นั่น พระเจ้าคาโรลปฏิเสธที่จะให้พระนางเสด็จโดยเครื่องบิน และพระนางทรงปฏิเสธบริการทางการแพทย์อากาศที่ฮิตเลอร์ได้ทูลเสนอให้ โดยทรงเลือกเสด็จกลับโรมาเนียโดยรถไฟแทน พระนางทรงเข้าประทับที่ปราสาทเปลิซอร์ พระนางมารีสิ้นพระชนม์ในวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938 เวลา 17.38 น. เป็นเวลาแปดนาทีหลังจากพระอาการอยู่ในช่วงโคม่า พระโอรสธิดาองค์โต คือ พระเจ้าคาโรลและเจ้าหญิงเอลิซาเบธ พร้อมกับเจ้าชายไมเคิล ทรงอยู่กับพระนางในช่วงวาระสุดท้าย สองวันถัดมา ในวันที่ 20 กรกฎาคม พระศพของพระนางมารีได้ถูกนำมาที่บูคาเรสต์ ซึ่งมาประกอบพิธีตั้งพระศพที่ห้องรับแขกสีขาวในพระราชวังโคโทรเซนี โลงพระศพของพระนางได้ล้อมรอบด้วยดอกไม้และเทียนแสงแวววาวและได้รับการรักษาโดยทหารจากกองทหารม้าฮุสซาร์ ผู้คนหลายพันคนเข้าแถวล้อมรอบพระศพของพระนางมารีในช่วงเวลาสามวันของพิธีตั้งพระศพ ในวันที่สาม พระราชวังได้เปิดให้กรรมกรโรงงานเข้ามาร่วมพิธี ขบวนพระศพของพระนางมารีได้ไปยังสถานีรถไฟโดยผ่านประตูชัยโรมาเนีย พระศพของพระนางได้ถูกนำไปยังมหาวิหารเคอร์เทียเดออาร์ก ที่ซึ่งทรงถูกฝังที่นั่น พระหทัยของพระนางมารีถูกวางลงในตลับสีทองประดับด้วยสัญลักษณ์ของมณฑลโรมาเนียและฝังอยู่ที่โบสถ์ Stella Maris ในบอลชิคตามพระราชประสงค์ของพระนาง ในปีค.ศ. 1940 หลังจากมณฑลโดบรูจาใต้ถูกผนวกเข้ากับบัลแกเรียในสนธิสัญญาคราเอียวาในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พระหทัยของพระนางได้ถูกย้ายมาที่ปราสาทบราน ที่ซึ่งเจ้าหญิงอีเลียนาทรงสร้างโบสถ์เพื่อเป็นที่บรรจุพระหทัยและถูกเก็บไว้ในกล่องสองกล่องที่ซ้อนกันอยู่ภายในโลงหินอ่อน พระนางมารีทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียพระองค์สุดท้าย โดยเจ้าหญิงเฮเลนทรงได้รับพระอิสริยยศ "สมเด็จพระราชชนนี" เท่านั้นในระหว่างปีค.ศ. 1940 ถึงค.ศ. 1947 พระนางทรงเป็นหนึ่งในห้าพระราชนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียที่ได้สวมมงกุฎและทรงเป็นหนึ่งในสามที่สามารถรักษาพระอิสริยยศในฐานะสมเด็จพระราชินีได้หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ด้วยกันกับสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีแห่งสเปนมรดก มรดก. ตามที่หนึ่งในนักเขียนพระราชประวัติของพระนางมารี คือ ไดอานา แมนดาเช ได้กล่าวว่า พระนางมารีทรงตีพิมพ์หนังสือและเรื่องสั้น 34 เล่ม ทั้งในภาษาโรมาเนียและภาษาอังกฤษ ตลอดพระชนม์ชีพของพระนาง นี้ได้รวมทั้งอัตชีวประวัติอันน่าสะเทือนใจของพระนางด้วย คือ The Story of My Life ที่ตีพิมพ์โดยคาสเซลในลอนดอน มีทั้งหมดสามเล่ม หนังสือได้รับการวิจารณ์โดยเวอร์จิเนีย วูล์ฟ ซึ่งเธอได้มองว่ามันทำให้รู้สึกคุ้นเคยกับราชวงศ์มากเกินไป เธอได้ระบุว่า "คิดว่าท่ามกลางหนังสือในฤดูใบไม้ร่วงแห่งปี 2034 คือเรื่อง Prometheus Unbound ของจอร์จที่ 6 หรือเรื่อง Wuthering Heights ของเอลิซาเบธที่ 2 อะไรที่จะส่งผลกระทบต่อความจงรักภักดี จักรวรรดิอังกฤษจะอยู่รอดหรือไม่ พระราชวังบักกิ้งแฮมยังคงแข็งแกร่งดังเช่นในตอนนี้หรือไม่ คำพูดเป็นสิ่งที่อันตรายให้เราจำไว้ สาธารณรัฐอาจจะถูกนำเข้ามาในบทกวี" พระนางมารีทรงเก็บรักษาพระอนุทินมาตั้งแต่เดือนธันวาคม ค.ศ. 1918 จนถึงเวลาสั้นๆก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ และเล่มแรกได้ถูกตีพิมพ์ในปีค.ศ. 1996 แม้กระทั่งก่อนการเสด็จขึ้นครองราชย์ในฐานะสมเด็จพระราชินี พระนางมารีทรงประสบความสำเร็จในการสร้างภาพลักษณ์ของพระนางในฐานะ "หนึ่งในเจ้าหญิงที่ดูดีที่สุดและร่ำรวยที่สุดในยุโรป" พระนางทรงเป็ยที่รู้จักอย่างมากในพระอัจฉริยภาพด้านการทรงม้า, การเขียน, ภาพเขียน, การแกะสลัก, การเต้นรำและพระสิริโฉมของพระนาง ความนิยมในตัวพระนางได้ถูกทำให้มัวหมองโดยการกล่าวหาของทั้งสองฝ่าย ฝ่ายแรกคือการดำเนินการของฝ่ายมหาอำนาจกลางในระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และอีกฝ่ายนำโดยทางการพรรคคอมมิวนิสต์หลังจากที่โรมาเนียได้เปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบสาธารณรัฐสังคมนิยมในปีค.ศ. 1947 โรมาเนียในช่วง 42 ปีภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์ พระนางมารีทรงกลายเป็นภาพสลับทั้งเป็น "ตัวแทนของระบอบทุนนิยมอังกฤษ" หรือผู้อุทิศเพื่อชาติที่เชื่อว่าชะตากรรมของพระนางถูกผูกติดไว้กับโรมาเนีย ในปีค.ศ. 1949 หนังสือ Adevărata istorie a unei monarhii ("The True History of a Monarchy") ที่เขียนโดยอเล็กซานดรู การ์เนียตา ได้บรรยายว่า พระนางมารีได้จัดงานเลี้ยงมั่วสุมดื่มสุราที่โคโทรเซนีและบอลชิค และยังอ้างว่าในความเป็นจริงโรคตับแข็งของพระนางมาจากการที่ทรงดื่มอย่างหนัก แม้กระทั่งได้มีการแสดงตัวอย่างว่า พระนางมารีผู้ทรงเมามายมักจะเสด็จด้วยเรือยอชท์ไปพร้อมกับพระสหายเพื่อนดื่มของพระนาง เรื่องราวอื้อฉาวของพระนางมารีได้ถูกยกขึ้นมาเป็นหลักฐานในเรื่องความสำส่อน ซึ่งเป็นสิ่งฝ่าฝืนค่านิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ ในปีค.ศ. 1968 ทางการพรรคคอมนิวนิสต์ได้บุกเข้าไปในโบสถ์ที่เก็บรักษาพระหทัยของพระนางมารี ได้เปิดโลงและนำกล่องพร้อมพระหทัยของพระนางไปไว้ที่ปราสาทบราน ในปีค.ศ. 1971 ได้ถูกย้ายไปเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์โรมาเนียในบูคาเรสต์ มันไม่ได้เปลี่ยนไปจนกระทั่งปลายสมัยของนิโคไล เชาเชสกู ปีสุดท้ายก่อนที่จะเกิดการปฏิวัติโรมาเนีย พระคุณความดีของพระนางมารีได้เป็นที่ยอมรับ ในโรมาเนีย พระนางมารีทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "Mama Răniților" (มารดาแห่งผู้เจ็บไข้) หรือทรงถูกเรียกง่ายๆว่า "Regina Maria" ในขณะที่ในประเทศอื่นๆทรงจดจำพระนางในฐานะ "ราชินีทหาร" (Soldier Queen) และ "Mamma Regina" พระนางยังทรงเป็นที่รู้จักในฐานะ "พระสัสสุแห่งบอลข่าน" เนื่องมาจากพระธิดาของพระนางทรงอภิเษกสมรสกับราชวงศ์ในคาบสมุทรบอลข่าน ในช่วงที่พระนางสิ้นพระชนม์ พระธิดาของพระนางมารีทรงปกครองสามในสี่ประเทศของคาบสมุทรบอลข่านยกเว้นแต่บัลแกเรีย แม้ว่าพระสันตติวงศ์ของพระนางจะไม่ได้ครองราชบัลลังก์ยุโรปอีกต่อไปแล้ว พระนางมารีทรงได้รับการถวายพระเกียรติในฐานะ "หนึ่งในบุคคลที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โรมาเนีย" โดยคอนสแตนติน อาร์เกโทเอียนู และในการระลึกถึงพระนาง ได้มีการจัดตั้งเครื่องราชอิสริยาภรณ์กางเขนแห่งสมเด็จพระราชินีมารีขึ้นในโรมาเนีย ก่อนจะถึงปีค.ศ. 2009 สิ่งของหลายชิ้นที่เป็นของพระนางมารีได้ถูกจัดแสดงที่ปราสาทบราน ซึ่งเป็นที่พำนักของพระนางในช่วงบั้นปลายพระชนม์ชีพ และได้กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ ในปีนั้น เมื่อปราสาทได้รับการบูรณะอย่างเป็นทางการโดยทายาทของเจ้าหญิงอีเลียนา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้ย้ายสิ่งของสะสมของพระนางมารีไปไว้ที่อาคารใกล้ๆคือ Vama Medievală ซึ่งยังคงเปิดให้นักท้องเที่ยวเข้าเยี่ยมชม พิพิธภัณฑ์ศิลปะแมรี่ฮิลล์ได้มีการจัดนิทรรศการถาวรภายใต้ชื่อ "มารี สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย" (Marie, Queen of Romania) ที่นี่ได้จัดแสดงทั้งฉลองพระองค์ชุดคลุมในพระราชพิธีราชาภิเษกของพระนาง, มงกุฎจำลอง, เครื่องเงิน, เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเพชร รวมทั้งสิ่งของอื่นๆพระโอรสธิดาพระอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และตราอาร์มพระอิสริยยศพระอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และตราอาร์ม. พระอิสริยยศ. - 29 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 10 มกราคม ค.ศ. 1893 : เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินบะระ,เจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์,เจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา,ดัชเชสแห่งแซกโซนี - 10 มกราคม ค.ศ. 1893 - 10 ตุลาคม ค.ศ. 1914: มกุฎราชกุมารีแห่งโรมาเนีย - 10 ตุลาคม ค.ศ. 1914 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1927: สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1927 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938: สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียตราอาร์มอังกฤษ ตราอาร์มอังกฤษ. ในฐานะที่เป็นพระนัดดาขององค์ประมุขอังกฤษที่สืบเชื้อสายมาจากบุรุษ ทำให้พระนางมารีทรงได้รับตราอาร์มแห่งราชอาณาจักร พร้อมโล่ในสำหรับแซกโซนี ที่แตกต่างกันด้วยฉลากเงินห้าจุด คู่ด้านนอกยึดติดด้วยสีฟ้า สีแดงกุหลาบภายในและตรงกลางเป็นกางเขนสีแดง ในปีค.ศ. 1917 โล่ในได้ถูกยกเลิกโดยพระบรมราชานุญาตในพระเจ้าจอร์จที่ 5เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. พระนางมารีทรงได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดังนี้- โรมาเนีย : เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎ ชั้น Grand Cross - ฝรั่งเศส : เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ - ฝรั่งเศส : เครื่องอิสริยาภรณ์เมดายล์มิลิแตร์ - : เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎแห่งอิตาลี - บริติชราช : เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดาราแห่งอินเดีย - สหราชอาณาจักร : เครื่องราชอิสริยาภรณ์กาชาด - สหราชอาณาจักร : เครื่องราชอิสริยาภรณ์วิกตอเรียแอนด์อัลเบิร์ต - สหราชอาณาจักร : เครื่องราชอิสริยาภรณ์เซนต์จอร์จ - สเปน : เครื่องราชอิสริยาภรณ์สมเด็จพระราชินีมาเรีย ลุยซาพระราชตระกูล
สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียพระองค์สุดท้ายคือใคร
3532
{ "answer_end": [ 269 ], "answer_start": [ 232 ], "text": [ "พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย" ] }
239459
สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ (มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย, 27 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียพระองค์สุดท้าย โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย ทรงประสูติในฐานะพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์ทรงได้รับพระอิสริยยศ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระเมื่อครั้งประสูติ พระบิดาและพระมารดาของพระองค์คือ เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งเอดินเบอระและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย ในวัยเยาว์ เจ้าหญิงมารีทรงใช้พระชนมชีพในเคนต์, มอลตาและโคบูร์ก หลังจากการปฏิเสธข้อเสนอที่จะอภิเษกสมรสกับพระญาติของพระองค์เองคือ พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรในอนาคต พระองค์ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระชายาในมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์แห่งโรมาเนีย องค์รัชทายาทของพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย ในปี ค.ศ. 1892 เจ้าหญิงมารีทรงดำรงเป็นมกุฎราชกุมารีอยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1893 ถึง ค.ศ. 1914 ซึ่งทรงดำรงในพระอิสริยยศนี้ยาวนานที่สุดในบรรดาผู้ครองพระอิสริยยศนี้ และทรงกลายเป็นที่นิยมชมชอบในหมู่ประชาชนชาวโรมาเนียในทันที เจ้าหญิงมารีทรงควบคุมพระสวามีผู้ทรงอ่อนแอและเอาแต่ใจก่อนที่จะทรงขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1914 เป็นแรงกระตุ้นให้นักหนังสือพิมพ์ชาวแคนาดาได้ให้ความเห็นว่า "มีพระมเหสีเพียงไม่กี่พระองค์เท่านั้นที่จะทรงมีอิทธิพลยิ่งใหญ่กว่าสมเด็จพระราชินีมารีในช่วงรัชสมัยพระสวามีของพระองค์" หลังจากการเกิดขึ้นของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมเด็จพระราชินีมารีทรงผลักดันให้พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ดำเนินการเป็นพันธมิตรกับไตรภาคีและประกาศสงครามกับเยอรมนี ซึ่งที่สุดก็ทรงดำเนินการในปี ค.ศ. 1916 ในช่วงแรกของสงคราม บูคาเรสต์ได้ถูกยึดครองโดยฝ่ายมหาอำนาจกลางและสมเด็จพระราชินีมารี พระเจ้าเฟอร์ดินานด์พร้อมพระโอรสธิดาทั้ง 5 พระองค์ทรงลี้ภัยไปยังมอลดาเวีย ซึ่งที่นั่นสมเด็จพระราชินีมารีและพระธิดาทั้งสามพระองค์ทรงประกอบพระกรณียกิจในฐานะพยาบาลในโรงพยาบาลทหาร ทรงดูแลทหารที่บาดเจ็บหรือเป็นอหิวาตกโรค ในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1918 แคว้นทรานซิลเวเนีย ตามมาด้วยเบสซาราเบียและบูโกวินา ได้รวมตัวกันจัดตั้ง ราชอาณาจักรโรมาเนียเก่า พระนางมารีในขณะนี้ทรงดำรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเกรตเทอร์โรมาเนีย พระองค์ทรงเข้าร่วมการประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919 ซึ่งพระองค์ทรงทำให้นานาชาติยอมรับในอาณาเขตที่กว้างใหญ่ของโรมาเนีย ในปี ค.ศ. 1922 สมเด็จพระราชินีมารีและพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกในมหาวิหารที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษที่เมืองโบราณซึ่งก็คือ อัลบาอูเลีย เป็นพระราชพิธีที่ซับซ้อนซึ่งสะท้อนสถานะของทั้งสองพระองค์ในฐานะพระมหากษัตริย์ของรัฐทั้งมวล ขณะเป็นสมเด็จพระราชินี พระองค์ทรงได้รับความนิยมอย่างมาก จากทั้งในโรมาเนียและต่างประเทศ ในปี ค.ศ. 1926 สมเด็จพระราชินีมารีและพระโอรสธิดาอีก 2 พระองค์ได้เสด็จเยือนสหรัฐอเมริกาในทางการทูต ทั้งสามพระองค์ได้รับการต้อนรับจากประชาชนอย่างกระตือรือร้นและทรงเสด็จเยือนหลายเมืองก่อนจะกลับโรมาเนีย เมื่อเสด็จกลับ สมเด็จพระราชินีมารีทรงพบว่าพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคตในไม่กี่เดือนต่อมา ในช่วงนี้สมเด็จพระพันปีหลวงมารีทรงปฏิเสธที่จะเป็นส่วนหนึ่งในสภาผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ที่จะต้องปกครองประเทศแทนพระนัดดาที่ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ ซึ่งก็คือ พระเจ้าไมเคิลแห่งโรมาเนีย ในปี ค.ศ. 1930 พระโอรสองค์โตของพระนางมารีคือ เจ้าชายคาโรลแห่งโรมาเนีย ซึ่งทรงถูกเว้นสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ ได้ถอดถอนพระโอรสและช่วงชิงราชบัลลังก์ ขึ้นครองราชย์ในฐานะ พระเจ้าคาโรลที่ 2 พระองค์ทรงถอดถอนพระนางมารีออกจากบทบาททางการเมืองและทรงพยายามทำลายความนิยมในตัวพระมารดา เป็นผลให้พระนางมารีต้องเสด็จออกจากบูคาเรสต์และทรงใช้พระชนมชีพที่เหลือในชนบท หรือไม่ก็พระตำหนักของพระองค์ที่ทะเลดำ ในปี ค.ศ. 1937 พระองค์ทรงพระประชวรด้วยโรคตับแข็งและสิ้นพระชนม์ในปีถัดมา จากการเปลี่ยนแปลงโรมาเนียไปสู่สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย สถาบันพระมหากษัตริย์ได้ถูกประณามอย่างรุนแรงโดยทางการพรรคคอมมิวนิสต์ มีหลายบันทึกชีวประวัติเกี่ยวกับพระราชวงศ์ที่ได้บรรยายว่า พระนางมารีทรงเป็นคนติดสุราและมีพฤติกรรมสำส่อนทางเพศ โดยมาจากเรื่องอื้อฉาวจำนวนมากและพฤติกรรมที่ปล่อยเนื้อปล่อยตัวทั้งก่อนและในระหว่างสงคราม ในช่วงปีที่นำไปสู่การปฏิวัติโรมาเนียในปี ค.ศ. 1989 ความนิยมในพระนางมารีได้รับการฟื้นฟูและพระองค์ทรงได้รับการเสนอภาพในฐานะผู้รักชาติจากประชาชน แรกเริ่มสิ่งที่จดจำได้เกี่ยวกับพระนางมารีคือการอุทิศพระองค์ในฐานะพยาบาล แต่ก็ทรงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในการที่ทรงพระนิพนธ์งานเขียน รวมถึงพระนิพนธ์อัตชีวประวัติที่น่าสะเทือนใจของพระองค์เองช่วงต้นพระชนมชีพ (ค.ศ. 1875 - 1893)ประสูติ ช่วงต้นพระชนมชีพ (ค.ศ. 1875 - 1893). ประสูติ. เจ้าหญิงมารีประสูติที่พระตำหนักของพระราชบิดาและพระราชมารดาที่อีสต์เวลปาร์ก มณฑลเคนต์ ในวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1875 เวลา 10.30 น. ต่อหน้าพระราชบิดา การประสูติของพระองค์ได้มีการเฉลิมฉลองด้วยการยิงสลุต พระองค์เป็นพระราชธิดาองค์โตและเป็นพระราชบุตรองค์ที่สองในเจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งเอดินเบอระและเจ้าหญิงมาเรีย อเล็กซานดรอฟนา ดัชเชสแห่งเอดินเบอระ (เดิมคือ แกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย) เจ้าหญิงทรงได้รับการตั้งพระนามว่า มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย ตามพระนามของพระราชมารดาและพระอัยยิกา แต่เจ้าหญิงมีพระนามอย่างไม่เป็นทางการว่า "มิสซี่" (Missy) ดยุกแห่งเอดินเบอระทรงบันทึกไว้ว่าพระธิดาของพระองค์ "สัญญาว่าจะเป็นเด็กดีเหมือนพี่ชายของเธอและจะแสดงให้เห็นถึงปอดที่มีสุขภาพที่ดี และจะทำเช่นนั้นก่อนที่เธอจะได้รับความเป็นธรรมในโลก" ในฐานะที่เป็นพระราชนัดดาในพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์อยู่ในสายสันตติวงศ์ฝ่ายชาย เจ้าหญิงมารีมีพระนามอย่างเป็นทางการว่า "เฮอร์รอยัลไฮเนส เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ" ตั้งแต่ประสูติ พิธีตั้งพระนามของเจ้าหญิงมารีได้จัดขึ้นในโบสถ์ส่วนพระองค์ที่พระราชวังวินด์เซอร์ในวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1875 และกระทำอย่างเป็นทางการโดยอาเทอร์ สแตนลีย์และเจอรัลด์ เวลสลีย์ เจ้าคณะแห่งวินด์เซอร์ พิธีล้างบาปจัดแบบ "ส่วนพระองค์และเคร่งครัด" เนื่องจากเป็นเวลาหนึ่งวันหลังจากพิธีครบรอบการสิ้นพระชนม์ของพระสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียซึ่งก็คือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระบิดาและพระมารดาอุปถัมภ์ของเจ้าหญิงมารีได้แก่ จักรพรรดินีมารีเยีย อะเลคซันโดรฟนาแห่งรัสเซีย (พระอัยยิกาฝ่ายพระมารดา ซึ่งสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงเป็นตัวแทน), เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงแห่งเวลส์ (พระปิตุจฉา), เจ้าหญิงอเล็กซานดรีนแห่งบาเดิน ดัชเชสแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (พระปัยยิกา ซึ่งเจ้าหญิงเฮเลนาแห่งสหราชอาณาจักรทรงเป็นตัวแทน), ซาเรวิชแห่งรัสเซีย (พระมาตุลา ซึ่งปีเตอร์ อันเดรเยวิช ชูวาลอฟเป็นตัวแทน) และดยุกแห่งคอนน็อตและสตราเธิร์น (พระปิตุลา ซึ่งเจ้าชายลีโอโพลด์ ดยุกแห่งออลบานีทรงเป็นตัวแทน)การศึกษาอบรม การศึกษาอบรม. เจ้าหญิงมารีพร้อมพระเชษฐาและพระขนิษฐาของพระองค์ ได้แก่ เจ้าชายอัลเฟรด (ประสูติ ค.ศ. 1874), เจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตา (ประสูติ ค.ศ. 1876 ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "ดั๊กกี้"), เจ้าหญิงอเล็กซานดรา (ประสูติ ค.ศ. 1878 ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "ซานดรา") และเจ้าหญิงเบียทริซ (ประสูติ ค.ศ. 1884 ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "เบบี้บี") ทรงใช้พระชนมชีพในช่วงต้นส่วนใหญ่ที่อีสต์เวลปาร์ก ที่ซึ่งพระราชมารดาทรงโปรดมากกว่าพระตำหนักแคลเรนซ์ สถานที่ประทับ ในบันทึกความทรงจำของพระองค์ เจ้าหญิงมารีทรงจดจำช่วงเวลาที่อีสต์เวลด้วยความรัก ดยุกแห่งเอดินเบอระไม่ได้ทรงใช้พระชนมชีพส่วนใหญ่กับพระโอรสธิดาเนื่องจากทรงต้องปฏิบัติพระกรณียกิจในราชนาวี และพระชนมชีพของพระโอรสธิดาส่วนใหญ่จึงอยู่ภายใต้การปกครองของพระราชมารดา เจ้าหญิงมารีทรงระบุหลังจากนั้นว่าพระองค์ไม่ทรงทราบถึงสีพระเกศาของพระราชบิดาจนกระทั่งหลังจากนั้นทรงทอดพระเนตรไปยังพระสาทิสลักษณ์ และทรงเชื่อว่าสีพระเกศาพระราชบิดาคงจะเข้มกว่าที่เป็นจริง เมื่อพระราชบิดาทรงประทับที่พระตำหนัก ดยุกมักจะทรงเล่นกับพระโอรสธิดา พระองค์มักจะประดิษฐ์เกมจำนวนมากเพื่อมาใช้เล่นกับพระโอรสธิดา ท่ามกลางพระเชษฐาและพระขนิษฐา เจ้าหญิงมารีทรงสนิทกับเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตา พระขนิษฐา ซึ่งมีพระชนมายุอ่อนกว่าพระองค์หนึ่งปี แต่หลายคนเชื่อว่าเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตามีพระชนมายุมากกว่าเนื่องจากความสูงของพระองค์ ได้สร้างความผิดหวังให้เจ้าหญิงอย่างมาก พระโอรสธิดาจากบ้านเอดินเบอระทุกพระองค์ได้เข้าพิธีล้างบาปและอบรมภายใต้นิกายแองกลิคัน สิ่งนี้สร้างความไม่พอใจแก่พระราชมารดาซึ่งทรงเป็นออร์โธดอกซ์รัสเซียอย่างมาก ดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงเป็นผู้สนับสนุนแนวคิดการแยกกันระหว่างรุ่นและเจ้าหญิงมารีทรงเสียพระทัยอย่างลึกๆว่าพระราชมารดาของพระองค์ไม่ทรงเคยอนุญาตให้พระองค์สนทนากับบุคคล "ให้ราวกับว่า [พวกเขา] ก็เท่าเทียมกัน" เลย ถึงกระนั้น ดัชเชสทรงเป็นบุคคลที่มีพระทัยกว้าง, มีวัฒนธรรม และเป็น"บุคคลที่สำคัญที่สุด"ในพระชนม์ชีพวัยเยาว์ของพระโอรสธิดาทุกพระองค์ ตามคำสั่งของพระราชมารดา เจ้าหญิงมารีและพระขนิษฐาต้องได้รับการศึกษาในภาษาฝรั่งเศส ที่เจ้าหญิงและพระขนิษฐาทรงรังเกียจและไม่ค่อยได้ตรัส แต่โดยรวม ดัชเชสทรงละเลยการศึกษาของพระธิดา โดยทรงพิจารณาว่าพระธิดาของพระองค์เองนั้นไม่ฉลาดหรือมีพรสวรรค์เท่าไร ทุกพระองค์ได้รับอนุญาตให้อ่านออกเสียงได้แต่ต้องเป็นเรื่องเกี่ยวกับการวาดภาพและการลงสีภาพ ในพื้นที่ที่ทรงได้รับมรดกทางความสามารถจากสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระธิดาทรงได้รับเพียงแค่ "การเรียนการสอนการเดินเท้า" ดยุกและดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงเสด็จออกรับสมาชิกราชวงศ์บ่อยๆที่อีสต์เวลปาร์ก โดยทรงเชิญร่วมเสวยพระกระยาหารเช้าเกือบทุกวัน และในปีค.ศ. 1885 เจ้าหญิงมารีและเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาทรงได้เป็นเพื่อนเจ้าสาวในพิธีอภิเษกสมรสของพระปิตุจฉาคือ เจ้าหญิงเบียทริซกับเจ้าชายเฮนรีแห่งแบ็ตเต็นเบิร์ก ในบรรดาพระสหายของเจ้าหญิงมารีนั้นทรงเป็นพระญาติทางฝ่ายพระมารดา ได้แก่ แกรนด์ดยุกนิโคลัส (ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "นิกกี้" ), แกรนด์ดยุกจอร์จ (ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "จอร์จี้" ), แกรนด์ดัชเชสเซเนีย และพระญาติอีกสองพระองค์ได้แก่ แกรนด์ดยุกไมเคิล (ทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "มิชา" ) และแกรนด์ดัชเชสโอลกา ซึ่งมีพระชนมายุอ่อนกว่าพระธิดาบ้านเอดินเบอระมาก พระสหายอื่นๆอีกก็ได้แก่พระโอรสธิดาในพระมาตุลา คือ แกรนด์ดยุกวลาดิมีร์ อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซีย ในปีค.ศ. 1886 เมื่อเจ้าหญิงมารีทรงมีพระชนมายุ 11 พรรษา ดยุกแห่งเอดินเบอระทรงได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญการสูงสุดของกองทัพเรือเมดิเตอร์เรเนียน และทั้งครอบครัวต้องย้ายไปประทับที่พระราชวังซานอันโตนิโอในมอลตา เจ้าหญิงมารีทรงจดจำช่วงเวลาในมอลตาว่า "เป็นช่วงเวลาที่มีความสุขที่สุดในชีวิตของฉัน" ที่มอลตา เจ้าหญิงมารีทรงพบกับความรักครั้งแรกกับเมาริซ บอร์ก กัปตันเรือของดยุก ซึ่งเจ้าหญิงมารีทรงเรียกเขาว่า "กัปตันที่รัก" เจ้าหญิงมารีทรงรู้สึกหึงหวงเมื่อบอร์กให้ความสนใจในพระขนิษฐามากกว่าพระองค์ ดยุกและดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงรักการประทับในมอลตาอย่างมากและพระราชวังซานอันโตนิโอก็จะเต็มไปด้วยแขกผู้มาเยือนเสมอ เจ้าหญิงมารีและเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาทรงได้รับม้าขาวจากพระราชมารดาและจะทรงไปลงแข่งขันในท้องถิ่นเป็นประจำทุกวันยกเว้นวันเสาร์ ในระหว่างช่วงปีแรกที่มอลตา พระพี่เลี้ยงชาวฝรั่งเศสจะเป็นผู้ดูแลการศึกษาแก่เหล่าเจ้าหญิงแต่เมื่อเธอมีสุขภาพไม่ดี ในปีต่อมาเธอจึงถูกแทนที่ด้วยสตรีชาวเยอรมันที่อ่อนวัยกว่า ที่ซานอันโตนิโอ ดยุกและดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงดูแลห้องประทับสำหรับเจ้าชายจอร์จแห่งเวลส์ พระราชโอรสองค์ที่สองในเจ้าชายแห่งเวลส์ ซึ่งทรงปฏิบัติพระกรณียกิจในราชนาวี เจ้าชายจอร์จทรงเรียกพระภคินีจากเอดินเบอระทั้งสามที่สูงวัยกว่าว่า "ผู้น่ารักที่สุดทั้งสาม" แต่ทรงโปรดเจ้าหญิงมารีมากที่สุด ในขณะที่ดยุกแห่งเอดินเบอระทรงกลายเป็นรัชทายาทโดยสมมติของเออร์เนสต์ที่ 2 ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระปิตุลาผู้ทรงไร้บุตร เมื่อเจ้าชายแห่งเวลส์ทรงสละสิทธิ์ในดัชชีนี้ ดังนั้นครอบครัวจึงย้ายไปที่โคบูร์กในปีค.ศ. 1889 เจ้าหญิงมารีทรงมีมุมมองในช่วงเวลานี้ว่า "เป็นจุดจบของชีวิตที่เคยได้รับความสุขและสนุกโดยไม่มีใครควบคุมอย่างแท้จริง ชีวิตที่เคยปราศจากความผิดหวังหรือความหลงผิดและไม่มีความบาดหมางใดๆ" องค์ดัชเชสทรงเป็นผู้นิยมเยอรมัน พระองค์ทรงจ้างพระพี่เลี้ยงชาวเยอรมันมาอภิบาลพระธิดา โดยทรงซื้อเสื้อผ้าธรรมดาแก่พระธิดาและแม้กระทั่งให้พระธิดาทรงยอมรับในความเชื่อนิกายลูเทอแรน ครอบครัวทรงใช้เวลาในช่วงฤดูร้อนที่ปราสาทโรสเนา ดยุกเออร์เนสต์ทรงบรรยายถึงเจ้าหญิงมารีว่าเป็น "เด็กที่แปลกประหลาด" ราชสำนักขององค์ดยุกเป็นราชสำนักที่เข้มงวดน้อยกว่าราชสำนักอื่นๆในเยอรมัน ในโคบูร์ก การศึกษาของเจ้าหญิงได้มีการขยับขยายมากยิ่งขึ้น โดยมีการให้ความสำคัญกับการวาดภาพและดนตรี ซึ่งทรงได้รับการอบรมจากแอนนา เมสซิงและนางเฮลเฟอริช ตามลำดับ ในวันพฤหัสบดีและวันอาทิตย์ เจ้าหญิงมารีและพระขนิษฐาจะเสด็จไปยังโรงละครโคบูร์กซึ่งเป็นสถานที่ที่ทุกพระองค์ทรงสนุกอย่างมาก กิจกรรมอื่นๆที่เหล่าพระธิดาทรงโปรดที่โคบูร์กคือการเข้าร่วมงานเลี้ยงฤดูหนาวที่พระราชมารดาทรงจัดขึ้น ที่ซึ่งทุกพระองค์ทรงเล่นสเก็ตน้ำแข็งและเกมกีฬาต่างๆอย่างเช่น ฮอกกี้น้ำแข็งอภิเษกสมรส อภิเษกสมรส. เจ้าหญิงมารีทรงเจริญพระชันษามาเป็น "หญิงสาวที่น่ารัก" ด้วย"ดวงพระเนตรสีฟ้าเป็นประกายและพระเกศาสีอ่อนเนียน" เจ้าหญิงทรงถูกหมายโดยเหล่าราชนิกูลที่ยังโสดทั้งหลาย รวมทั้ง เจ้าชายจอร์จแห่งเวลส์ ผู้ซึ่งในปีค.ศ. 1892 ทรงกลายเป็นผู้มีสิทธิ์สืบราชบัลลังก์ลำดับที่สอง สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายแห่งเวลส์และดยุกแห่งเอดินเบอระทรงอนุมัติแผนการนี้ แต่เจ้าหญิงแห่งเวลส์และดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงปฏิเสธแผนการนี้ เจ้าหญิงแห่งเวลส์ไม่ทรงโปรดราชตระกูลที่นิยมเยอรมันและดัชเชสแห่งเอดินเบอระไม่ประสงค์ให้พระธิดาอยู่ในอังกฤษที่ทรงไม่พอพระทัย ดัชเชสทรงไม่พอใจในความเป็นจริงที่ว่า เจ้าหญิงแห่งเวลส์ ซึ่งพระราชบิดานั้นเดิมทรงเป็นเพียงเจ้าชายเยอรมันชั้นรองก่อนที่จะทรงได้รับราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์ก ซึ่งทำให้พระองค์ทรงมีลำดับยศสูงกว่าดัชเชสตามลำดับความสำคัญ ดัชเชสแห่งเอดินเบอระยังทรงต่อต้านแนวคิดการแต่งงานกันในระหว่างเครือญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งผิดธรรมเนียมในศาสนจักรออร์ทอด็อกซ์รัสเซียของพระองค์แต่เดิม ดังนั้นเมื่อเจ้าชายจอร์จทรงสู่ขอเจ้าหญิง เจ้าหญิงมารีทรงรีบบอกพระองค์ว่าการอภิเษกสมรสนั้นเป็นไปไม่ได้และทรงบอกว่าพระองค์ยังคงเป็น "เพื่อนสนิทที่รัก" ของเจ้าหญิงเสมอ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงให้ความเห็นหลังจากนั้นว่า "จอร์จีสูญเสียมิสซีไปจากการรอและรอ" ในช่วงนี้ พระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย ทรงกำลังมองหาพระชายาที่เหมาะสมสำหรับมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ เพื่อรักษาความต่อเนื่องในการสืบราชสันตติวงศ์และเพื่อให้มั่นพระทัยในความต่อเนื่องของราชวงศ์โฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน จากแรงกระตุ้นโดยการคาดหวังที่จะขจัดความตึงเครียดระหว่างรัสเซียและโรมาเนียในการควบคุมเหนือดินแดนเบสซาราเบีย ดัชเชสแห่งเอดินเบอระทรงแนะนำให้เจ้าหญิงมารีทรงพบกับมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ เจ้าหญิงมารีและมุกฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงพบกันครั้งแรกและคุ้นเคยกันในงานเลี้ยงพระกระยาหารค่ำและทั้งคู่ทรงสนทนาเป็นภาษาเยอรมัน เจ้าหญิงทรงพบว่ามกุฎราชกุมารทรงเป็นคนขี้อายแต่น่ารัก และการพบกันครั้งที่สองก็เป็นไปได้ด้วยดี เมื่อทั้งสองพระองค์ทรงหมั้นอย่างเป็นทางการ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงเขียนถึงเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์ว่า "[เฟอร์ดินานด์]เป็นคนที่ดีและพ่อแม่ของเขาก็มีเสน่ห์ แต่ประเทศนั้นไม่ปลอดภัยอย่างมากและสังคมในบูคาเรสต์เป็นสังคมที่ผิดศีลธรรมอย่างเลวร้ายมาก ดังนั้นงานอภิเษกครั้งนี้จะต้องทำให้ล่าช้าเพราะว่า มิสซียังมีอายุไม่ถึง 17 ปีเลยจนกว่าจะถึงสิ้นเดือนตุลาคม!" จักรพรรดินีวิกตอเรียแห่งเยอรมัน พระปิตุจฉาของเจ้าหญิงมารี ทรงเขียนถึงมกุฎราชกุมารีโซเฟียแห่งกรีซ พระราชธิดา ว่า "ตอนนี้มิสซีมีความยินดีมาก แต่น่าเศร้าที่เธอยังเด็กนัก แล้วเธอจะสามารถคาดเดาสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างไร?" ในช่วงปลายปีค.ศ. 1892 พระเจ้าคาโรลเสด็จเยือนลอนดอนโดยจะทรงเข้าพบดนุกแห่งเอดินเบอระและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ซึ่งในที่สุดก็จะทรงเห็นด้วยกับการอภิเษกสมรส และทรงพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์แก่พระเจ้าคาโรล ในวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1893 เจ้าหญิงมารีและมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงประกอบพระราชพิธีอภิเษกสมรสที่ปราสาทซิกมาริงเงินในสามพิธี ได้แก่ พิธีระดับรัฐ, พิธีคาทอลิก (ศาสนาของมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์) และพิธีแองกลิคัน (ศาสนาของเจ้าหญิงมารี) พิธีระดับรัฐได้ถูกดำเนินการที่ห้องโถงแดงของปราสาทโดยคาร์ล ฟอน เวนเดล องค์จักรพรรดิเยอรมันได้เสด็จมาเป็นพยานองค์แรกในสัญลักษณ์ของพิธีอภิเษกสมรส ในเวลา 4 นาฬิกา พิธีคาทอลิกได้ถูกจัดที่โบสถ์เมือง โดยพระราชบิดาทรงพาเจ้าหญิงมารีมาที่แท่นบูชา พิธีแองกลิคันมีความเรียบง่ายและได้ดำเนินการในห้องหนึ่งของปราสาท แม้ว่าพระเจ้าคาโรลทรงอนุญาตให้ทั้งคู่เสด็จไป "โฮนิกทัก" (Honigtag; หนึ่งวันสำหรับการฮันนีมูน) เจ้าหญิงมารีและมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงใช้เวลาไม่กี่วันที่ปราสาทในเคราเชนวีส์ที่บาวาเรีย จากที่นั่นทรงเดินทางผ่านชนบท และการเดินทางต้องถูกขัดจังหวะและหยุดที่กรุงเวียนนา ที่ซึ่งทรงเข้าเฝ้าจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย เนื่องจากความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นระหว่างออสเตรียและโรมาเนีย (การเข้าเฝ้าเกิดขึ้นระหว่างการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องของบันทึกความเข้าใจทรานซิลเวเนีย) ทั้งสองพระองค์เสด็จเยือนเป็นระยะเวลาสั้นๆ และทรงมาถึงชายแดนของเมืองพรีดีลจากการเดินทางข้ามคืนผ่านทรานซิลเวเนียด้วยรถไฟ เจ้าหญิงมารีทรงได้รับการต้อนรับจากชาวโรมาเนียอย่างอบอุ่นซึ่งปรารถนาในสถาบันพระมหากษัตริย์ที่มีความเป็นบุคคลมากขึ้นมกุฎราชกุมารีแห่งโรมาเนีย (ค.ศ. 1893 - 1914)พระชนม์ชีพภายในประเทศ มกุฎราชกุมารีแห่งโรมาเนีย (ค.ศ. 1893 - 1914). พระชนม์ชีพภายในประเทศ. ในช่วงปีแรกของการอภิเษกสมรสระหว่างมกุฎราชกุมารีมารีและมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์นั้นไม่ง่าย และเจ้าหญิงมารีทรงบอกพระสวามีในภายหลังว่า "มันเป็นเรื่องน่าละอายจริงๆที่เราทั้งคู่ต้องเสียเวลาเป็นเวลาหลายปีในช่วงวัยรุ่นเพียงเพื่อเรียนรู้การใช้ชีวิตร่วมกัน!" ความสัมพันธ์ของทั้งสองพระองค์ได้ค่อยๆพัฒนาเป็นมิตรภาพที่จริงใจอย่างช้าๆ เจ้าหญิงมารีทรงเคารพมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ในฐานะที่เป็นผู้ชายคนหนึ่ง และต่อมาเป็นพระมหากษัตริย์ และมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ก็ทรงเคารพเจ้าหญิงมารีในฐานะที่เจ้าหญิงทรงเข้าใจในโลกนี้ดีกว่าพระองค์ ในที่สุดเจ้าหญิงมารีก็ทรงเชื่อว่า พระองค์กับมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์เป็น "เพื่อนร่วมงานที่ดีที่สุด เป็นสหายที่ดีที่สุด แต่ชีวิตของเราประสานเข้ากันได้ในบางเรื่อง" มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงโปรดมากเมื่อเจ้าหญิงมารีทรงปรากฏพระองค์ในระหว่างการสวนสนามของทหารและทำให้เจ้าหญิงทรงได้รับเชิญมายังงานเหล่านี้บ่อยครั้ง เจ้าหญิงมารีทรงมีพระประสูติกาลบุตรพระองค์แรกคือ เจ้าชายคาโรล ในเวลาเพียงเก้าเดือนหลังจากอภิเษกสมรส ในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1893 ถึงแม้ว่าเจ้าหญิงมารีจะทรงขอใช้คลอโรฟอร์มเพื่อระงับอาการเจ็บปวด แต่เหล่าแพทย์ไม่เต็มใจที่จะทำเช่นนั้น แพทย์หลวงโรมาเนียเชื่อว่า "ผู้หญิงทุกคนจะต้องชดใช้ด้วยความเจ็บปวดจากบาปของอีฟ" หลังจากที่พระมารดาของเจ้าหญิงมารีและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียทรงยืนยันตามคำขอของเจ้าหญิง ในที่สุดพระเจ้าคาโรลทรงอนุญาตให้พระสุณิสาสามารถใช้ยาได้ เจ้าหญิงมารีไม่ทรงมีความสุขมากนักหลังจากมีพระประสูติกาลพระโอรสองค์แรก ต่อมาทรงเขียนว่า "รู้สึกเหมือนเอาหัว (ของเจ้าหญิงมารี) หันไปชนผนัง" ในทำนองเดียวกันแม้ว่าเจ้าหญิงมารีจะทรงได้รับการย้ำเตือนอย่างต่อเนื่องจากพระมเหสีในพระเจ้าคาโรลคือ สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ ที่ทรงเห็นว่าการที่เจ้าหญิงทรงมีบุตรถือว่า "เป็นช่วงเวลาที่รุ่งโรจน์ที่สุดในชีวิต (ของเจ้าหญิงมารี)" เจ้าหญิงทรงนึกถึงพระมารดาของพระองค์จากการที่ทรงมีพระประสูติกาลบุตรพระองค์ที่สองคือ เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ในปีค.ศ. 1894 หลังจากทีทรงคุ้นเคยกับการใช้พระชนม์ชีพในโรมาเนีย เจ้าหญิงมารีทรงเริ่มมีความสุขจากการมีพระประสูติกาลพระโอรสธิดา ซึ่งได้แก่ เจ้าหญิงมาเรีย (ค.ศ. 1900 - 1961) ทรงมีพระนามที่เรียกกันในราชวงศ์ว่า "มิกนอน" , เจ้าชายนิโคลัส (ค.ศ. 1903 - 1978) ทรงมีพระนามที่เรียกกันในราชวงศ์ว่า "นิกกี้" , เจ้าหญิงอีเลียนา (ค.ศ. 1909 -1991) และ เจ้าชายเมอร์เซีย (ค.ศ. 1913 - 1916) พระเจ้าคาโรลและสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธทรงนำเจ้าชายคาโรลและเจ้าหญิงเอลิซาเบธออกจากการดูแลของเจ้าหญิงมารีในทันที โดยทรงเห็นว่าเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสมที่ให้อยู่ภายใต้การอภิบาลโดยพระบิดามารดาที่ยังเป็นวัยรุ่น เจ้าหญิงมารีทรงรักพระโอรสธิดามาก แต่ก็ทรงพบว่ามันเป็นเรื่องยากที่จะทรงสามารถว่ากล่าวตักเตือนพระโอรสธิดาได้ บางครั้งจึงทรงรู้สึกว่าไม่สามารถดูแลพระโอรสธิดาได้อย่างถูกต้อง ดังนั้นพระโอรสธิดาจะได้รับการศึกษาในบางส่วน แต่ไม่เคยถูกส่งไปโรงเรียน ในฐานะที่เป็นเชื้อพระวงศ์จึงไม่สามารถให้การศึกษาในชั้นเรียนได้ ซึ่งทำให้บุคลิกส่วนใหญ่ของพระโอรสธิดาได้สร้างข้อบกพร่องอย่างรุนแรงเมื่อเจริญพระชันษา เอียน จี. ดูคา ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยหลัง ได้เขียนบันทึกในเวลาต่อมาว่า "ดูเหมือนว่า [พระเจ้าคาโรล] จะประสงค์ที่จะปล่อยให้รัชทายาทโรมาเนียไม่มีความพร้อมในการสืบราชบัลลังก์"พระชนม์ชีพในราชสำนัก พระชนม์ชีพในราชสำนัก. ตั้งแต่เริ่ม มกุฎราชกุมารีมารีทรงประสบปัญหาในการปรับตัวเข้ากับชีวิตในโรมาเนีย บุคลิกภาพและ"จิตวิญญาณสูงสุด"ของพระองค์ได้สร้างข้อถกเถียงอย่างมากในราชสำนักโรมาเนีย และพระองค์ไม่ทรงโปรดบรรยากาศที่เคร่งครัดในราชวงศ์ของพระองค์ พระองค์ทรงเขียนว่าพระองค์เอง "ไม่ได้ถูกพามาโรมาเนียเพื่อให้เป็นที่รักหรือเป็นที่พูดถึง และที่มากที่สุดคือ พระองค์ทรงเป็นส่วนหนึ่งในเครื่องจักรของพระเจ้าคาโรลที่ได้สร้างรอยแผลขึ้นในตัวของพระองค์ พระองค์ได้ถูกนำเข้ามาเพื่อประดับตกแต่ง, รับการศึกษา, ทำให้มีความสำคัญลดลงและถูกฝึกอบรมตามความคิดของบุรุษผู้ยิ่งใหญ่" เมื่อบรรยายถึงช่วงต้นๆในโรมาเนีย มกุฎราชกุมารีมารีทรงเขียนว่า "เป็นเวลานานที่ [พระองค์] รู้สึกเซื่องซึมในขณะที่พระสวามีหนุ่ม [ของพระองค์] ทรงเข้ารับราชการทหาร ทั้งหมดนี้ทำให้ต้องโดดเดี่ยวในห้องพักที่ [พระองค์] ทรงเกลียด เป็นห้องแบบเยอรมันขนาดใหญ่" สมเด็จพระจักรพรรดินี พระพันปีหลวงแห่งเยอรมันทรงเขียนจดหมายถึงมกุฎราชกุมารีแห่งกรีซ พระราชธิดาว่า "มิสซีแห่งโรมาเนียน่าสงสารกว่าลูกอีกนะ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ปกครองที่เผด็จการที่สุดในครอบครัวของพระองค์ และทรงบดขยี้อิสรภาพของเฟอร์ดินานด์ดังนั้นจึงทำให้ไม่มีใครสนใจในตัวเขาและภรรยาของเขาผู้งดงามและน่ารัก แม่กลัวว่าเธอจะตกอยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบาก และเหมือนกับผีเสื้อแทนที่จะบินตอมดอกไม้ แต่ได้เผาปีกที่งดงามของเธอโดยการบินเข้าไปใกล้กองไฟ!" พระองค์ทรงเรียนรู้ภาษาโรมาเนียอย่างง่ายดาย พระองค์ทรงทำตามคำแนะนำของพระมารดาที่ต้องระมัดระวังในการแต่งกายและแสดงความเคารพต่อพิธีกรรมออร์โธดอกซ์ มกุฎราชกุมารีมารีและมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงได้รับการแนะนำจากพระมหากษัตริย์ที่ให้คงจำกัดกลุ่มของพระสหาย ดังนั้น พระองค์ทรงเสียพระทัยมากที่วงล้อมครอบครัวของพระองค์ได้ลดเหลือเพียงแค่พระมหากษัตริย์และมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ "ผู้ซึ่งยืนหยัดอย่างหวาดกลัวอย่างมากต่อชายชราพระหัตถ์เหล็ก ซึ่งทรงสั่นเทิ้มตลอดทุกการกระทำ [ของมารี] ที่อาจจะสร้างความไม่พอใจแก่หน้าที่ของพระประมุขของราชวงศ์" ในหนังสือเสริมนิตยสารไทม์ได้เขียนว่าพระนางมารีทรงพบว่าพระองค์เอง "จากช่วงเวลาที่มาถึงบูคาเรสต์ ทรงต้องอยู่ภายใต้การปกครองที่เข้มงวดของพระเจ้าคาโรลที่ 1" ในปีค.ศ. 1896 มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์และมกุฎราชกุมารีมารีทรงย้ายไปประทับที่พระราชวังโคโทรเซนี ที่ซึ่งได้รับการขยับขยายโดยกริกอร์ เซอร์เชส สถาปนิกชาวโรมาเนีย และพระนางมารีทรงเพิ่มการออกแบบของพระนางเองด้วย ในปีถัดมา มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงพระประชวรด้วยโรคไข้รากสาดน้อย ทุกวัน พระองค์ทรงเพ้อและแม้ว่าแพทย์จะพยายามอย่างดีที่สุดแล้วแต่พระองค์ทรงใกล้จะสิ้นพระชนม์ ในช่วงเวลานี้ พระนางมารีทรงเขียนจดหมายแลกเปลี่ยนเป็นจำนวนมากกับครอบครัวของพระนางในอังกฤษ และทรงหวาดกลัวที่จะต้องสูญเสียพระสวามี พระเจ้าคาโรลยังทรงมีรัชทายาทอีกพระองค์คือ เจ้าชายคาโรล ผู้ซึ่งยังทรงพระเยาว์นัก ดังนั้นทุกคนในราชวงศ์ต่างต้องการให้มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงฝ่าฟันโรคภัยไปได้ ในที่สุดพระองค์ก็ทำได้สำเร็จ พระองค์และพระนางมารีได้เสด็จไปยังซินายอา ประทับที่ปราสาทเปเรส เพื่อฟื้นฟูพระวรกาย อย่างไรก็ตาม ทั้งสองพระองค์ก็ไม่สามารถเข้าร่วมพระราชพิธีพัชราภิเษกของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียในฤดูร้อนได้ ในช่วงการพักฟื้นของมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ พระนางมารีทรงใช้เวลาร่วมกับพระราชบุตรทั้งสองพระองค์ โดยทรงมีพระดำเนินและเก็บดอกไม้ร่วมกัน ในฤดูหนาวปีค.ศ. 1897/1898 ทรงใช้เวลาร่วมกับพระราชวงศ์รัสเซียที่เฟรนช์ริวีเอรา ที่ซึ่งพระนางมารีได้ทรงม้าทั้งๆที่อากาศหนาวเย็น ในช่วงนี้ มกุฎราชกุมารีมารีทรงพบกับร้อยโท จอร์จี คานตาคูซีเน เป็นสมาชิกที่มมาจากเชื้อสายนอกสมรสของเชื้อพระวงศ์ผู้ครองแคว้นในสมัยโบราณของโรมาเนียและเป็นเชื้อสายของเจ้าชายเซอร์บาน คานตาคูซีโน ถึงแม้รูปโฉมจะไม่หล่อเหลาเท่าไหร่ แต่คานตาคูซีเนเป็นคนที่มีอารมณ์ขันและแต่งตัวดี และมีความสามารถในการขี่ม้า ทั้งคู่ได้เริ่มมีความรักแก่กัน แต่เรื่องอื้อฉาวนี้ได้สิ้นสุดเมื่อสาธารณะได้รับรู้ พระราชมารดาของพระนางมารีทรงประณามพฤติกรรมของพระธิดาและทรงโปรดให้พระธิดาเสด็จมายังโคบูร์กเมื่อพระนางมารีทรงพระครรภ์ในปีค.ศ. 1897 นักประวัติศาสตร์ จูเลีย เกลาร์ดี เชื่อว่าพระนางมารีมีพระประสูติกาลบุตรที่โคบูร์ก และบุตรอาจจะเสียชีวิตตั้งแต่เกิดหรือไม่ก็ถูกส่งไปยังสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าทันที มีการคาดเดากันว่า "เจ้าหญิงมิกนอน" พระธิดาองค์ที่สองของพระนางมารี ที่จริงแล้วเป็นบุตรที่ประสูติกับคานตาคูซีเน ไม่ใช่มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ ในปีถัดๆมา มีข่าวลือว่าพระนางมารีทรงมีความสัมพันธ์กับแกรนด์ดยุกบอริส วลาดีมีโรวิชแห่งรัสเซีย, วัลดอร์ฟ อัสเตอร์, เจ้าชายบาร์บู สเตอบีย์, และโจ บอยล์ ในปีค.ศ. 1903 มกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์และพระนางมารีทรงเปิดปราสาทเปลีซอร์ เป็นปราสาทในสถาปัตยกรรมแบบนวศิลป์ที่เมืองซินายอา ซึ่งพระเจ้าคาโรลทรงมอบให้กับทั้งสองพระองค์ พระนางมารีทรงได้เรียนรู้ถึงขอบเขตการอดกลั้นซึ่งนำไปสู่การปราบปรามกบฏชาวนาโรมาเนียค.ศ. 1907 ซึ่งสายเกินไปที่จะทรงพยายามไกล่เกลี่ย หลังจากนั้นพระนางได้ทรงฉลองพระองค์ชุดพื้นบ้านโรมาเนียบ่อยๆทั้งในที่ประทับและที่สาธารณะและทรงเริ่มทิศทางแฟชั่นการแต่งกายแบบนี้ในหมู่เด็กสาวชนชั้นสูง ในวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 1913 ราชอาณาจักรบัลแกเรียได้ประกาศสงครามกับราชอาณาจักรกรีซ เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามบอลข่านครั้งที่สอง ในวันที่ 4 กรกฎาคม โรมาเนียได้เข้าร่วมสงคราม โดยเป็นพันธมิตรกับกรีซ สงครามได้ดำเนินเป็นระยะเวลาอย่างน้อยหนึ่งเดือน แต่กลับแย่ลงเนื่องจากมีการระบาดของอหิวาตกโรค พระนางมารีทรงเผชิญครั้งแรกกับการระบาดของโรคซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนในพระชนม์ชีพของพระนาง ด้วยการช่วยเหลือจากนายแพทย์ เอียน คานตาคูซิโนและซิสเตอร์ พุคชี นางพยาบาลจากกาชาด พระนางมารีทรงเดินทางไปทั่วโรมาเนียและบัลแกเรีย เพื่อขอความร่วมมือจากโรงพยาบาล เหตุการณ์เหล่านี้ได้ตระเตรียมให้พระนางเพื่อประสบการณ์ในสงครามโลก ผลของสงครามทำให้เกิดสนธิสัญญาบูคาเรสต์ (1913) โรมาเนียได้ครอบครองโดบรูจาใต้ รวมทั้งบอลคิค [Balchik (Balcic)] เมืองชายฝั่งทะเล ที่ซึ่งพระนางมารีทรงหวงแหนมากในปีค.ศ. 1924 และมักจะทรงใช้เป็นที่ประทับของพระนาง หลังจากสงครามสิ้นสุด พระเจ้าคาโรลที่ 1 ทรงพระประชวร ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 ที่เมืองซาราเยโว อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย องค์รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ทรงถูกลอบปลงพระชนม์ ข่าวนี้ได้ทำให้พระนางมารีและพระราชวงศ์ต้องตกตะลึงอย่างมาก ซึ่งทรงกำลังพักผ่อนอยู่ที่ซินายอาเมื่อข่าวได้มาถึง ในวันที่ 28 กรกฎาคม ออสเตรีย-ฮังการีประกาศสงครามต่อเซอร์เบียและพระนางมารีทรงเห็นว่า "สันติภาพโลกได้ถูกฉีกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย" จากนั้นในวันที่ 3 สิงหาคม พระเจ้าคาโรลทรงเรียกประชุมสภาที่ปรึกษาราชบัลลังก์โรมาเนียที่ซินายอา เพื่อทรงตัดสินพระทัยว่าโรมาเนียควรเข้าร่วมสงคราม ถึงแม้ว่าพระเจ้าคาโรลทรงโปรดที่จะให้ประเทศของพระองค์สนับสนุนเยอรมนีและฝ่ายมหาอำนาจกลาง แต่สภาได้ตัดสินใจต่อต้านพระราชประสงค์ ไม่นานหลังจากการประชุมสภา พระอาการประชวรของพระเจ้าคาโรลได้แย่ลงและในที่สุดต้องทรงประทับบนแท่นบรรทมตลอด มีการกล่าวกันว่าพระองค์อาจจะสละราชบัลลังก์ ในที่สุด พระองค์เสด็จสวรรคตในวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1914 และมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ทรงสืบราชบัลลังก์เป็นพระมหากษัตริย์โดยทันทีสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย (ค.ศ. 1914 - 1927)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย (ค.ศ. 1914 - 1927). สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง. ในวันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1914 มกุฎราชกุมารีมารีและมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์ได้รับการประกาศสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีในรัฐสภา เจ้าหญิงแอนน์ มารี คัลลิมาชี พระสหายสนิทของพระนางมารี ได้เขียนว่า "ขณะเป็นมกุฎราชกุมารี [มารี] ทรงเป็นที่นิยม เมื่อทรงเป็นสมเด็จพระราชินี พระนางทรงเป็นที่รักอย่างมาก" พระนางทรงมีอิทธิพลเหนือพระสวามีและตลอดทั้งราชสำนัก จากงานเขียนของนักประวัติศาสตร์ เอ.แอล. อีสเตอร์แมน ได้เขียนว่า "ไม่ใช่ [เฟอร์ดินานด์] แต่มารีต่างหากที่ปกครองโรมาเนีย" ในช่วงการขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ รัฐบาลได้อยู่ภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรีจากพรรคเสรีนิยม คือ นายกรัฐมนตรีเอียน ไอ. ซี. บราเทียนู พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และสมเด็จพระราชินีมารีทรงร่วมกันตัดสินพระทัยไม่ให้มีการเปลี่ยนแปลงในราชสำนักมากนักและทรงพยายามให้ผู้คนยอมรับการเปลี่ยนผ่านยุคสมัยหนึ่งไปอีกยุคสมัยหนึ่งมากกว่าการบังคับพวกเขา ดังนั้นข้าราชบริพารของเจ้าชายคาโรลกับเจ้าหญิงเอลิซาเบธยังคงอยู่ในตำแหน่งเดิม แม้ว่าจะมีคนที่ไม่โปรดก็ตาม ด้วยการช่วยเหลือของบราเทียนู พระนางมารีทรงเริ่มกดดันให้พระเจ้าเฟอร์ดินานด์เข้าสู่สงคราม พร้อมกันนั้นพระนางทรงติดต่อเหล่าพระญาติที่ครองราชย์ในประเทศต่างๆของยุโรปและทรงพยายามต่อรองเงื่อนไขที่ดีที่สุดแก่โรมาเนีย ในกรณีที่ประเทศจะเข้าสู่สงคราม พระนางมารีทรงสนับสนุนการเป็นพันธมิตรกับพันธมิตรไตรภาคี (รัสเซีย, ฝรั่งเศส และอังกฤษ) ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะทรงมีเชื้อสายชาวอังกฤษ ความเป็นกลางไม่ได้ทำให้ปราศจากภัยอันตรายใดๆและการเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายไตรภาคี นั้นหมายความว่า โรมาเนียจะทำหน้าที่เป็น "ดินแดนกันชน" ให้รัสเซียเมื่อมีการโจมตีเกิดขึ้น ในที่สุด พระนางมารีทรงเรียกร้องให้พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ผู้ทรงไม่แน่พระทัย ให้นำโรมาเนียเข้าสู่สงคราม ด้วยการนำให้รัฐมนตรีฝรั่งเศส ออกุสต์ เฟลิกซ์ เดอ โบปอย เคานท์แห่งแซงต์-ออแลร์ เดินทางมายังโรมาเนีย เพื่อย้ำเตือนว่าพระนางมารีทรงเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสถึงสองครั้ง ครั้งแรกคือจากการประสูติ อีกครั้งหนึ่งคือจากพระหทัย พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงทำตามคำวิงวอนของพระนางมารี และพระองค์ได้ลงพระปรมาภิไธยในสนธิสัญญาเป็นพันธมิตรกับพันธมิตรไตรภาคีในวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1916 ในวันที่ 27 สิงหาคม โรมาเนียได้ประกาศสงครามกับออสเตรีย-ฮังการีอย่างเป็นทางการ แซงต์-ออแลร์ได้ว่า พระนางมารีทรง"โอบกอดสงครามเหมือนกับโอบกอดศาสนา" หลังจากที่ทรงตรัสบอกแก่พระโอรสธิดาว่าประเทศได้เข้าสู่สงคราม พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และพระนางมารีทรงปลดข้าราชบริพารชาวเยอรมัน ซึ่งพวกเขาจะยังคงมีหน้าที่อย่างเดียวคือการเป็น "เชลยสงคราม" ในช่วงก่อนสงคราม พระนางมารีทรงมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือกาชาดโรมาเนียและเสด็จเยี่ยมโรงพยาบาลทุกวัน ในช่วงเดือนแรกของสงคราม โรมาเนียต่อสู้กับข้าศึกไม่น้อยกว่าเก้าครั้ง บ้างสู้รบในแผ่นดินโรมาเนีย เช่น ยุทธการทูร์ตูคาเอีย ในวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1916 เจ้าชายเมอร์เซีย พระโอรสองค์สุดท้องของพระนางมารี ซึ่งทรงพระประชวรด้วยโรคไข้รากสาดน้อย ได้สิ้นพระชนม์ลงที่เมืองบัฟเตีย พระนางมารีทรงมีพระจริตคุ้มคลั่งโดยทรงเชียนในบันทึกของพระนางเองว่า "มีอะไรที่สามารถทำให้เป็นเหมือนกันหรือไม่" หลังจากบูคาเรสต์พ่ายแพ้แก่กองทัพออสเตรีย ราชสำนักได้ย้ายไปประทับที่เมืองยาช เมืองหลวงของแคว้นมอลเดเวียในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1916 ที่นั่นพระนางยังคงประกอบพระกรณียกิจในฐานะพยาบาลที่โรงพยาบาลทหาร ทุกวันพระนางมารีจะทรงฉลองพระองค์พยาบาลและเสด็จไปที่สถานีรถไฟยาช ที่ซึ่งพระนางจะได้ทรงรับทหารที่บาดเจ็บได้มากขึ้น จากนั้นพระนางจะทรงส่งพวกเขาไปยังโรงพยาบาล หลังจากข้อสรุปของการปฏิวัติรัสเซียในต้นเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1917 และชัยชนะของบอลเชวิก จากคำกล่าวของแฟรงก์ แรตติแกน นักการทูต ที่ว่า โรมาเนียได้กลายเป็น "เกาะที่ล้อมรอบไปด้วยศัตรูโดยไม่มีความหวังที่จะได้รับการช่วยเหลือจากพันธมิตร" หลังจากนั้นไม่นาน พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงลงนามในสนธิสัญญาฟอกซานีในวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917 พระนางมารีทรงพิจารณาแล้วว่าสนธิสัญญานี้เต็มไปด้วยอันตราย ในขณะที่บราเทียนูและสเตอร์บีย์เชื่อว่าการทำเช่นนี้ถือเป็นมาตรการจำเป็นเพื่อที่จะถ่วงเวลาให้มากขึ้น ในเหตุการณ์ต่อๆมาพิสูจน์ได้ว่าการสันนิษฐานของพระนางมารีนั้นถูกต้อง ในปีค.ศ. 1918 พระนางมารีทรงพิโรธและต่อต้านกันลงนามในสนธิสัญญาบูคาเรสต์ ทำให้มีการบรรยายถึงพระนางเพิ่มว่าทรง "เป็นผู้ชายที่แท้จริงเพียงคนเดียวในโรมาเนีย" การสงบศึกกับเยอรมนี (11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918) ได้ทำให้การต่อสู้ในยุโรปสิ้นสุดลงและนำไปสู่การสิ้นสุดสงครามด้วย ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ราชรัฐฮังการีได้เริ่มต้นพิชิตทรานซิลเวเนีย ซึ่งชาวฮังการีสามารถครอบครองได้อย่างสมบูรณ์ในราวปีค.ศ. 1200 แนวคิดเกี่ยวกับ "เกรตเทอร์โรมาเนีย" ยังคงมีอยู่ในจิตใจของชาวโรมาเนียในทรานซิลเวเนียเป็นบางครั้ง และบราเทียนูได้สนับสนุนแนวคิดนี้อย่างแข็งขันตั้งแต่ก่อนสงคราม ในปีค.ศ. 1918 ทั้งเบสซาราเบียและบูโกวินาได้โหวตเพื่อรวมเข้ากับโรมาเนีย มีการชุมนุมกันที่อัลบาอูเลีย เมืองโบราณในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1918 ที่ซึ่งวาซิลลี โกลดิสได้อ่านประกาศการรวมทรานซิลเวเนียเข้ากับราชอาณาจักรโรมาเนียเก่า เอกสารฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนโดยชาวโรมาเนียและผู้แทนชาวแซ็กซอน โดยการจัดตั้ง "สภาสูงแห่งชาติโรมาเนีย" () เพื่อการบริหารราชการชั่วคราวในระดับจังหวัด พระนางมารีทรงเขียนว่า "ความฝันถึงที่ราบของชาวโรมาเนีย ดูเหมือนว่าจะกลายเป็นจริง...มันเป็นสิ่งที่น่าทึ่งมาก ฉันแทบไม่อยากจะเชื่อเลย" หลังจากการชุมนุม พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และสมเด็จพระราชินีมารีได้เสด็จกลับบูคาเรสต์ที่ซึ่งทรงพบกับความรื่นเริง "วันแห่ง "ความกระตือรือร้น, ความตื่นเต้นอย่างที่สุด" พร้อมกับวงดนตรีเสียงดังและทหารเดินสวนสนามและผู้คนตะโกนโห่ร้อง" ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรได้จัดงานเฉลิมฉลองและพระนางมารีทรงมีความสุขที่จะได้เห็นฝ่ายสัมพันธมิตรบนผืนแผ่นดินโรมาเนียเป็นครั้งแรกการประชุมสันติภาพปารีส การประชุมสันติภาพปารีส. เนื่องจากพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงปฏิเสธที่จะลงนามในสนธิสัญญาบูคาเรสต์และโรมาเนียได้ประกาศตนเป็นศัตรูกับฝ่ายมหาอำนาจกลางจนกระทั่งสิ้นสุดสงคราม จึงทำให้มีสถานที่ที่ซึ่งประเทศที่ชนะสงครามมารวมกันในการประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919 ที่ซึ่งได้มีการรับประกัน คณะผู้แทนอย่างเป็นทางการนำโดยบราเทียนู ซึ่งเขาพึ่งจะได้เป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยที่สาม ความแข็งกระด้างของบราเทียนูบวกกับการต่อต้านของนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส ฌอร์ฌ เกลอม็องโซ ที่จะพยายามมองข้ามการยอมรับของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ต่อสนธิสัญญาบูคาเรสต์นำไปสู่ความขัดแย้งและคณะผู้แทนโรมาเนียได้เดินทาออกจากปารีส สิ่งนี้ได้สร้างความผิดหวังแก่ "มหาอำนาจทั้งสี่" อย่างมาก ด้วยความหวังที่จะแก้ไขสถานการณ์ แซงต์-ออแลร์ได้แนะนำว่าควรส่งสมเด็จพระราชินีมารีไปเข้าร่วมการประชุมแทน สมเด็จพระราชินีทรงยินดีอย่างยิ่งเมื่อมีโอกาสเช่นนี้ พระนางมารีเสด็จถึงปารีสในวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1919 พระนางทรงเป็นที่นิยมในหมู่ชาวฝรั่งเศสในทันที อันเนื่องมาจากความกล้าหาญของพระนางในสงคราม ในการประชุม เกลอม็องโซได้กล่าวกับพระนางมารีว่า "กระหม่อมไม่ชอบนายกรัฐมนตรีของพระองค์เลย" ซึ่งพระนางทรงตอบทันทีว่า "บางทีคุณพบฉันแล้วคงน่าจะพอใจมากขึ้นนะ" เขาและประธานาธิบดี แรมง ปวงกาเรได้เปลี่ยนทัศนคติของเกลอม็องโซที่มีต่อโรมาเนียนับตั้งแต่การมาถึงของพระนางมารี หลังจากทรงประทับในกรุงปารีสเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ พระนางมารีทรงตอบรับคำเชิญของพระเจ้าจอร์จที่ 5 และสมเด็จพระราชินีแมรี และทรงเดินทางข้ามช่องแคบอังกฤษและประทับที่พระราชวังบักกิงแฮม ด้วยความหวังที่ว่าจะทรงได้รับความเป็นมิตรไมตรีแก่โรมาเนีย พระนางมารีทรงพบปะคุ้นเคยกับบุคคลทางการเมืองที่สำคัญในช่วงเวลานั้น ดังเช่น ลอร์ดคูร์ซอน, วินสตัน เชอร์ชิล และวัลดอร์ฟ อัสเตอร์กับแนนซี อัสเตอร์ พระนางได้เสด็จไปเยี่ยมพระโอรส นิกกี ซึ่งทรงศึกษาอยู่ที่วิทยาลัยอีตันบ่อยๆ พระนางมารีทรงมีความสุขอย่างมากที่ได้กลับไปยังอังกฤษหลังจากจากมาเป็นเวลานาน ทรงเขียนว่า "มันเป็นความรู้สึกที่เปี่ยมล้นจริงๆที่ได้มาถึงลอนดอน และได้รับการต้อนรับที่สถานีโดยจอร์จและเมย์" หลังจากสิ้นสุดการเสด็จเยือนอังกฤษ พระนางมารีได้เสด็จกลับปารีส ที่ซึ่งผู้คนยังคงตื่นเต้นสำหรับการเสด็จมาถึงของพระนางอย่างที่เคยเป็นเมื่อไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา ฝูงชนรวมตัวกันอยู่รอบๆพระนางบ่อยๆ เพื่อรอที่จะพบสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียจาก "ต่างแดน" ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา วูดโรว์ วิลสัน ก็ยังคงไม่สร้างความประทับใจแก่พระนางมารี และความเห็นของพระนางเกี่ยวกับกฎหมายรัสเซียที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความสัมพันธ์ทางเพศ ซึ่งพระนางพิจารณาว่าไม่เหมาะสม ก็ไม่ได้ช่วยอะไร พระนางมารีได้สร้างความตกตะลึงแก่เจ้าหน้าที่โดยทรงโบกพระหัตถ์ให้รัฐมนตรีของพระนางทั้งหมดออกไปและทรงนำการเจรจาต่อรองด้วยพระนางเอง จากนั้นพระนางทรงแสดงความเห็นในเรื่องนี้ว่า "ไม่เป็นไร พวกคุณทั้งหมดเพียงแค่ยอมรับฉันด้วยความผิดพลาดทางศีลธรรมของฉันเอง" พระนางมารีเสด็จออกจากปารีสพร้อมเสบียงอาหารจำนวนมากเพื่อช่วยเหลือโรมาเนีย ในปีหลังจากนั้น ผลการประชุมได้มีข้อตกลงในสนธิสัญญาแวร์ซายโดยยอมรับโรมาเนียอันยิ่งใหญ่ในระดับนานาชาติ ดังนั้นราชอาณาจักรของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์และพระนางมารีได้เพิ่มขึ้นสองเท่าเป็น 295,000 ตารางกิโลเมตร (114,000 ตารางไมล์) และจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นถึงสิบล้านคน สิ่งนี้ทำให้แกรนด์ดัชเชสมาเรีย ปาฟลอฟนาแห่งรัสเซีย ผู้ทรงประทับอยู่ในบูคาเรสต์ช่วงสั้นๆได้สรุปว่า "ด้วยเสน่ห์ ความงามและสติปัญญาที่เพียบพร้อม [มารี]ได้รับทุกสิ่งทุกอย่างที่ทรงปรารถนา"ความพยายามของราชวงศ์ ความพยายามของราชวงศ์. ในปีค.ศ. 1920 เจ้าหญิงเอลิซาเบธ พระธิดาองค์โตของพระนางมารี ทรงหมั้นกับเจ้าชายจอร์จแห่งกรีซ พระโอรสองค์โตในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซกับอดีตสมเด็จพระราชินีโซเฟีย พระญาติของพระนางมารี ซึ่งทรงถูกถอดถอนจากราชบัลลังก์กรีซ หลังจากที่พระนางทรงเชิญเจ้าชายจอร์จพร้อมพระขนิษฐาทั้งสองพระองค์คือ เจ้าหญิงเฮเลนและเจ้าหญิงไอรีน มาร่วมประทับพร้อมกับพระนางที่ซินายอา พระนางมารีทรงจัดการกิจกรรมต่างๆมากมายแก่คู่หนุ่มสาวทั้งสองและทรงยินดีอย่างมากที่จะทรงอภิเษกสมรสกับพระธิดาของพระนางตามที่ทรงคาดหมายไว้แล้ว ซึ่งพระธิดาของพระนางเองนั้นมีข้อด่างพร้อยอย่างรุนแรง ในเดือนตุลาคม มีรายงานข่าวจากกรีซเกี่ยวกับการสวรรคตของสมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์แห่งกรีซ ซึ่งเจ้าหญิงกรีซต้องรีบเสด็จกลับไปพบพระบิดาและพระมารดาอย่างเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในวันถัดมา มีข่าวแจ้งว่า พระมารดาของพระนางมารีได้สิ้นพระชนม์แล้วอย่างสงบที่ซูริก พระนางมารีทรงเตรียมการเดินทางไปยังสวิตเซอร์แลนด์ ที่ซึ่งพระนางจะทรงพาเจ้าหญิงเฮเลนและเจ้าหญิงไอรีนไปพบพระบิดาและพระมารดาของทั้งสองพระองค์ได้และเข้าร่วมพิธีฝังพระศพพระมารดาของพระนาง ในขณะที่เจ้าชายจอร์จและเจ้าหญิงเอลิซาเบธยังคงประทับอยู่ที่ซินายอา ในเวลาต่อมาอย่างรวดเร็ว มกุฎราชกุมารคาโรลได้มีการหมั้นหมายเจ้าหญิงเฮเลนและทั้งสองพระองค์ก็ได้อภิเษกสมรสในปีถัดมา พระนางมารีทรงปลื้มปิติมาก หลังจากที่ไม่ทรงยอมรับความสัมพันธ์ของมกุฎราชกุมารคาโรลกับซิซิ ลามบริโนและทรงกลุ้มพระทัยมากที่เธอได้ให้กำเนิดลูกนอกสมรสกับมกุฎราชกุมารคาโรล คือ คาโรล ลามบริโน ซึ่งสิ่งที่พระนางพอจะบรรเทาได้ก็คือให้เด็กใช้นามสกุลของมารดา ในปีค.ศ. 1922 พระนางมารีทรงให้ "เจ้าหญิงมิกนอล" พระธิดาองค์ที่สองอภิเษกสมรสกับพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย (หลังจากนี้คือ ยูโกสลาเวีย) พระนางมารีทรงปลื้มปิติมากที่พระนัดดาทั้งสองประสูติ ซึ่งก็คือ เจ้าชายไมเคิลแห่งโรมาเนีย (ประสูติ ค.ศ. 1921-2017) และเจ้าชายปีเตอร์แห่งยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1923 - 1970) การประสูติของพระนัดดาทั้งสองพระองค์ที่ถูกกำหนดชะตาให้ครองราชบัลลังก์ในยุโรปดูเหมือนจะประสานความทะเยอทะยานของพระนางได้ ความพยายามในราชวงศ์ของพระนางมารีได้ถูกมองจากนักวิจารณ์ว่าเป็นพระมารดาที่คอยชักจูงควบคุมซึ่งต้องเสียสละความสุขของพระโอรสธิดาของพระนางเองเพื่อตอบสนองความทะเยอทะยานของพระนาง แต่ในความเป็นจริง พระนางมารีไม่ทรงเคยบังคับพระโอรสธิดาอภิเษกสมรสเลย ค.ศ. 1924 พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และพระราชินีมารีทรงประกอบพระราชกรณียกิจเสด็จทางการทูตไปยังฝรั่งเศส, สวิตเซอร์แลนด์, เบลเยียมและสหราชอาณาจักร ในอังกฤษ พระนางทรงได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากพระเจ้าจอร์จที่ 5 ซึ่งทรงประกาศว่า "นอกเหนือจากการมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน ซึ่งเราได้ทำให้ลุล่วงแล้ว พวกเรายังมีความสัมพันธ์ที่รักใคร่กัน ฝ่าพระบาท สมเด็จพระราชินี ญาติที่รักของข้าพเจ้าเป็นชาวอังกฤษโดยกำเนิด" พระนางมารีทรงเขียนถึงวันที่เสด็จเยือนอังกฤษในทำนองเดียวกันว่า "เป็นวันที่ดีสำหรับฉัน มีทั้งอารมณ์หวาน, ความสุข และในเวลาเดียวกันก็รู้สึกรุ่งโรจน์ที่ได้กลับมายังประเทศของฉันในฐานะราชินี ที่ได้รับการต้อนรับอย่างเป็นทางการ เป็นเกียรติอย่างยิ่งและกระตือรือร้นในการแลกเปลี่ยน ที่รู้สึกว่าหัวใจคุณพองโตด้วยความภาคภูมิและความพึงพอใจที่รู้สึกถึงหัวใจเต้นและน้ำตาเริ่มไหลออกจากดวงตาของคุณ ในขณะที่บางสิ่งรวมตัวเป็นก้อนกลืนเข้าไปในลำคอของคุณ!" การเสด็จเยือนในระดับรัฐครั้งนี้ถือเป็นสัญลักษณ์ในการยอมรับศักดิ์ศรีของโรมาเนียที่ได้รับหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะเสด็จเยือนเจนีวา พระนางมารีและพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงเป็นพระราชวงศ์คู่แรกที่เสด็จไปยังสำนักงานใหญ่ของสันนิบาตชาติที่พึ่งก่อตั้งขึ้นพระราชพิธีราชาภิเษก พระราชพิธีราชาภิเษก. สถานที่ที่พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และพระนางมารีทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกคือที่อัลบาอูเลีย ที่ซึ่งเคยเป็นป้อมปราการสำคัญในยุคกลาง และเป็นที่ซึ่งเจ้าชายไมเคิล ผู้กล้าหาญได้สถาปนาพระองค์เองขึ้นเป็นวอยโวด (Voivode) แห่งทรานซิลเวเนียในปีค.ศ. 1599 จึงเป็นการรวมตัวกันของวัลลาเซียและทรานซิลเวเนียเป็นครั้งแรก มหาวิหารออร์ทอดอกซ์ได้ถูกสร้างขึ้นในชื่อ มหาวิหารราชาภิเษกในปีค.ศ. 1921 - 1922 เครื่องประดับอัญมณีที่สลับซับซ้อนและฉลองพระองค์ได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ในพระราชพิธีราชาภิเษกโดยเฉพาะ มงกุฎของสมเด็จพระราชินีมารีได้ถูกออกแบบโดยจิตรกรชื่อว่า คอสติน เปเทรสคู และถูกสร้างขึ้นมาในรูปแบบอาร์นูโวโดย "ฟาลีซ" ซึ่งเป็นร้านเครื่องเพชรในกรุงปารีส มงกุฎนี้ได้แรงบันดาลใจมาจาก พระนางมิลิกา เดสปินา พระชายาในองค์ประมุขแห่งวัลลาเซียในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นามว่า เนียกอเอ บาซารับ และทั้งหมดทำขึ้นจากทองคำทรานซิลวาเนีย มงกุฎมีจี้ประดับอยู่ทั้งสองข้าง ข้างหนึ่งเป็นภาพตราแผ่นดินโรมาเนีย อีกข้างหนึ่งเป็นตราอาร์มดยุกแห่งเอดินเบอระ ซึ่งเป็นตราอาร์มที่พระนางมารีทรงใช้ก่อนอภิเษกสมรส มงกุฎมีค่าใช้จ่ายประมาณ 65,000 ฟรังก์ ซึ่งจ่ายโดยรัฐผ่านกฎหมายพิเศษ ท่ามกลางเหล่าอาคันตุกะที่มาร่วมในพระราชพิธีราชาภิเษกของทั้งสองพระองค์มีทั้ง เจ้าหญิงเบียทริซ หรือ "เบบี้บี" พระขนิษฐาของพระนางมารี, ดยุกแห่งยอร์ก และนายพลฝรั่งเศส แม็กซิมี เวย์กองด์ กับ อองรี มัทธีอัส เบอร์เทโลต์ พระราชพิธีได้ดำเนินการโดยอัครบิดรแห่งโรมาเนียทั้งมวล มิรอน คริสที แต่ก็ไม่ได้ดำเนินการภายในมหาวิหารเนื่อจากพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงเป็นคาทอลิก และทรงปฏิเสธที่จะรับการสวมมงกุฎจากสมาชิกนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ หลังจากที่ทรงสวมมงกุฎลงบนพระเศียรของพระองค์เองแล้ว พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ทรงสวมมงกุฎให้สมเด็จพระราชินีมารี ซึ่งทรงคุกเข้าอยู่ก่อนแล้ว ทันใดนั้นปืนใหญ่ได้ถูกจุดเป็นสัญญาณว่าพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีองค์แรกแห่งโรมาเนียอันยิ่งใหญ่ได้รับการเจิมตามพิธีศาสนาแล้ว งานเฉลิมฉลองได้ถูกจัดขึ้นในห้องเดียวกับที่สหภาพได้ถูกประกาศในปีค.ศ. 1918 ชาวนากว่า 20,000 คนได้ร่วมรับประทานเนื้อสเต็กย่างที่ถูกเตรียมไว้ ในวันถัดมา พระเจ้าเฟอร์ดินานด์และพระนางมารีได้เสด็จเข้าบูคาเรสต์อย่างสมพระเกียรติ ความยิ่งใหญ่ของพระราชพิธีราชาภิเษกได้ถูกอ้างมาเป็นหลักฐานการแสดงตนของพระนางมารี พระนางมารีทรงรับเข้ารีตศาสนจักรออร์ทอดอกซ์โรมาเนียในปีค.ศ. 1926 เป็นการกล่าวถึงการที่ทรงปรารถนาที่จะใกล้ชิดกับพสกนิกรของพระนางเสด็จเยือนสหรัฐอเมริกา เสด็จเยือนสหรัฐอเมริกา. พิพิธภัณฑ์ศิลปะแมรีฮิลล์ในแมรีฮิลล์, วอชิงตันซึ่งแต่เดิมได้รับการออกแบบเพื่อนเป็นคฤหาสน์ของนักธุรกิจผู้มั่งคั่ง ซามูเอล ฮิลล์ แต่ด้วยคำขอของลออี ฟูลเลอร์ ทำให้อาคารนี้ถูกเปลี่ยนเป็นพิพิธภัณฑ์แทน ฮิลล์หวังว่ามันจะถูกอุทิศไปใช้สอยในปีค.ศ. 1926 และเขาคิดว่ามันเป็นอนุสรณ์แห่งความสงบสุขแด่ภรรยาของเขา แมรี และสมเด็จพระราชินีมารี พระนางมารีทรงเห็นด้วยที่จะเสด็จเยือนสหรัฐอเมริกาและเป็นสักขีพยานในการอุทิศอาคารนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ฟูลเลอร์เป็นพระสหายเก่าของพระนาง ฟูลเลอร์รีบประสานความร่วมมือกับคณะกรรมาธิการที่สนับสนุน "การเสด็จเยือน" อเมริกาของพระนางมารี และได้มีการเตรียมการเมื่อพระนางทรงออกเดินทาง พระนางมารีทรงมองการเดินทางครั้งนี้ว่าเป็นการ "เห็นประเทศ, พบปะประชาชนและวางโรมาเนียลงบนแผนที่" พระนางทรงเดินทางด้วยเรือข้ามมหาสมุทรแอตเลนติกและเสด็จถึงนิวยอร์กในวันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1926 โดยมีเจ้าชายนิโคลัสและเจ้าหญิงอีเลียนาโดยเสด็จด้วย เมื่อเสด็จถึง พระนางมารีทรงได้รับการต้อนรับอย่างกระตือรือร้นโดยชาวอเมริกัน ด้วย"เสียงหวูดของเรือกลไฟ, เสียงสนั่นของปืนที่พ่นควันขาวเหนือหมอกสีเทา, เสียงแซ่ซ้องตามฝนที่ตกลงมา" พระนางทรงได้รับการต้อนรับอย่างเป็นทางการจากจิมมี วอล์กเกอร์ นายกเทศมนตรีเมืองนิวยอร์ก คอนสแตนซ์ ลิลลี มอร์ริส ผู้เขียนหนังสือ On Tour with Queen Marie ได้เขียนว่า ผู้คนมีความตืนเต้นสำหรับการเสด็จถึงของพระนางมารีโดยส่วนใหญ่เพราะเสน่ห์ของพระนางเป็นสิ่งที่เกือบจะเป็นตำนาน ซึ่งได้ถูกสร้างขึ้นโดยเอกสารและคำเล่าลือตลอดพระชนม์ชีพของพระนาง เธอได้ตั้งข้อสังเกตว่า "สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมผู้มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ครั้งหนึ่งทรงเสด็จมาพร้อมกับพระสวามีของพระนางเพียงช่วงเวลาสั้นๆ และหลายปีที่ผ่านมาพระประมุขแห่งฮาวาย ผู้ผิวดำ ได้รับเกียรติจากเรา แต่ก็ไม่มีโอกาสอื่นอีก และเวลาก็ไม่ได้ถูกตั้งไว้ดีไปกว่านี้" พระนางมารีทรงเป็นที่นิยมในหมู่สตรีที่เรียกร้องสิทธิเลือกตั้ง ที่ซึ่งพระนางทรงถูกมองว่าเป็น"สตรีที่มีปัญญา ทรงวางแผนการรัฐประหารหลายต่อหลายครั้ง ที่ซึ่งสมองของพระนางได้คิดแก้ไขปัญหายากๆเพื่อพสกนิกรของพระนาง ผู้ซึ่งเคยเป็นของขวัญแก่พระนางเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ดีของพระนาง" ในช่วงที่เสด็จเยือนอเมริกา พระนางมารี, เจ้าชายนิโคลัสและเจ้าหญิงอีเลียนาได้เสด็จเยือนหลายเมืองรวมทั้ง ฟิลาเดลเฟีย ทุกพระองค์เป็นที่นิยมชมชอบมากและทรงได้รับการต้อนรับด้วยความกระตือรือร้นอย่างเท่าเทียมกันในแต่ละเมืองที่ได้เสด็จ ซึ่งมีมากเสียจน "[เจ้าชายนิโคลัสและเจ้าหญิงอีเลียนา]รู้สึกมีนงงอย่างพอสมควรโดยการปรบมืออย่างมากของพวกเขา" ก่อนที่จะเสด็จออกจากสหรัฐอเมริกาพระนางมารีทรงถูกเสนอให้ประทับรถกันกระสุนเข้าเมืองจากบริษัทวิลลีส์-ไนท์ ซึ่งพระนางทรงตอบรับอย่างเป็นสุข ในวันที่ 24 พฤศจิกายน พระนางมารีและพระโอรสธิดาได้รับการส่งเสด็จจากคณะผู้แทนจากวอชิงตัน ดี.ซี. เนื่องจากทรงเตรียมที่จะเสด็จออกจากอ่าวนิวยอร์กด้วยเรือ มอร์ริสได้เขียนว่า "จากมุมมองสุดท้ายของเราต่อฝ่าพระบาทและพระโอรสธิดาของพระนางทรงโบกพระหัตถ์กลับมาหาเราด้วยรอยยิ้มและน้ำตาจากการที่ทรงผ่านฉากแห่งความสุข" มอร์ริสได้เดินทางมาพร้อมกับสมเด็จพระราชินีตลอดการเดินทางของพระนางและได้บันทึกรายละเอียดช่วงเวลของพระนางมารีในอเมริกาลงในหนังสือของเธอ ซึ่งถูกตีพิมพ์ในปีค.ศ. 1927 พระนางมารีทรงรู้สึกยินดีกับการเสด็จเยือนครั้งนี้มากและทรงหวังว่าจะได้กลับมาอเมริกาโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ พระนางทรงบันทึกในพระอนุทินของพระนางว่า "ทั้งลูกๆและตัวฉันต่างมีความฝันเดียวกันคือ การกลับมา! การกลับไปยังโลกใหม่ที่น่าทึ่ง ซึ่งจะทำให้คุณเกือบจะเวียนหัว เพราะมันมหึมามาก, มันมีเสียงหนวกหู, มันมีการแข่งขัน, มันมีความก้าวหน้าอย่างใจร้อนที่จะทำอย่างมากขึ้นเสมอ,มันมักจะใหญ่โตขึ้น, เร็วขึ้น, มีความร้อนใจอย่างน่าอัศจรรย์ ที่ซึ่งฉันคิดว่าทุกสิ่งเป็นที่สามารถรับรู้...ฉันรู้ว่าตราบใดที่ฉันยังมีชีวิตอยู่, ยังหายใจและยังคงคิด ความรักสำหรับอเมริกาจะทำให้ชีวิตและความคิดของฉันสวยงาม...บางทีโชคชะตาอาจจะช่วยให้ฉันได้กลับไปยังอเมริกาสักวันหนึ่ง"ตกพุ่มหม้าย (ค.ศ. 1927 - 1938)ค.ศ. 1927 - 1930 ตกพุ่มหม้าย (ค.ศ. 1927 - 1938). ค.ศ. 1927 - 1930. เจ้าชายคาโรลทรงทำให้เกิดวิกฤตราชวงศ์โรมาเนียขึ้นโดยทรงประกาศสละสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ต่อจากพระเจ้าเฟอร์ดินานด์อย่างเป็นทางการในวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1926 พร้อมกับทรงสละสิทธิในการเป็นผู้ปกครองของเจ้าชายไมเคิล ซึ่งได้รับการประกาศเป็นองค์รัชทายาทแทน พระราชบัญญัติผู้สำเร็จราชการแผ่นดินได้ผ่านสภา และได้จัดตั้งสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินซึ่งประกอบด้วย เจ้าชายนิโคลัส, อัครบิดรแห่งโรมาเนีย มิรอน คริสทีและจีออร์เก บุซดูกาน ประธานศาลยุติธรรมสูงสุด อย่างไรก็ตามทั้งพระนางมารีและพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ก็ไม่ทรงเต็มพระทัยที่เสด็จออกไปโดยปล่อยให้ประเทศอยู่ภายใต้พระหัตถ์ของพระนัดดา ซึ่งมีพระชนมายุเพียง 5 พรรษา แม้ว่าจะทรงได้รับการดูแลจากคณะผู้สำเร็จราชการ เนื่องจากทรงกลัวว่าดินแดนที่ได้รับในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจะถูกอ้างสิทธิโดยประเทศเพื่อนบ้านและความผันผวนทางการเมืองอาจจะนไปสู่ความไม่สงบได้ อย่างไรก็ตามเมื่อพระนางมารีเสด็จกลับมาจากอเมริกา พระชนม์ชีพของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ดูเหมือนใกล้จะดับสิ้นลง พระองค์ทรงประชวรอย่างทุกข์ทรมานด้วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และในเดือนเมษายน ค.ศ. 1927 ทรงใกล้จะสวรรคตโดยทรงรับพิธีกรรมสุดท้ายของคริสตจักรโรมันคาทอลิก พระองค์สวรรคตในวันที่ 20 กรกฎาคม ภายในอ้อมพระพาหาของพระนางมารี พระนางทรงเขียนในเวลาต่อมาว่า " 'ฉันเหนื่อยเหลือเกิน' นี่เป็นคำพูดสุดท้ายที่เขาพูดและเมื่อเขาเอนตัวลงนอนอย่างเงียบสงบภายในอ้อมแขนของฉัน หนึ่งชั่วโมงต่อมาฉันรู้ว่าอย่างน้อยฉันต้องขอบคุณพระเจ้าเพื่อเขา นี่เป็นการพักผ่อนอย่างสงบที่แท้จริง" เจ้าชายไมเคิลทรงสืบราชบัลลังก์ต่อโดยอัตโนมัติหลังจากการสวรรคตของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ และสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินได้เข้ามารับบทบาทของพระองค์ในฐานะพระมหากษัตริย์ ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1928 เจ้าชายคาโรลทรงพบว่าพระชนม์ชีพของพระองค์ในต่างประเทศกับแม็กดา ลูเปสคูเป็นที่ไม่น่าพอพระทัย ทรงพยายามหาหนทางเสด็จกลับมายังโรมาเนียด้วยความช่วยเหลือของไวส์เคานท์โรเทอร์แมร์ที่ 1 พระองค์ทรงถูกสั่งห้ามทำเช่นนั้นโดยผู้มีอำนาจในอังกฤษ ซึ่งได้ดำเนินการขับไล่พระองค์ออกจากอังกฤษ ด้วยความพิโรธอย่างมาก พระนางมารีทรงส่งคำขอโทษอย่างเป็นทางการแก่พระเจ้าจอร์จที่ 5 ในนามของพระโอรสของพระนาง ซึ่งพระโอรสได้เริ่มต้นวางแผนการก่อรัฐประหาร เจ้าชายคาโรลทรงประสบความสำเร็จในการหย่าขาดจากเจ้าหญิงเฮเลนในวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1928 ด้วยฐานจากการที่ไม่ทรงลงรอยกัน ความนิยมในพระนางมารีได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงในรัชสมัยของพระเจ้าไมเคิลและหลังจากที่ทรงปฏิเสธที่จะเป็นส่วนหนึ่งของสภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในปีค.ศ. 1929 พระนางทรงถูกกล่าวหาโดยสื่อและแม้กระทั่งเจ้าหญิงเฮเลนว่าทรงวางแผนก่อรัฐประหาร ในช่วงนี้ มีข่าวลือเป็นจำนวนมากเกี่ยวกับการอภิเษกสมรสของเจ้าหญิงอีเลียนา หลังจากที่มีการพูดคุยถึงการที่จะให้เจ้าหญิงอีเลียนาอภิเษกสมรสกับพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรียหรือเจ้าชายแห่งอัสตูเรียส และในที่สุดเจ้าหญิงก็ทรงหมั้นกับอเล็กซานเดอร์ เคานท์แห่งโฮชเบิร์ก ราชนิกุลเยอรมันสายรองในต้นปีค.ศ. 1930 แต่การหมั้นครั้งนี้อายุสั้น พระนางมารีไม่ทรงสามารถจัดการอภิเษกสมรสทางการเมืองของพระธิดาองค์เล็กได้ ซึ่งเจ้าหญิงต้องทรงอภิเษกสมรสกับอาร์คดยุกแอนตันแห่งออสเตรีย-ทัสคานี จากอิตาลีแทนในปีค.ศ. 1931รัชสมัยพระเจ้าคาโรล รัชสมัยพระเจ้าคาโรล. ในวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1930 เจ้าชายคาโรลได้เสด็จถึงบูคาเรสต์และเสด็จไปยังรัฐสภา ที่ซึ่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ค.ศ. 1927 ได้ถูกประกาศว่าเป็นโมฆะ ดังนั้น เจ้าชายคาโรลจึงช่วงชิงราชบัลลังก์ของพระโอรส และทรงครองราชย์เป็น พระเจ้าคาโรลที่ 2 เมื่อทรงได้ทราบข่างการกลับมาของพระเจ้าคาโรล พระนางมารีผู้ทรงประทับอยู่ต่างประเทศก็ทรงโล่งพระทัย พระนางทรงมีความกังวลกับทิศทางที่ประเทศกำลังมุ่งไปมากและทรงมองการกลับมาของพระเจ้าคาโรลว่าเป็น การกลับมาของบุตรชายผู้ล้างผลาญ (Return of the Prodigal Son) แต่ทันทีที่พระนางเสด็จกลับบูคาเรสต์ พระนางก็ทรงเริ่มตระหนักว่าทุกสิ่งเป็นไปไม่ได้ด้วยดี พระเจ้าคาโรลทรงปฏิเสธคำแนะนำของพระนางมารีที่ให้รับเจ้าหญิงเฮเลนกลับมา และไม่ทรงเคยของคำปรึกษาพระนางมารีตลอดรัชสมัยของพระองค์เลย จึงทำให้รอยร้าวความสัมพันธ์ระหว่างพระมารดาและพระโอรสที่มีอยู่แล้วได้แตกหักโดยสมบูรณ์ ด้วยความอ้างว้างและพระนางเกือบจะละทิ้งความเชื่อของพระนาง พระนางมารีทรงหันไปสนพระทัยคำสอนของศาสนาบาไฮ ซึ่งพระนางทรงพบว่า "มีความน่าสนใจอย่างมาก" พระนางมารีทรงเป็นเชื้อพระวงศ์พระองค์แรกที่นับถือบาไฮ พระนางทรงเขียนในเวลาต่อมาว่า "ศาสนาบาไฮสอนให้นำมาซึ่งความสงบสุขและความเข้าใจ มันเหมือนกับอ้อมกอดกว้างที่รวมผู้คนซึ่งหาความหมายของความหวังมาเป็นเวลานานเข้าด้วยกัน มันยอมรับศาสดาทั้งหลายที่มีมาก่อนหน้านี้ มันไม่ทำลายลัทธิอื่นๆและปล่อยให้ประตูทุกบานเปิดออก โชคร้ายจากความขัดแย้งที่มีอย่างต่อเนื่องในหมู่ผู้ศรัทธาในคำสารภาพและความระอาในการถือทิฐิที่มีต่อกันและกัน ฉันได้ค้นพบคำสอนของบาไฮที่สอนถึงจิตวิญญาณที่แท้จริงของพระคริสต์ที่มักจะถูกปฏิเสธและเข้าใจผิด: ความสามัคคีแทนที่ความขัดแย้ง, ความหวังแทนที่การลงทัณฑ์, ความรักแทนที่ความเกลียดชัง และความไว้วางใจที่ยิ่งใหญ่สำหรับมวลมนุษย์ทุกคน" ในปีค.ศ. 1931 เจ้าชายนิโคลัสทรงหนีตามไปกับเอียนา โดเลทติ ผู้หญิงผู้เคยผ่านการหย่าร้างมาแล้ว พระนางมารีไม่ทรงเห็นด้วยกับการกระทำของพระโอรสและทรงรู้สึกเจ็บปวดจากการพยายามเข้าไปเกี่ยวในเรื่องของโดเลทติอย่างซ้ำๆทำให้เจ้าชายนิโคลัสทรงหลีกเลี่ยงที่จะติดต่อกับพระมารดา แม้ว่าพระนางจะทรงตำหนิผู้หญิงที่เข้ามาในชีวิตของพระโอรส ในขณะเดียวกันพระนางก็ทรงตำหนิตัวพระนางเองด้วยในการที่ทรงล้มเหลวจากการพยายามทำให้ทุกสิ่งถูกต้อง แต่พระนางก็ทรงดื้อดึงและปฏิเสธที่จะพบกับแม็กดา ลูเปสคู แม้ว่าพระเจ้าคาโรลจะทรงอ้อนวอนก็ตาม จนกระทั่งในปีสุดท้ายของพระชนม์ชีพ พระนางก็แทบจะไม่กล่าวถึงชื่อของลูเปสคูเลย ด้วยทั้งประเทศเกลียดชังพระสนมในพระเจ้าคาโรล มันเป็นช่วงก่อนที่ฝ่ายปฏิปักษ์ของพระมหากษัตริย์จะเกิดขึ้น ฝ่ายปฏิปักษ์นี้ที่โดดเด่นที่สุดคือมาจากกลุ่มไอออนการ์ด ซึ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนจากเบนิโต มุสโสลินีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ หลังจากที่พระเจ้าคาโรลทรงหันมาขอให้นายกรัฐมนตรีเอียน ดูคาช่วยเหลือ กลุ่มไอออนการ์ดได้ลอบสังหารดูคาในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1933 หลังจากการอสัญกรรมของดูคา ความนิยมในพระเจ้าคาโรลได้ลดลงและได้มีข่าวลือว่าจะมีความพยายามลอบปลงพระชนม์พระองค์ในพิธีสวนสนามอิสรภาพประจำปี เพื่อทรงหลีกเลี่ยงการนี้ พระองค์จึงให้พระนางมารีเสด็จแทนพระองค์ในพิธีสวนสนามนี้ และครั้งนี้จะเป็นการปรากฏพระองค์ต่อหน้าสาธารณชนครั้งสุดท้ายของพระนางมารี หลังจากพิธีสวนสนามผ่านไป พระเจ้าคาโรลทรงพยายามทำลายความนิยมในตัวพระมารดาท่ามกลางชาวโรมาเนียและทรงพยายามที่จะผลักดันให้พระนางเสด็จออกจากประเทศ แต่พระนางมารีไม่ทรงยอมทำตาม และทรงเสด็จไปประทับที่ชนบททั้งสองแห่งแทน สถานที่แรกคือปราสาทบราน ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เมืองบราซอฟในทรานซิลเวเนียใต้ ซึ่งเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นได้มอบให้พระนางเป็นของกำนัลไว้ตั้งแต่ปีค.ศ. 1920 และพระนางทรงบูรณะสถานที่ในอีกเจ็ดปีต่อมา อีกสถานที่หนึ่งคือบอลชิค ที่ซึ่งพระนางทรงสร้างพระราชวังบอลชิคและโบสถ์เล็กๆที่เรียกว่า Stella Maris และทรงตกแต่งสวนของพระนาง พระนางยังทรงเสด็จเยี่ยมเจ้าหญิงอีเลียนาและพระโอรสธิดาของเจ้าหญิงในออสเตรีย เจ้าหญิงอีเลียนาไม่ค่อยทรงได้รับอนุญาตจากพระเจ้าคาโรลให้เสด็จเยือนโรมาเนีย สิ่งนี้ทำให้พระนางมารีทรงขุ่นเคืองพระทัยมาก พระนางยังทรงเสด็จไปยังเบลเกรดโดยทรงใช้เวลากับพระธิดา "เจ้าหญิงมิกนอน" และพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ พระชามาดา ในปีค.ศ. 1934 พระนางมารีเสด็จเยือนอังกฤษอีกครั้ง ทรงพบกับดัชเชสแห่งยอร์ก ผู้ซึ่งทำให้พระนางทรงปลื้มปิติมากประชวรและสิ้นพระชนม์ ประชวรและสิ้นพระชนม์. ในช่วงฤดูร้อนปีค.ศ. 1937 พระนางมารีทรงพระประชวร แพทย์ประจำพระองค์คือ นายแพทย์คัสเตลานี ได้วินิจฉัยว่าพระนางทรงเป็นโรคมะเร็งตับอ่อนแม้ว่าการวินิจฉัยอย่างเป็นทางการจะระบุว่าทรงเป็นโรคตับแข็ง พระนางมารีไม่ใช่นักดื่มและเมื่อทรงได้ยินข่าว พระนางทรงรายงานว่า "มันต้องเป็นโรคตับแข็งที่ไม่มีแอลกอฮอล์แน่ๆ เพราะตลอดทั้งชีวิตของฉัน ฉันไม่เคยลิ้มรสแอลกอฮอล์เลยนะ" พระนางได้ถูกแนะนำให้งดเสวยพระกระยาหารที่เย็นจัด และรับการฉีดยาและบรรทมพักผ่อน ในช่วงนั้นพระนางมารีทรงมีพระวรกายที่อ่อนแอมาก จนพระนางไม่ทรงสามารถแม้แต่จับปากกาได้เลย ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1938 พระนางถูกส่งไปยังโรงพยาบาลในอิตาลี ด้วยหวังว่าพระวรกายจะได้รับการฟื้นฟู ที่นั่นเจ้าชายนิโคลัสและพระชายาของเจ้าชายได้เสด็จเยี่ยมพระนางมารี ซึ่งในที่สุดแล้วพระนางมารีทรงให้อภัยในการกระทำผิดของพระสุณิสา นอกจากนี้ เจ้าหญิงเฮเลน ผู้ซึ่งพระนางไม่ทรงเคยพบอีกเลยตลอดระยะเวลา 7 ปี ได้เสด็จมาเยี่ยมพระนาง รวมทั้งวัลดอร์ฟ อัสเตอร์ด้วย ในที่สุดพระนางมารีทรงถูกย้ายไปรักษาที่โรงพยาบาลในเดรสเดิน ด้วยพระอาการทรุดลงเรื่อยๆ พระนางมารีทรงขอเสด็จกลับโรมาเนียเพื่อที่จะได้สิ้นพระชนม์ที่นั่น พระเจ้าคาโรลปฏิเสธที่จะให้พระนางเสด็จโดยเครื่องบิน และพระนางทรงปฏิเสธบริการทางการแพทย์อากาศที่ฮิตเลอร์ได้ทูลเสนอให้ โดยทรงเลือกเสด็จกลับโรมาเนียโดยรถไฟแทน พระนางทรงเข้าประทับที่ปราสาทเปลิซอร์ พระนางมารีสิ้นพระชนม์ในวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938 เวลา 17.38 น. เป็นเวลาแปดนาทีหลังจากพระอาการอยู่ในช่วงโคม่า พระโอรสธิดาองค์โต คือ พระเจ้าคาโรลและเจ้าหญิงเอลิซาเบธ พร้อมกับเจ้าชายไมเคิล ทรงอยู่กับพระนางในช่วงวาระสุดท้าย สองวันถัดมา ในวันที่ 20 กรกฎาคม พระศพของพระนางมารีได้ถูกนำมาที่บูคาเรสต์ ซึ่งมาประกอบพิธีตั้งพระศพที่ห้องรับแขกสีขาวในพระราชวังโคโทรเซนี โลงพระศพของพระนางได้ล้อมรอบด้วยดอกไม้และเทียนแสงแวววาวและได้รับการรักษาโดยทหารจากกองทหารม้าฮุสซาร์ ผู้คนหลายพันคนเข้าแถวล้อมรอบพระศพของพระนางมารีในช่วงเวลาสามวันของพิธีตั้งพระศพ ในวันที่สาม พระราชวังได้เปิดให้กรรมกรโรงงานเข้ามาร่วมพิธี ขบวนพระศพของพระนางมารีได้ไปยังสถานีรถไฟโดยผ่านประตูชัยโรมาเนีย พระศพของพระนางได้ถูกนำไปยังมหาวิหารเคอร์เทียเดออาร์ก ที่ซึ่งทรงถูกฝังที่นั่น พระหทัยของพระนางมารีถูกวางลงในตลับสีทองประดับด้วยสัญลักษณ์ของมณฑลโรมาเนียและฝังอยู่ที่โบสถ์ Stella Maris ในบอลชิคตามพระราชประสงค์ของพระนาง ในปีค.ศ. 1940 หลังจากมณฑลโดบรูจาใต้ถูกผนวกเข้ากับบัลแกเรียในสนธิสัญญาคราเอียวาในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พระหทัยของพระนางได้ถูกย้ายมาที่ปราสาทบราน ที่ซึ่งเจ้าหญิงอีเลียนาทรงสร้างโบสถ์เพื่อเป็นที่บรรจุพระหทัยและถูกเก็บไว้ในกล่องสองกล่องที่ซ้อนกันอยู่ภายในโลงหินอ่อน พระนางมารีทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียพระองค์สุดท้าย โดยเจ้าหญิงเฮเลนทรงได้รับพระอิสริยยศ "สมเด็จพระราชชนนี" เท่านั้นในระหว่างปีค.ศ. 1940 ถึงค.ศ. 1947 พระนางทรงเป็นหนึ่งในห้าพระราชนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียที่ได้สวมมงกุฎและทรงเป็นหนึ่งในสามที่สามารถรักษาพระอิสริยยศในฐานะสมเด็จพระราชินีได้หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ด้วยกันกับสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีแห่งสเปนมรดก มรดก. ตามที่หนึ่งในนักเขียนพระราชประวัติของพระนางมารี คือ ไดอานา แมนดาเช ได้กล่าวว่า พระนางมารีทรงตีพิมพ์หนังสือและเรื่องสั้น 34 เล่ม ทั้งในภาษาโรมาเนียและภาษาอังกฤษ ตลอดพระชนม์ชีพของพระนาง นี้ได้รวมทั้งอัตชีวประวัติอันน่าสะเทือนใจของพระนางด้วย คือ The Story of My Life ที่ตีพิมพ์โดยคาสเซลในลอนดอน มีทั้งหมดสามเล่ม หนังสือได้รับการวิจารณ์โดยเวอร์จิเนีย วูล์ฟ ซึ่งเธอได้มองว่ามันทำให้รู้สึกคุ้นเคยกับราชวงศ์มากเกินไป เธอได้ระบุว่า "คิดว่าท่ามกลางหนังสือในฤดูใบไม้ร่วงแห่งปี 2034 คือเรื่อง Prometheus Unbound ของจอร์จที่ 6 หรือเรื่อง Wuthering Heights ของเอลิซาเบธที่ 2 อะไรที่จะส่งผลกระทบต่อความจงรักภักดี จักรวรรดิอังกฤษจะอยู่รอดหรือไม่ พระราชวังบักกิ้งแฮมยังคงแข็งแกร่งดังเช่นในตอนนี้หรือไม่ คำพูดเป็นสิ่งที่อันตรายให้เราจำไว้ สาธารณรัฐอาจจะถูกนำเข้ามาในบทกวี" พระนางมารีทรงเก็บรักษาพระอนุทินมาตั้งแต่เดือนธันวาคม ค.ศ. 1918 จนถึงเวลาสั้นๆก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ และเล่มแรกได้ถูกตีพิมพ์ในปีค.ศ. 1996 แม้กระทั่งก่อนการเสด็จขึ้นครองราชย์ในฐานะสมเด็จพระราชินี พระนางมารีทรงประสบความสำเร็จในการสร้างภาพลักษณ์ของพระนางในฐานะ "หนึ่งในเจ้าหญิงที่ดูดีที่สุดและร่ำรวยที่สุดในยุโรป" พระนางทรงเป็ยที่รู้จักอย่างมากในพระอัจฉริยภาพด้านการทรงม้า, การเขียน, ภาพเขียน, การแกะสลัก, การเต้นรำและพระสิริโฉมของพระนาง ความนิยมในตัวพระนางได้ถูกทำให้มัวหมองโดยการกล่าวหาของทั้งสองฝ่าย ฝ่ายแรกคือการดำเนินการของฝ่ายมหาอำนาจกลางในระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และอีกฝ่ายนำโดยทางการพรรคคอมมิวนิสต์หลังจากที่โรมาเนียได้เปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบสาธารณรัฐสังคมนิยมในปีค.ศ. 1947 โรมาเนียในช่วง 42 ปีภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์ พระนางมารีทรงกลายเป็นภาพสลับทั้งเป็น "ตัวแทนของระบอบทุนนิยมอังกฤษ" หรือผู้อุทิศเพื่อชาติที่เชื่อว่าชะตากรรมของพระนางถูกผูกติดไว้กับโรมาเนีย ในปีค.ศ. 1949 หนังสือ Adevărata istorie a unei monarhii ("The True History of a Monarchy") ที่เขียนโดยอเล็กซานดรู การ์เนียตา ได้บรรยายว่า พระนางมารีได้จัดงานเลี้ยงมั่วสุมดื่มสุราที่โคโทรเซนีและบอลชิค และยังอ้างว่าในความเป็นจริงโรคตับแข็งของพระนางมาจากการที่ทรงดื่มอย่างหนัก แม้กระทั่งได้มีการแสดงตัวอย่างว่า พระนางมารีผู้ทรงเมามายมักจะเสด็จด้วยเรือยอชท์ไปพร้อมกับพระสหายเพื่อนดื่มของพระนาง เรื่องราวอื้อฉาวของพระนางมารีได้ถูกยกขึ้นมาเป็นหลักฐานในเรื่องความสำส่อน ซึ่งเป็นสิ่งฝ่าฝืนค่านิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ ในปีค.ศ. 1968 ทางการพรรคคอมนิวนิสต์ได้บุกเข้าไปในโบสถ์ที่เก็บรักษาพระหทัยของพระนางมารี ได้เปิดโลงและนำกล่องพร้อมพระหทัยของพระนางไปไว้ที่ปราสาทบราน ในปีค.ศ. 1971 ได้ถูกย้ายไปเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์โรมาเนียในบูคาเรสต์ มันไม่ได้เปลี่ยนไปจนกระทั่งปลายสมัยของนิโคไล เชาเชสกู ปีสุดท้ายก่อนที่จะเกิดการปฏิวัติโรมาเนีย พระคุณความดีของพระนางมารีได้เป็นที่ยอมรับ ในโรมาเนีย พระนางมารีทรงเป็นที่รู้จักในพระนามว่า "Mama Răniților" (มารดาแห่งผู้เจ็บไข้) หรือทรงถูกเรียกง่ายๆว่า "Regina Maria" ในขณะที่ในประเทศอื่นๆทรงจดจำพระนางในฐานะ "ราชินีทหาร" (Soldier Queen) และ "Mamma Regina" พระนางยังทรงเป็นที่รู้จักในฐานะ "พระสัสสุแห่งบอลข่าน" เนื่องมาจากพระธิดาของพระนางทรงอภิเษกสมรสกับราชวงศ์ในคาบสมุทรบอลข่าน ในช่วงที่พระนางสิ้นพระชนม์ พระธิดาของพระนางมารีทรงปกครองสามในสี่ประเทศของคาบสมุทรบอลข่านยกเว้นแต่บัลแกเรีย แม้ว่าพระสันตติวงศ์ของพระนางจะไม่ได้ครองราชบัลลังก์ยุโรปอีกต่อไปแล้ว พระนางมารีทรงได้รับการถวายพระเกียรติในฐานะ "หนึ่งในบุคคลที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โรมาเนีย" โดยคอนสแตนติน อาร์เกโทเอียนู และในการระลึกถึงพระนาง ได้มีการจัดตั้งเครื่องราชอิสริยาภรณ์กางเขนแห่งสมเด็จพระราชินีมารีขึ้นในโรมาเนีย ก่อนจะถึงปีค.ศ. 2009 สิ่งของหลายชิ้นที่เป็นของพระนางมารีได้ถูกจัดแสดงที่ปราสาทบราน ซึ่งเป็นที่พำนักของพระนางในช่วงบั้นปลายพระชนม์ชีพ และได้กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ ในปีนั้น เมื่อปราสาทได้รับการบูรณะอย่างเป็นทางการโดยทายาทของเจ้าหญิงอีเลียนา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้ย้ายสิ่งของสะสมของพระนางมารีไปไว้ที่อาคารใกล้ๆคือ Vama Medievală ซึ่งยังคงเปิดให้นักท้องเที่ยวเข้าเยี่ยมชม พิพิธภัณฑ์ศิลปะแมรี่ฮิลล์ได้มีการจัดนิทรรศการถาวรภายใต้ชื่อ "มารี สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย" (Marie, Queen of Romania) ที่นี่ได้จัดแสดงทั้งฉลองพระองค์ชุดคลุมในพระราชพิธีราชาภิเษกของพระนาง, มงกุฎจำลอง, เครื่องเงิน, เฟอร์นิเจอร์และเครื่องเพชร รวมทั้งสิ่งของอื่นๆพระโอรสธิดาพระอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และตราอาร์มพระอิสริยยศพระอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และตราอาร์ม. พระอิสริยยศ. - 29 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 10 มกราคม ค.ศ. 1893 : เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินบะระ,เจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์,เจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา,ดัชเชสแห่งแซกโซนี - 10 มกราคม ค.ศ. 1893 - 10 ตุลาคม ค.ศ. 1914: มกุฎราชกุมารีแห่งโรมาเนีย - 10 ตุลาคม ค.ศ. 1914 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1927: สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1927 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938: สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียตราอาร์มอังกฤษ ตราอาร์มอังกฤษ. ในฐานะที่เป็นพระนัดดาขององค์ประมุขอังกฤษที่สืบเชื้อสายมาจากบุรุษ ทำให้พระนางมารีทรงได้รับตราอาร์มแห่งราชอาณาจักร พร้อมโล่ในสำหรับแซกโซนี ที่แตกต่างกันด้วยฉลากเงินห้าจุด คู่ด้านนอกยึดติดด้วยสีฟ้า สีแดงกุหลาบภายในและตรงกลางเป็นกางเขนสีแดง ในปีค.ศ. 1917 โล่ในได้ถูกยกเลิกโดยพระบรมราชานุญาตในพระเจ้าจอร์จที่ 5เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. พระนางมารีทรงได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดังนี้- โรมาเนีย : เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎ ชั้น Grand Cross - ฝรั่งเศส : เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ - ฝรั่งเศส : เครื่องอิสริยาภรณ์เมดายล์มิลิแตร์ - : เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎแห่งอิตาลี - บริติชราช : เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดาราแห่งอินเดีย - สหราชอาณาจักร : เครื่องราชอิสริยาภรณ์กาชาด - สหราชอาณาจักร : เครื่องราชอิสริยาภรณ์วิกตอเรียแอนด์อัลเบิร์ต - สหราชอาณาจักร : เครื่องราชอิสริยาภรณ์เซนต์จอร์จ - สเปน : เครื่องราชอิสริยาภรณ์สมเด็จพระราชินีมาเรีย ลุยซาพระราชตระกูล
สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียทรงเป็นพระมเหสีของกษัตริย์องค์ใด
3533
{ "answer_end": [ 218 ], "answer_start": [ 214 ], "text": [ "98.6" ] }
507847
หอระฆังซันมาร์โก หอระฆังซันมาร์โก (, ) คือ หอระฆังของมหาวิหารซันมาร์โก ในเมืองเวนิส ประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ในลานซันมาร์โก (Piazza San Marco) หอระฆังแห่งนี้คือหนึ่งในสถานที่ที่ผู้คนจดจำได้มากที่สุดของเมือง หอระฆังสูง 98.6 เมตร (323 ฟุต) ตั้งอยู่บนมุมของลานซันมาร์โก ใกล้กับด้านหน้ามหาวิหารซันมาร์โก หอระฆังแห่งนี้มีรูปแบบที่เรียบง่าย สร้างอิฐสี่เหลี่ยมเรียงกันเป็นชั้นๆ เหนือขึ้นไปมีระเบียงล้อมรอบหอระฆัง ซึ่งประกอบด้วยระฆัง 5 ใบ ส่วนบนของหอระฆังเป็นลูกบาศก์สี่เหลี่ยมที่มีรูปหน้าของสิงโตซันมาร์โก (Lion of Saint Mark) ประดับอยู่โดยรอบ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของสาธารณรัฐเวนิสและตัวแทนผู้หญิงของเมืองเวนิส หลังคาของหอระฆังถูกครอบด้วยยอดแหลมทรงพีระมิด และยอดบนสุดประดับด้วยกังหันอากาศ (weather vane) ในรูปแบบของอัครทูตสวรรค์กาเบรียล (archangel Gabriel) หอระฆังแห่งนี้สร้างขึ้นในรูปแบบของหอเดิม ที่สร้างตั้งแต่ ค.ศ. 1514 โดยหอระฆังปัจจุบันถูกสร้างขึ้นใหม่ใน ค.ศ. 1912 หลังจากการพังทลายใน ค.ศ. 1902 และมีซ่อมใหม่ฐานรากใหม่เพื่อที่จะหยุดการทรุดตัวของหอระฆังการจำลองอาคาร การจำลองอาคาร. หอระฆังซันมาร์โกเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบอาคารอื่นๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะอาคารต่างๆ ในเขตเมืองเวนิช ที่ออกแบบอาคารใกล้เคียงกับหอระฆังแต่มีขนาดเล็กกว่า แบบจำลองหอระฆังซันมาร์โกยังปรากฏอยู่ทั่วโลก ได้แก่- เมืองบริสเบน ออสเตรเลีย - เมืองเดนเวอร์ สหรัฐอเมริกา - นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา - ตึกเมโทรโพลิแทน ไลฟ์ อินชัวเรนซ์ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา - เดอะเวเนเชียน (ลาสเวกัส) เมืองลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา - เดอะเวเนเชี่ยนมาเก๊า เขตบริหารพิเศษมาเก๊า - รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา - เมืองบาร์เซโลนา ประเทศสเปน
หอระฆังซันมาร์โก ในประเทศอิตาลี สูงกี่เมตร
3534
{ "answer_end": [ 87 ], "answer_start": [ 82 ], "text": [ "8,456" ] }
142515
แคว้นอุมเบรีย อุมเบรีย () เป็นหนึ่งในยี่สิบแคว้นของประเทศอิตาลี มีเนื้อที่ทั้งหมด 8,456 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 900,000 คน แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 จังหวัด คือ จังหวัดเปรูจาและจังหวัดแตร์นี เมืองหลักของแคว้นคือเปรูจาภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. อุมเบรียเป็นแคว้นที่อยู่ตอนกลางของประเทศอิตาลี มีแคว้นตอสคานาอยู่ทางตะวันตก แคว้นมาร์เคทางตะวันออก และแคว้นลัตซีโยทางใต้ พึ้นที่ส่วนใหญ่เป็นเนินและภูเขาโดยมีเทือกเขาแอเพนไนน์อยู่ทางตะวันออก โดยมีมอนเตเวตโตเร (Monte Vettore) เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดอยู่ระหว่างเขตแดนของแคว้นกับลุ่มแม่น้ำไทเบอร์
แคว้นอุมเบรียในประเทศอิตาลีมีเนื้อที่ทั้งหมดกี่ตารางกิโลเมตร
3535
{ "answer_end": [ 79 ], "answer_start": [ 70 ], "text": [ "สมอลล์รูม" ] }
282227
เดอะริชแมนทอย เดอะริชแมนทอย () หรือเรียกย่อ ๆ ว่า TRMT วงดนตรีในสังกัดสมอลล์รูม มีเพลงที่ได้รับความนิยม เช่น แดนสวรรค์คอยอยู่ ม้าป่า สะดุดรัก กระเป๋าแบนแฟนยิ้ม และ อ๊อด อ๊อดประวัติสมาชิกสมาชิกปัจจุบันสมาชิกในอดีตผลงานอัลบั้มแดนสวรรค์คอยอยู่ (พ.ศ. 2550)ผลงาน. อัลบั้ม. แดนสวรรค์คอยอยู่ (พ.ศ. 2550). 1. แดนสวรรค์คอยอยู่ 2. มนต์รักยาเสน่ห์ 3. ราชานักรัก 4. สตรอเบอร์รี่เกิร์ล 5. สาวน้อยคาราโอเกะ 6. ร็อกสตาร์ 7. ฟลอร์ทองหล่อ 8. สะดุดรัก 9. ทุ่งดอกไม้บาน 10. ม้าป่าลำนำสะดิ้งเลิฟยู (พ.ศ. 2552)ลำนำสะดิ้งเลิฟยู (พ.ศ. 2552). 1. ลำนำสะดิ้งเลิฟยู 2. กระเป๋าแบนแฟนยิ้ม 3. รักจริงผ่านจอ 4. รอน้องจอดหัวใจ 5. หนังซ้ำ 6. กฎแห่งกรรม 7. พลังวัยรุ่น 8. เปิ๊ดสะก๊าด 9. อ๊อด อ๊อด 10. คนที่ห้า + Hidden Track ผู้ชนะที่พ่ายแพ้เดอะ ริชแมน ไทย (พ.ศ. 2555)เดอะ ริชแมน ไทย (พ.ศ. 2555). 1. กรรมกู๊ 2. คนรวยน้ำใจ 3. ฉิ่งฉับชัวร์ 4. ประชาธิปใจ 5. ธิดาประจำอำเภอ 6. โป๊ะแตก 7. เก๊ก 8. อ้าว! 9. โก้โก้ 10. ซูเปอร์แฟน 11. ซ่า ได้ อาย อด 12. หัวใจไม่กระดึ๊บตะวันเลียตูด (พ.ศ. 2560)ตะวันเลียตูด (พ.ศ. 2560). 1. ตะวันเลียตูด 2. บินถลาลม 3. สวรรค์สาป 4. ก่ายตีนลอยน้ำ 5. แอลกอฮอล์ริเริ่ม 6. คิดดี ๆ 7. รวยเละ 8. หลงพระจันทร์ 9. แฟนหาย 10. รู้ 11. มอ 12. เหงาเป็นบ้า 13. รักดู 14. ใคร ๆ ก็ทำกัน 15. ร้องเพลงเดอะริชแมนทอยผลงานอื่น ๆผลงานอื่น ๆ. - เพลง "สาวรำวง" และ "ดาวเด่น" ในอัลบั้ม Showroom สังกัด จีนี่เรคอร์ดส (พ.ศ. 2547) - เพลง "คนใจง่าย" เป็นเพลง Cover ของไอซ์ ศรัณยู ในอัลบั้ม Sanamluang Connect 02 สังกัด สนามหลวงมิวสิก (พ.ศ. 2550) - เพลง "ผู้ชนะที่พ่ายแพ้" แต่งขึ้นเนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง (พ.ศ. 2551) - เพลง "แต่งงานกันเด้อ" feat. หม่ำ จ๊กมก เพลงประกอบภาพยนตร์ แหยม ยโสธร 2 (พ.ศ. 2552) - เพลง "ซุปเปอร์แฟน" เพลงประกอบภาพยนตร์ 8E88 แฟนลั้ลลา (พ.ศ. 2553) - เพลง "หัวใจไม่กระดึ๊บ" เพลงประกอบภาพยนตร์ กระดึ๊บ (พ.ศ. 2553) - มิวสิกวิดีโอ เพลง "ขอความสุขคืนกลับมา" (พ.ศ. 2553) - เพลง "แบ่ง" เพลงประกอบภาพยนตร์ ยักษ์ (พ.ศ. 2555) - เพลง "แฟนคันแรก" (ร่วมกับ โฟร์-มด ในอัลบั้ม "Club FM" ของโฟร์-มด) (พ.ศ. 2556) - เพลง "บัวลอย" OST. คาราบาว เดอะซีรี่ส์ (พ.ศ. 2556) - เพลง "คนจนผู้ยิ่งใหญ่" OST. คาราบาว เดอะซีรี่ส์ (พ.ศ. 2556) - เพลง "อยากบอกรัก" (เพลงประกอบโฆษณา เดนทีน ร่วมกับ อุรัสยา เสปอร์บันด์) (พ.ศ. 2556) - เพลง "มหาลัย" OST. คาราบาว เดอะซีรี่ส์ (พ.ศ. 2557) - เพลง "ลบ" ประกอบโฆษณา ปากกาลบคำผิด ตราช้าง - เพลง "บินถลาลม" OST. โปรเจกต์ เอส เดอะซีรีส์ ตอน SOS Skate ซึม ซ่าส์ซิงเกิ้ลซิงเกิ้ล. - พ.ศ. 2554 - "ซ่า ได้ อาย อด" - พ.ศ. 2557 - " มาเด้อ | mother" - พ.ศ. 2558 - "ไม่สวยแต่อร่อย | Ugly Beauty" - พ.ศ. 2559 - "รักไม่มีราคา"คอนเสิร์ตคอนเสิร์ต. - กระทิงแดง ภูมิใจเสนอ [V] The Richman Toy อ๊อดทะลุเป้า คอนเสิร์ตกลางแจ้ง แต่แสดงในร่ม โดย แชนแนลวีไทยแลนด์ 5 มิถุนายน 2553 ณ อินดอร์สเตเดียม สนามกีฬาหัวหมากรางวัลรางวัล. - รางวัลศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7 - รางวัลศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2009ข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลเพิ่มเติม. - เสียงเหน่อของแจ๊ปได้แรงบันดาลใจมาจาก บ๊อบ ดีแลน - ปกอัลบั้ม ลำนำสะดิ้งเลิฟยู และมิวสิกวิดีโอเพลง กระเป๋าแบนแฟนยิ้ม ถ่ายทำที่สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) - การออกแบบแพ็กเกจซิงเกิล "กระเป๋าแบนแฟนยิ้ม" ได้แรงบันดาลใจจากเช็คช่วยชาติของรัฐบาล - เพลง กฎแห่งกรรม ในอัลบั้ม ลำนำสะดิ้งเลิฟยู แต่งโดย รัฐ พิฆาตไพรี มือกีตาร์แทตทูคัลเลอร์ เพื่อตอบแทนที่แจ๊ปแต่งเพลง Cinderella ให้วงของเขาในอัลบั้ม "ชุดที่ 8 จงเพราะ" ซึ่งต่อมาได้นำไปประกอบภาพยนตร์เรื่อง 9 วัด - อัคราวิชญ์มีอีกหน้าที่หนึ่งเป็นครูสอนเบสและการรวมวงขนาดเล็กที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล - วีรณัฐ (แจ๊ป) เป็นเจ้าของร้านขายเสื้อผ้า "ม้าป่า" ที่ตลาดนัดจตุจักร ซึ่งเสื้อผ้าของร้านแจ๊ปได้นำมาใช้ในวงด้วย - กิฟท์ วสุ ปาลิโพธิ เรียนดนตรีที่โรงเรียนดนตรีเกษตรศิลป์ ถนนสามัคคี จังหวัดนนทบุรี
เดอะริชแมนทอยเป็นวงดนตรีที่สังกัดอยู่ในค่ายเพลงใด
3536
{ "answer_end": [ 27 ], "answer_start": [ 14 ], "text": [ "เดอะริชแมนทอย" ] }
282227
เดอะริชแมนทอย เดอะริชแมนทอย () หรือเรียกย่อ ๆ ว่า TRMT วงดนตรีในสังกัดสมอลล์รูม มีเพลงที่ได้รับความนิยม เช่น แดนสวรรค์คอยอยู่ ม้าป่า สะดุดรัก กระเป๋าแบนแฟนยิ้ม และ อ๊อด อ๊อดประวัติสมาชิกสมาชิกปัจจุบันสมาชิกในอดีตผลงานอัลบั้มแดนสวรรค์คอยอยู่ (พ.ศ. 2550)ผลงาน. อัลบั้ม. แดนสวรรค์คอยอยู่ (พ.ศ. 2550). 1. แดนสวรรค์คอยอยู่ 2. มนต์รักยาเสน่ห์ 3. ราชานักรัก 4. สตรอเบอร์รี่เกิร์ล 5. สาวน้อยคาราโอเกะ 6. ร็อกสตาร์ 7. ฟลอร์ทองหล่อ 8. สะดุดรัก 9. ทุ่งดอกไม้บาน 10. ม้าป่าลำนำสะดิ้งเลิฟยู (พ.ศ. 2552)ลำนำสะดิ้งเลิฟยู (พ.ศ. 2552). 1. ลำนำสะดิ้งเลิฟยู 2. กระเป๋าแบนแฟนยิ้ม 3. รักจริงผ่านจอ 4. รอน้องจอดหัวใจ 5. หนังซ้ำ 6. กฎแห่งกรรม 7. พลังวัยรุ่น 8. เปิ๊ดสะก๊าด 9. อ๊อด อ๊อด 10. คนที่ห้า + Hidden Track ผู้ชนะที่พ่ายแพ้เดอะ ริชแมน ไทย (พ.ศ. 2555)เดอะ ริชแมน ไทย (พ.ศ. 2555). 1. กรรมกู๊ 2. คนรวยน้ำใจ 3. ฉิ่งฉับชัวร์ 4. ประชาธิปใจ 5. ธิดาประจำอำเภอ 6. โป๊ะแตก 7. เก๊ก 8. อ้าว! 9. โก้โก้ 10. ซูเปอร์แฟน 11. ซ่า ได้ อาย อด 12. หัวใจไม่กระดึ๊บตะวันเลียตูด (พ.ศ. 2560)ตะวันเลียตูด (พ.ศ. 2560). 1. ตะวันเลียตูด 2. บินถลาลม 3. สวรรค์สาป 4. ก่ายตีนลอยน้ำ 5. แอลกอฮอล์ริเริ่ม 6. คิดดี ๆ 7. รวยเละ 8. หลงพระจันทร์ 9. แฟนหาย 10. รู้ 11. มอ 12. เหงาเป็นบ้า 13. รักดู 14. ใคร ๆ ก็ทำกัน 15. ร้องเพลงเดอะริชแมนทอยผลงานอื่น ๆผลงานอื่น ๆ. - เพลง "สาวรำวง" และ "ดาวเด่น" ในอัลบั้ม Showroom สังกัด จีนี่เรคอร์ดส (พ.ศ. 2547) - เพลง "คนใจง่าย" เป็นเพลง Cover ของไอซ์ ศรัณยู ในอัลบั้ม Sanamluang Connect 02 สังกัด สนามหลวงมิวสิก (พ.ศ. 2550) - เพลง "ผู้ชนะที่พ่ายแพ้" แต่งขึ้นเนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง (พ.ศ. 2551) - เพลง "แต่งงานกันเด้อ" feat. หม่ำ จ๊กมก เพลงประกอบภาพยนตร์ แหยม ยโสธร 2 (พ.ศ. 2552) - เพลง "ซุปเปอร์แฟน" เพลงประกอบภาพยนตร์ 8E88 แฟนลั้ลลา (พ.ศ. 2553) - เพลง "หัวใจไม่กระดึ๊บ" เพลงประกอบภาพยนตร์ กระดึ๊บ (พ.ศ. 2553) - มิวสิกวิดีโอ เพลง "ขอความสุขคืนกลับมา" (พ.ศ. 2553) - เพลง "แบ่ง" เพลงประกอบภาพยนตร์ ยักษ์ (พ.ศ. 2555) - เพลง "แฟนคันแรก" (ร่วมกับ โฟร์-มด ในอัลบั้ม "Club FM" ของโฟร์-มด) (พ.ศ. 2556) - เพลง "บัวลอย" OST. คาราบาว เดอะซีรี่ส์ (พ.ศ. 2556) - เพลง "คนจนผู้ยิ่งใหญ่" OST. คาราบาว เดอะซีรี่ส์ (พ.ศ. 2556) - เพลง "อยากบอกรัก" (เพลงประกอบโฆษณา เดนทีน ร่วมกับ อุรัสยา เสปอร์บันด์) (พ.ศ. 2556) - เพลง "มหาลัย" OST. คาราบาว เดอะซีรี่ส์ (พ.ศ. 2557) - เพลง "ลบ" ประกอบโฆษณา ปากกาลบคำผิด ตราช้าง - เพลง "บินถลาลม" OST. โปรเจกต์ เอส เดอะซีรีส์ ตอน SOS Skate ซึม ซ่าส์ซิงเกิ้ลซิงเกิ้ล. - พ.ศ. 2554 - "ซ่า ได้ อาย อด" - พ.ศ. 2557 - " มาเด้อ | mother" - พ.ศ. 2558 - "ไม่สวยแต่อร่อย | Ugly Beauty" - พ.ศ. 2559 - "รักไม่มีราคา"คอนเสิร์ตคอนเสิร์ต. - กระทิงแดง ภูมิใจเสนอ [V] The Richman Toy อ๊อดทะลุเป้า คอนเสิร์ตกลางแจ้ง แต่แสดงในร่ม โดย แชนแนลวีไทยแลนด์ 5 มิถุนายน 2553 ณ อินดอร์สเตเดียม สนามกีฬาหัวหมากรางวัลรางวัล. - รางวัลศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 7 - รางวัลศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2009ข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลเพิ่มเติม. - เสียงเหน่อของแจ๊ปได้แรงบันดาลใจมาจาก บ๊อบ ดีแลน - ปกอัลบั้ม ลำนำสะดิ้งเลิฟยู และมิวสิกวิดีโอเพลง กระเป๋าแบนแฟนยิ้ม ถ่ายทำที่สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) - การออกแบบแพ็กเกจซิงเกิล "กระเป๋าแบนแฟนยิ้ม" ได้แรงบันดาลใจจากเช็คช่วยชาติของรัฐบาล - เพลง กฎแห่งกรรม ในอัลบั้ม ลำนำสะดิ้งเลิฟยู แต่งโดย รัฐ พิฆาตไพรี มือกีตาร์แทตทูคัลเลอร์ เพื่อตอบแทนที่แจ๊ปแต่งเพลง Cinderella ให้วงของเขาในอัลบั้ม "ชุดที่ 8 จงเพราะ" ซึ่งต่อมาได้นำไปประกอบภาพยนตร์เรื่อง 9 วัด - อัคราวิชญ์มีอีกหน้าที่หนึ่งเป็นครูสอนเบสและการรวมวงขนาดเล็กที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล - วีรณัฐ (แจ๊ป) เป็นเจ้าของร้านขายเสื้อผ้า "ม้าป่า" ที่ตลาดนัดจตุจักร ซึ่งเสื้อผ้าของร้านแจ๊ปได้นำมาใช้ในวงด้วย - กิฟท์ วสุ ปาลิโพธิ เรียนดนตรีที่โรงเรียนดนตรีเกษตรศิลป์ ถนนสามัคคี จังหวัดนนทบุรี
กระเป๋าแบนแฟนยิ้มเป็นเพลงของวงดนตรีวงใด
3537
{ "answer_end": [ 15 ], "answer_start": [ 8 ], "text": [ "สครับบ์" ] }
50804
สครับบ์ สครับบ์ () เป็นศิลปินคู่หูดูโอสัญชาติไทย จากสังกัดค่าย บีอีซี-เทโร มิวสิค อันประกอบด้วย บอล - ต่อพงศ์ จันทบุบผา และ เมื่อย - ธวัชพนธ์ วงศ์บุญศิริประวัติ ประวัติ. สครับบ์เกิดจากการรวมตัวของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ (ทับแก้ว) อันประกอบไปด้วย บอล - ต่อพงศ์ จันทบุบผา เป็นคนนครปฐม ผูกพันกับดนตรีและรั้วศิลปากรมาตั้งแต่เด็ก เพราะบ้านอยู่ใกล้ศิลปากร และเมื่อย - ธวัชพนธ์ วงศ์บุญศิริ เป็นคนกรุงเทพ ใฝ่ฝันอยากเล่นดนตรี แต่พ่อห้าม ด้วยความดันทุรัง พ่อยอมรับในสิ่งที่เมื่อยรัก ตอนเมื่อยอยู่ปี 1 ได้เติมความฝันด้วยการเข้าชมรมดนตรีสากลและเจอบอล เป็นประธานชมรมปี 4 เมื่อยยังแต่งเพลงและเล่นกีตาร์ได้ และทำให้บอลจึงชวนเมื่อยเล่นดนตรีกัน หลังจากบอลเรียนจบได้กลับมาช่วยเมื่อยในเส้นทางดนตรี หลังเมื่อยเรียนจบได้หาประสบการณ์ดนตรี และบอลเคยตั้งวงและออกกำลังอัลบั้มแต่เพื่อนร่วมวงตัดสินใจเปลี่ยนเลยทำให้ต้องหาสมาชิกใหม่มาขับเคลื่อนความฝันต่อ บอลชวนเมื่อยมาร่วมวง Eye ทั้งคู่เจอโปรดิวเซอร์ ฟั่น-โกมล บุญเพียรผล และออกอัลบั้มโปรเจกต์ Intro 2000 กับสังกัด จีนี่เรคอร์ดส ในเครือ แกรมมี่ ในปี พ.ศ. 2542 มีเพลงที่เป็นที่รู้จัก วันนี้ดีจัง โดยบอลเป็นคนร้องนำ โดยเป็นเพลงที่ประสบความสำเร็จสุดในอัลบั้มดังกล่าว ซึ่งอัลบั้มโปรเจกต์นั้นมี พลพล พลกองเส็ง , แซตเทอร์เดย์เซย์โกะ , พาราด็อกซ์ , วีนัส ยกเว้นแค่วง Eye เพราะติดขัดในการนำเสนอเดโมทางค่ายไม่ผ่าน ปี พ.ศ. 2543 ทั้งคู่ตัดสินใจเดินตามเส้นทางที่ชอบโดยการออกอัลบั้มใต้ดินร่วมกับวงซาวนด์อเบาท์ในนาม scrubb & soundabout ที่มาของชื่อสครับบ์ ได้มาจากครีมกวนอิมสครับบ์ เมื่อยตั้งใจที่จะใช้ชื่อสครับบ์ พอลงทะเบียนอัปโหลดเพลงเพื่อเผยแผร่ใน www.mp3.com แล้วชื่อซ้ำ จึงจำเป็นต้องเติม b เพิ่ม ทำให้ชื่อดูมีเอกลักษณ์ขึ้นมา ส่วนอัลบั้มเป็นเทปแยกหน้าเอหน้าบี หน้าเอจะเป็นของสครับบ์ ส่วนหน้าบีเป็นของซาวนด์อเบาท์ แล้วเผยแผร่เพลงตามเว็ปไซต์ดนตรีต่าง ๆ และทั้งคู่ได้ฝากอัลบั้มให้กับร้านเทปชั้นนำจำนวนมาก อีกทั้งทั้งคู่ได้ตัดสินใจเผยแพร่ผลงานให้กับ VFM (ปัจจุบันคือ Cat Radio) แล้วปล่อยเพลง ชูบีดูบีดั้บ จนติดอันดับที่ 12 ในชาร์ต หลังจากออกอัลบั้มใต้ดินเสร็จ ทั้งคู่แยกย้ายไปทำงาน หลังจากนั้นตลาดเพลงอินดี้กลับมาบูมอีกครั้งหนึ่ง ปี พ.ศ. 2545 นิตรสารอะเดย์นิตรสารขวัญใจวัยรุ่น มีโปรเจกต์อัลบั้มในนาม อะเดย์เรดคอร์ด โดยทั้งคู่ส่งเดโม่เพลง โรงเรียน (โรงเลียน) และออกอัลบั้มในโปรเจกต์นั้นด้วย เมื่อยได้ไปเทศกาลดนตรีแฟตเฟลติวัลและประทับใจมาก และเป็นแรงผลักดันให้กับวงสครับบ์ได้ไปแสดงแฟตเฟสติวัลครั้งที่ 2 แฟนเพลงให้ความสนใจอย่างคับคั่ง หลังจากนั้นทั้งคู่ก็ได้เพิ่มเพลง ทุกอย่าง แล้วขายที่งาน live in a day จนกระทั่งค่าย แบล๊กชีพ ในเครือของโซนี่ มิวสิค สนใจผลงานของสครับบ์ เพราะต้องการวงที่ทำเพลงเอง ทำให้เมื่อยเดินทางเส้นทางดนตรี หลังจากความตั้งใจที่จะทำงานที่ภูเก็ต ฟั่น ได้มาเป็นโปรดิวเซอร์ของสครับบ์ แล้วทั้งคู่ก็ได้ออกซิงเกิ้ลแรกของวง ทุกอย่าง ในอัลบั้ม แบล็กชีพโปรเจกต์ จนติดชาร์ตอันดับ 1 ของแฟต เรดิโอ 2 สัปดาห์ซ้อน ปีถัดมา พ.ศ. 2546 สครับบ์ออกอัลบั้มชุดที่ 1 sssss.! มีเพลงฮิตอย่าง เธอ, ทุกอย่าง , กลัว , Art bar , เก็บมันเอาไว้ , และนำเพลงโรงเรียน (โรงเลียน) และชูบีดูบีดั๊บ เพลงใต้ดินรวมอยู่ในอัลบั้มดังกล่าวด้วย อีกทั้งอัลบั้มนี้ยังเปลี่ยนปกอัลบั้มบ่อยด้วย และประสบความสำเร็จอย่างมาก จนได้รับรางวัลศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม Fat Award ครั้งที่ 2 และรางวัลอินดี้ยอดเยี่ยม Hamburger Award 2003 2 ปีถัดมา พ.ศ. 2548 สครับบ์ออกอัลบั้มชุดที่ 2 club เพลงฮิตอย่าง เพลง , เวลา , ใกล้ , คู่กัน , see scape และเพลงพิเศษ รักกันหนอ ซึ่งเป็นเพลงเก่าจากวง ดิอิมพอสซิเบิ้ล อีกทั้งเพลง คู่กัน เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์ ก็เคยสัญญา ปี พ.ศ. 2549 สครับบ์ออกซิงเกิ้ล กอดหมอน และนำเพลงเก่าจากวงพอส มาขับร้องในอัลบั้ม Dedicated To Pause หนึ่งปีถัดมา ปี พ.ศ. 2550 สครับบ์ออกอัลบั้มอีพีชุดที่ 3 mood มีเพลงฮิตอย่าง เข้ากันดี , ย้อนเวลา , เก็บไว้กับเธอ อัลบั้มนี้มีจำนวน 5 เพลง และเพลง Inchan Tree (ต้นอินจัน) ได้ชื่อจากรีสอร์ทแห่งหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรี นอกจากนี้ได้ออกซิงเกิ้ล ยังอยากรู้ ร้องโดยบอล และเอิ้น พียะระดา และ นอกหน้าต่าง ร้องโดยเมื่อยและ Funny Wah Wah ซึ่งเป็นแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ในอัลบั้มโปรเจกต์แฟตโครต 2 และอัลบั้มรวมฮิต scrubb box set ประกอบด้วยเพลงจากอัลบั้ม sssss..! Club เพลงพิเศษ และมิวสิควิดิโอเพลงอื่น ๆ พ.ศ. 2551 ออกอัลบั้มชุดที่ 4 ชุดเล็ก อัลบั้มพิเศษที่เอาเพลงดังของวง เฉลียง เธอหมุนรอบฉัน ฉันหมุนรอบเธอ มาขับร้องใหม่และประสบความสำเร็จอย่างมาก รวมทั้งมีเพลงใหม่ 2 เพลงอย่าง เพลงของเรา , ให้เธอ และนำพลงดังของสครับบ์มาเรียบเรียงในสไตล์สบาย ๆ อัลบั้มชุดนี้ประสบความสำเร็จ จนได้รางวัลศิลปินคู่แห่งปี Seed Award 2008 ปีถัดมา สครับบ์ได้ออกซิงเกิ้ล สุหครับ ร่วมกับ สุหฤทธิ์ สยามวาลา ในแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ และ scrubb you voice เป็นอัลบั้มรวมฮิตของ scrubb ในรูปแบบของคาราโอเกะ และพวกเขาก็ได้ออกอัลบั้มชุดที่ 5 Kid มีเพลงฮิตอย่าง คำตอบ , คนนี้ , รอยต่อ , คิด , พร้อม ทั้งคู่ได้รางวัลนักร้องดูโอหรือกลุ่มยอดเยี่ยมและอัลบั้มยอดเยี่ยมจากงานประกาศรางวัล Fat Radio 2010 นอกจากนี้ได้ออกซิงเกิ้ล สุดสัปดาห์ และ รักที่ผ่านพ้นไป เพลงเก่าของกรู๊ฟไรเดอร์ส มาเรียบเรียงในสไตล์บอสซ่า ในอัลบั้ม Bossa In Loveสมาชิกสมาชิก. - ธวัชพนธ์ วงศ์บุญศิริ (เมื่อย) ร้องนำ ยังทำงานด้านจัดอีเวนท์ภายใต้ชื่อ dood - ต่อพงศ์ จันทบุบผา (บอล) กีต้าร์ ปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการฝ่ายคัดสรรและพัฒนาศิลปินของค่ายเพลง What The Duckผลงานสตูดิโออัลบั้มอีพีอัลบั้มรวมเพลงซิงเกิลในฐานะศิลปินร้องนำในฐานะศิลปินรับเชิญรางวัลรางวัล. - ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม - Fat Awards 2003 - อัลบั้มอินดี้ยอดเยี่ยม (‘scrubb’) – Hamburger Awards 2003 - ศิลปินคู่แห่งปี – seed Awards 2008 - DUO OR GROUP ARTIST - Fat Awards 2010 - ALBUM OF THE YEAR : KID - Fat Awards 2010
บอล ต่อพงศ์ จันทบุบผา และ เมื่อย ธวัชพนธ์ วงศ์บุญศิริ เป็นศิลปินของวงดนตรีที่มีชื่อว่าอะไร
3540
{ "answer_end": [ 99 ], "answer_start": [ 96 ], "text": [ "แตร" ] }
601182
มะเขือบ้าดอกขาว มะเขือบ้าดอกขาว เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นพืชฤดูเดียว ดอกเป็นหลอดปลายบานคล้ายแตรสีขาว ผลเป็นแบบกระเปาะ ที่ผิวมีหนาม มีถิ่นกำเนิดในเม็กซิโก และทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐ มีฤทธิ์หลอนประสาท ทุกส่วนของพืชชนิดนี้มีพิษทั้งต่อคนและสัตว์ ในบางท้องที่ห้ามซื้อขายพืชชนิดนี้ ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับได้
ดอกของมะเขือบ้าดอกขาวมีลักษณะคล้ายสิ่งใด
3541
{ "answer_end": [ -11222 ], "answer_start": [ -11228 ], "text": [ "กิมย้ง" ] }
8140
หลงไหลอาจื่อ จนไม่สนใจอะไรเป็นคนมีฝีมือ แต่กลับไม่เอาอะไรเลยนอกจากอาจื่อคนเดียวตัวละครอื่นตัวละครอื่น. - จงหลิง (ก๋วยเจ๋ง) - เตาไป๋เฟิ่ง (ตอแปะหงส์) - หวังฮูหยิน (เฮ้งฮูหยิน) - หย่วนซิงจู๋ (ง้วนแชเต็ก) - ฉินหงเหมียน (ฉิ่งอั้งมี้) - กานเป๋าเป่า (กำปอป่อ) - คังเหมี่ยน, หม่าฮูหยิน (เบ๊ฮูหยิน) - เยวี่ยเอ้อเหนียง (เอี๊ยบยี่เนี้ย) - เทียนซานถงเหล่า (นางเฒ่าทาริกา) - หลี่ชิวสุ่ย (ลี้ชิวจุ้ย) - หลี่ปี้หยุน (พี่นางฟ้า) - สี่คนโฉด - ติงชุนชิว หรือ เต็งชุนชิว - โหยวตั้นจือ หรือ อิ้วถานจื่อการดัดแปลงในสื่ออื่นภาพยนตร์ละครโทรทัศน์
ใครคือผูแต่งนิยายกำลังภายในเรื่องแปดเทพอสูรมังกรฟ้า
3542
{ "answer_end": [ 150 ], "answer_start": [ 144 ], "text": [ "นกปรอด" ] }
492947
นกพรานผึ้ง นกพรานผึ้ง (; ) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกพรานผึ้ง (Indicatoridae) เป็นนกขนาดเล็ก (จะงอยปากถึงปลายหาง 17 เซนติเมตร) ลักษณะคล้ายนกปรอดมาก แต่จะงอยปากหนาและอวบกว่า จะงอยปากสีคล้ำแต่ปากล่างสีจางกว่า ลำตัวด้านบนสีเทาแกมเขียว ลำตัวด้านล่างขาว อกสีเทาแกมขาว ข้างลำตัวมีลายขีดดำ ตาสีน้ำตาลแดงหรือสีน้ำตาลในนกวัยอ่อน ตัวผู้ที่หัวไหล่มีแถบเหลืองเล็ก ๆ ตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้แต่ไม่มีแถบเหลือง มีเสียงร้องคล้ายแมว คือ "เมี้ยว" นกพรานผึ้ง เป็นนกที่กินผึ้ง, ตัวอ่อนของผึ้ง และขี้ผึ้งเป็นอาหาร รวมถึงตัวต่อ ถึงขนาดบุกเข้าไปกินถึงในรวงผึ้ง โดยที่ไม่ได้รับอันตรายจากเหล็กไนของผึ้ง ทั้งนี้เป็นเพราะมีปีกที่หนาที่เหล็กไฟผึ้งทำอันตรายไม่ได้ และมีผู้เชื่อว่ามีกลิ่นตัวแรงจนผึ้งไม่กล้าเข้าใกล้ แต่เรื่องนี้ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ นกพรานผึ้ง เป็นนกที่มีพฤติกรรมอยู่ลำพังเพียงตัวเดียว นานครั้งจึงเห็นอยู่เป็นคู่ เป็นนกที่บินได้เก่งและเร็ว และเป็นนกประจำถิ่น จะอยู่ในถิ่นใดถิ่นหนึ่งไปตลอด ต่อเมื่อนกตัวเก่าตายไป นกตัวใหม่ถึงเข้ามาอยู่แทน ในประเทศไทยมีรายงานพบเห็นเพียงไม่กี่ครั้ง ในป่าในเขตชายแดนภาคใต้ที่ติดกับมาเลเซีย นอกจากนี้ยังมีรายงานพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง จังหวัดตาก ในป่าดิบชื้นและป่าดิบแล้ง ทั้งในพื้นที่ราบและที่สูงจากระดับน้ำทะเล 900 เมตร จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย
นกพรานผึ้งมีลักษณะคล้ายนกชนิดใด
3543
{ "answer_end": [ 421 ], "answer_start": [ 418 ], "text": [ "แมว" ] }
492947
นกพรานผึ้ง นกพรานผึ้ง (; ) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกพรานผึ้ง (Indicatoridae) เป็นนกขนาดเล็ก (จะงอยปากถึงปลายหาง 17 เซนติเมตร) ลักษณะคล้ายนกปรอดมาก แต่จะงอยปากหนาและอวบกว่า จะงอยปากสีคล้ำแต่ปากล่างสีจางกว่า ลำตัวด้านบนสีเทาแกมเขียว ลำตัวด้านล่างขาว อกสีเทาแกมขาว ข้างลำตัวมีลายขีดดำ ตาสีน้ำตาลแดงหรือสีน้ำตาลในนกวัยอ่อน ตัวผู้ที่หัวไหล่มีแถบเหลืองเล็ก ๆ ตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้แต่ไม่มีแถบเหลือง มีเสียงร้องคล้ายแมว คือ "เมี้ยว" นกพรานผึ้ง เป็นนกที่กินผึ้ง, ตัวอ่อนของผึ้ง และขี้ผึ้งเป็นอาหาร รวมถึงตัวต่อ ถึงขนาดบุกเข้าไปกินถึงในรวงผึ้ง โดยที่ไม่ได้รับอันตรายจากเหล็กไนของผึ้ง ทั้งนี้เป็นเพราะมีปีกที่หนาที่เหล็กไฟผึ้งทำอันตรายไม่ได้ และมีผู้เชื่อว่ามีกลิ่นตัวแรงจนผึ้งไม่กล้าเข้าใกล้ แต่เรื่องนี้ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ นกพรานผึ้ง เป็นนกที่มีพฤติกรรมอยู่ลำพังเพียงตัวเดียว นานครั้งจึงเห็นอยู่เป็นคู่ เป็นนกที่บินได้เก่งและเร็ว และเป็นนกประจำถิ่น จะอยู่ในถิ่นใดถิ่นหนึ่งไปตลอด ต่อเมื่อนกตัวเก่าตายไป นกตัวใหม่ถึงเข้ามาอยู่แทน ในประเทศไทยมีรายงานพบเห็นเพียงไม่กี่ครั้ง ในป่าในเขตชายแดนภาคใต้ที่ติดกับมาเลเซีย นอกจากนี้ยังมีรายงานพบในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง จังหวัดตาก ในป่าดิบชื้นและป่าดิบแล้ง ทั้งในพื้นที่ราบและที่สูงจากระดับน้ำทะเล 900 เมตร จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย
นกพรานผึ้งมีเสียงร้องคล้ายสัตว์ชนิดใด
3544
{ "answer_end": [ 89 ], "answer_start": [ 80 ], "text": [ "อาร์ สยาม" ] }
76159
สมมาส ราชสีมา สมมาส ราชสีมา นักร้องเพลงลูกทุ่งชายซุปเปอร์สตาร์ชาวไทย สังกัดค่าย อาร์ สยาม ในเครือ อาร์เอส เจ้าของฉายาหนุ่มโคราชเสียงหวาน เป็นนักร้องลูกทุ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังในปัจจุบันจากผลงานเพลง จำใจชั่ว,จดหมายจากลูก,ทหารห่วงแฟน,เมาอ้อนเมีย,ลืมไม่ลง,เหมือนเดิมได้ไหม,ไม่รู้จักพอ,รักพี่หรือยัง,ขอสิทธิ์แค่คิดฮอด ฯลฯประวัติ ประวัติ. สมมาส ราชสีมา มีชื่อจริงว่า บำรุง บุญสูงเนิน มีชื่อเล่นว่า เป้ เป็นชาวอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ครอบครัวมีอาชีพทำนาทำไร่ และมีฐานะยากจน สมมาสชอบการร้องเพลงมาตั้งแต่เด็ก และเริ่มเข้าสู่การประกวดร้องเพลงลูกทุ่งตามงานต่างๆตั้งแต่อยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยเขาชอบเสียงของ สายัณห์ สัญญา , ยอดรัก สลักใจ และ เสรี รุ่งสว่าง และก็เป็นเพลงของเสรี รุ่งสว่าง ที่เขาหยิบมาร้องในการประกวดมากที่สุด แต่สมมาสก็ไม่ค่อยประสบความสำเร็จในการประกวดสักเท่าใดนัก เพราะเขาไม่ได้ขึ้นแท่นเป็นผู้ชนะเลยแม้แต่ครั้งเดียว หลังจากจบการศึกษาจากโรงเรียน ด้วยความยากจน สมมาสก็หันไปทำงานหลาก ทั้งทำนาทำไร่ กรรมกรแบกหาม เด็กเสิร์ฟ บ๋อย ต่อมาโชคเริ่มเข้าข้างเขาบ้าง เมื่อเขาสมัครประกวดร้องเพลงในรายการใหญ่ ที่จัดโดยวงดนตรียิ่งยง ยอดบัวงาม และสามารถคว้าชัยชนะได้เป็นครั้งแรก และได้รับรางวัลใหญ่ที่สุดในชีวิตมาครอง นั่นคือทองคำหนัก 2 สลึงเข้าวงการ เข้าวงการ. ระหว่างที่ทำงานร้องเพลงอยู่ที่ห้องอาหารแห่งหนึ่ง ปรากฏว่ามีแมวมองมาพบเขา จึงชักชวนมาเป็นนักร้องอัดแผ่นเสียง โดยหนึ่งในแมวมองที่ว่านั้นก็คือไพฑูรย์ ขันทอง หรือ ดาร์กี้ ขี้เมา ตลก และครูเพลงที่คร่ำหวอดอยู่ในวงการเจ้าของผลงานประพันธ์เพลง " รักน้องเมีย " , "ชวนน้องแต่งงาน"ของ ยอดรัก สลักใจ และ" มีเมียเด็ก" ของพรศักดิ์ ส่องแสง ผลงานชุดแรกในชีวิตการเป็นนักร้องอาชีพของสมมาส ราชสีมา คือ " จดหมายจากลูก " และ ผลงานสร้างชื่อ ที่จุดประกายความดังของเขาก็คือเพลง "จดหมายจากลูก" และ " จำใจชั่ว" ซึ่งเป็นเพลงแรกที่เขาบันทึกเสียง สมมาส ราชสีมา เป็นนักร้องลูกทุ่งชายที่มีหน้าตาดี น้ำเสียงไพเราะ เขาอยู่ในวงการเพลงมาหลายปี และผลิตผลงานออกมาอย่างต่อเนื่อง เขาโด่งดังมาจากเพลง " จำใจชั่ว " สมมาส ราชสีมา ไม่ได้เกี่ยวดองอะไรกับ สุนารี ราชสีมานักร้องลูกทุ่งหญิงชื่อดังแห่งวงการลูกทุ่งไทยแต่อย่างใดผลงานเพลงสังกัดค่าย เอสเอส มิวสิค1. จดหมายจากลูก 2. จำใจชั่ว 3. ขันหมากน้ำตา 4. เสียงไก่ขัน 5. บ้านคนจน 6. #หลงแม่หม้าย 7. นักโทษประหาร 8. เหลืองใบยอ 9. พี่ไม่หล่อใครจะหล่อ 10. ขอควงสี่คน 11. จดหมายจากลูก ซาวด์ 12. จำใจชั่ว ซาวด์อัลบั้มรวมเพลงรวมเพลงฮิต สมมาส ราชสีมา อัลบั้มรวมเพลง. รวมเพลงฮิต สมมาส ราชสีมา. เป็นการนำบทเพลงที่โด่งดังและฮิตที่สุดของ สมมาส ราชสีมา มารวมไว้ในอัลบั้มนี้- ชุดที่ 11. จำใจชั่ว 2. ทหารห่วงแฟน 3. สาวเสริมสวย 4. เมาอ้อนเมีย 5. โคราชบ้านเอง 6. โชคดีเมียเมา 7. คอยน้องลัดดา 8. เสียงไก่ขัน 9. ใครก็ได้ถ้ารักจริง 10. ขอนแก่นแฟนลืม 11. น้ำตาคนจน 12. โลกที่สาม- ชุดที่ 21. ลืมไม่ลง 2. จดหมายจากลูก 3. ใส่นมเยอะๆ 4. หล่อทวนลม 5. ห่วงสาวอีสาน 6. หลงแม่หม้าย 7. โรงงานความรัก 8. ใจนางเหมือนทางด่วน 9. ฮักสาวอุบล 10. เงินไม่ได้ซื้อ 11. ขันหมากหนุ่มกำพร้า 12. ลืมทุ่งรวงทองรวมเพลงฮิต คู่รักพักร้อน รวมเพลงฮิต คู่รักพักร้อน. เป็นการนำบทเพลงที่โด่งดังและฮิตที่สุดของ สมมาส ราชสีมา และ ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ มารวมไว้ในอัลบั้มนี้1. ฮักน้องอย่าซูนคิง 2. จ้างลูกไปซื้อขนม 3. หนุ่มยาวสาวสั้น (ต้นฉบับ ดาว บ้านดอน ร้องคู่กับ พิมพ์ใจ เพชรพลาญชัย) 4. หนุ่มซื้อข้าวสาวซื้อเกลือ 5. หนุ่มขายฟอยสาวขายสาด 6. พี่ซอยสอง น้องซอยสี่ 7. จีบสาวเลี้ยงเป็ด (ต้นฉบับ ดาว บ้านดอน ร้องคู่กับ พิมพ์ใจ เพชรพลาญชัย) 8. โทรศัพท์ถืกตัด 9. เต็มใจให้หลอก 10. หนึ่มลำปางสาวลำตะคอง 11. ออกพรรษาจะมาขอแต่ง 12. สาวผมดำหนุ่มผมแดงสังกัดค่าย กรุงไทยออดิโออัลบั้มเดี่ยวคุณ...บุญมา (2546)สังกัดค่าย กรุงไทยออดิโอ. อัลบั้มเดี่ยว. คุณ...บุญมา (2546). 1. เปลี่ยน พ.ศ.ใหม่ เปลี่ยใจหรือยัง (ต้นฉบับ ยอดรัก สลักใจ) 2. ครวญถึงแม่ 3. คุณ...บุญมา 4. ด้วยรักและคิดถึง 5. แค่คนธรรมดา 6. น้ำผึ้งอาบยาพิษ 7. กลับตัวเถิดน้อง 8. ฆาตกรเลือดเย็น 9. เจ้าดอกลำดวน 10. น้องลืมเบนซ์ 2 ประตู 11. ใจอ่อนทุกที 12. รักนางกลางเมืองผลงานร่วมกับศิลปินอื่นหย่าวคักคัก เมดเลย์อีสาน (2545) ผลงานร่วมกับศิลปินอื่น. หย่าวคักคัก เมดเลย์อีสาน (2545). อัลบั้มพิเศษ หย่าวคักคัก เป็นการนำบทเพลงลูกทุ่งหมอลำที่เคยโด่งดังและได้รับความนิยมในอดีตกลับมาถ่ายทอดใหม่ผ่านน้ำเสียงศิลปินเลือดอีสานทั้งหมด 7 ศิลปิน นำโดย สาธิต ทองจันทร์,เดือนเพ็ญ อำนวยพร,ปฤษณา วงศ์ศิริ,แมน มณีวรรณ,สมมาส ราชสีมา,ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี- ชุดที่ 11. ตามใจแม่เถิดน้อง ศิลปิน สาธิต ทองจันทร์,แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ เฉลิมพล มาลาคำ) 2. หยุดน้ำตาเถิดน้อง ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ สาธิต ทองจันทร์) 3. น้ำตาจากใจ ศิลปิน ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี 4. ฮักสาวแอ่วหวาน ศิลปิน สาธิต ทองจันทร์ 5. ลืมนาลืมนาง ศิลปิน ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ 6. เมาหนักเพราะรักติ๋ม ศิลปิน แมน มณีวรรณ 7. ใส่กลอนหัวใจ ศิลปิน ฟ้า สุภาวี 8. สายตาพิฆาต ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร,ปฤษณา วงศ์ศิริ,ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี 9. อดีตรักวันเข้าพรรษา ศิลปิน สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ เฉลิมพล มาลาคำ) 10. เมดอินอีสาน ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร 11. มักสาวใส่ยีนส์ ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับเดิม แมน มณีวรรณ ร้องเดี่ยว) 12. น้ำตาส่วนเกิน ศิลปิน ปฤษณา วงศ์ศิริ 13. รักแท้คือแม่ผม ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ สาธิต ทองจันทร์) 14. พ่อคือพรหมองค์แรก ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร,ปฤษณา วงศ์ศิริ,ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี- ชุดที่ 21. ปากโกรธใจคิดถึง ศิลปิน สาธิต ทองจันทร์,แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับเดิม สาธิต ทองจันทร์ ร้องเดี่ยว) 2. คนหลังยังคอย ศิลปิน ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ 3. สะอื้นอวยพร ศิลปิน แมน มณีวรรณ 4. หัวอกตายาย ศิลปิน สาธิต ทองจันทร์ 5. สายตาภาษารัก ศิลปิน ปฤษณา วงศ์ศิริ 6. ซังคนตอแหล ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ ชาญชัย จตุรงค์) 7. ฆาตกรเลือดเย็น ศิลปิน ฟ้า สุภาวี 8. สาวกาฬสินธุ์คอยคู่ ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร,ปฤษณา วงศ์ศิริ,ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี 9. กลับเถิดจันทร์จ๋า ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ สาธิต ทองจันทร์) 10. พื้นเมืองอีสาน ศิลปิน ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี 11. สมน้ำหน้าตัวเอง ศิลปิน สาธิต ทองจันทร์,แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ ไก่ฟ้า ดาดวง) 12. พบรักที่หัวลำโพง ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร 13. ชมรมแท็กซี่ ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ ทองมี มาลัย) 14. เมียแท็กซี่ ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร และ ปฤษณา วงศ์ศิริสังกัดค่าย พีจีเอ็มชุดที่ 1 ลูกอีสาน (2547)สังกัดค่าย พีจีเอ็ม. ชุดที่ 1 ลูกอีสาน (2547). 1. ลูกอีสาน 2. กระทงส่งรัก 3. ไอ้หยั่งขี่โป๊ด 4. ลูกสาวชาละวัน 5. ดอกเงินคนจน 6. ไก่ได้พลอย 7. เหมือนเดิมได้ไหม 8. ขยันกันทั้งภาค 9. เมาไม่เจ้าชู้ 10. ลารักสุดอาลัยชุดที่ 2 ปิดทองหลังย่าโม (2548)ชุดที่ 2 ปิดทองหลังย่าโม (2548). 1. ไม่รู้จักพอ 2. เด็กโง่ขี้งอน 3. แค่เสี้ยวเศษใจ 4. ปิดทองหลังย่าโม 5. ประท้วงรัก 6. มอบให้ซึ้ง 7. จากใจถึงใจ 8. ปลายทางที่บางบัวทอง 9. ซีเมนต์หัวใจ 10. ถามข่าวแฟนเก่าสังกัดค่าย วี 6 โปรดักชั่นรักพี่หรือยัง (2552)สังกัดค่าย วี 6 โปรดักชั่น. รักพี่หรือยัง (2552). 1. รักพี่หรือยัง 2. เสน่ห์สาวสุรินทร์ 3. รักคนหน้าหรึ่ม 4. ตามวันที่ฝันไว้ 5. สุดห้ามใจรัก 6. คนหลายใจ 7. ยางข้าวเหนียว 8. ชีวิตชาวนา 9. สาวสุราษฎร์ธานี 10. สถานีหัวใจสังกัดค่าย นายพล เอนเตอร์เทนเม้นท์ชีวิตที่เหลืออยู่ขอสู้เพื่อเธอ (2555)สังกัดค่าย นายพล เอนเตอร์เทนเม้นท์. ชีวิตที่เหลืออยู่ขอสู้เพื่อเธอ (2555). 1. ชีวิตที่เหลืออยู่ขอสู้เพื่อเธอ 2. เบอร์โทรอันตราย 3. รักของเรากับความเศร้าที่เธอทำ 4. สาวเอย 5. ลืมเขาได้ไหม 6. ช้ำรักสาวโรงงาน 7. กลับบ้านเองเถอะ 8. หนุ่มเมืองศรี 9. ถึงเมาก็รักเมีย 10. เสียดายสาวดอยสังกัดค่าย อาร์ สยามซุปตาร์อีสาน (2558) สังกัดค่าย อาร์ สยาม. ซุปตาร์อีสาน (2558). อัลบั้มพิเศษ ซุปตาร์อีสาน เป็นอัลบั้มพิเศษที่รวม 10 ศิลปินดังคุณภาพ นำโดย แมน มณีวรรณ อาร์สยาม,เดือนเพ็ญ อำนวยพร อาร์สยาม,สนุ๊ก สิงห์มาตร อาร์สยาม,เอ๋ พจนา อาร์สยาม,โอ๋ พจนา อาร์สยาม,พิมพา พรศิริ อาร์สยาม,ติ๊ก ดอกรัก ดวงมาลา อาร์สยาม,พรชัย วรรณศรี อาร์สยาม,สมมาส ราชสีมา อาร์สยาม และ นุช วิลาวัลย์ อาร์สยาม1. สู้เขาได้แค่ใจที่รักจริง ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร อาร์สยาม 2. สาวใหญ่สิลงคาน ศิลปิน พิมพา พรศิริ อาร์สยาม 3. นางฟ้ากับหมาข้างถนน ศิลปิน ติ๊ก ดอกรัก ดวงมาลา 4. เอาเวลาใด๋หลอยไปคบกัน ศิลปิน นุช วิลาวัลย์ อาร์สยาม 5. เกิบฮ้างข้างทางเดิน ศิลปิน แมน มณีวรรณ อาร์สยาม 6. ยังฮักคือเก่าแต่อ้ายถิ่มเขาบ่ได้ ศิลปิน เอ๋ พจนา อาร์สยาม 7. คำว่าเฒ่าพูดค่อยๆ ก็เจ็บ ศิลปิน สนุ๊ก สิงห์มาตร อาร์สยาม 8. ขอสิทธิ์แค่คิดฮอด ศิลปิน สมมาส ราชสีมา อาร์สยาม 9. เมียชาวบ้าน ศิลปิน พรชัย วรรณศรี อาร์สยาม 10. แฟนเจ้าผัวเขาเด้อ ศิลปิน โอ๋ พจนา อาร์สยามซิงเกิ้ลซิงเกิ้ล. - แฟนเก่ายังเฝ้ารอ (2559)
สมมาส ราชสีมา เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งที่สังกัดอยู่ค่ายเพลงใด
3545
{ "answer_end": [ 379 ], "answer_start": [ 363 ], "text": [ "บำรุง บุญสูงเนิน" ] }
76159
สมมาส ราชสีมา สมมาส ราชสีมา นักร้องเพลงลูกทุ่งชายซุปเปอร์สตาร์ชาวไทย สังกัดค่าย อาร์ สยาม ในเครือ อาร์เอส เจ้าของฉายาหนุ่มโคราชเสียงหวาน เป็นนักร้องลูกทุ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังในปัจจุบันจากผลงานเพลง จำใจชั่ว,จดหมายจากลูก,ทหารห่วงแฟน,เมาอ้อนเมีย,ลืมไม่ลง,เหมือนเดิมได้ไหม,ไม่รู้จักพอ,รักพี่หรือยัง,ขอสิทธิ์แค่คิดฮอด ฯลฯประวัติ ประวัติ. สมมาส ราชสีมา มีชื่อจริงว่า บำรุง บุญสูงเนิน มีชื่อเล่นว่า เป้ เป็นชาวอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ครอบครัวมีอาชีพทำนาทำไร่ และมีฐานะยากจน สมมาสชอบการร้องเพลงมาตั้งแต่เด็ก และเริ่มเข้าสู่การประกวดร้องเพลงลูกทุ่งตามงานต่างๆตั้งแต่อยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยเขาชอบเสียงของ สายัณห์ สัญญา , ยอดรัก สลักใจ และ เสรี รุ่งสว่าง และก็เป็นเพลงของเสรี รุ่งสว่าง ที่เขาหยิบมาร้องในการประกวดมากที่สุด แต่สมมาสก็ไม่ค่อยประสบความสำเร็จในการประกวดสักเท่าใดนัก เพราะเขาไม่ได้ขึ้นแท่นเป็นผู้ชนะเลยแม้แต่ครั้งเดียว หลังจากจบการศึกษาจากโรงเรียน ด้วยความยากจน สมมาสก็หันไปทำงานหลาก ทั้งทำนาทำไร่ กรรมกรแบกหาม เด็กเสิร์ฟ บ๋อย ต่อมาโชคเริ่มเข้าข้างเขาบ้าง เมื่อเขาสมัครประกวดร้องเพลงในรายการใหญ่ ที่จัดโดยวงดนตรียิ่งยง ยอดบัวงาม และสามารถคว้าชัยชนะได้เป็นครั้งแรก และได้รับรางวัลใหญ่ที่สุดในชีวิตมาครอง นั่นคือทองคำหนัก 2 สลึงเข้าวงการ เข้าวงการ. ระหว่างที่ทำงานร้องเพลงอยู่ที่ห้องอาหารแห่งหนึ่ง ปรากฏว่ามีแมวมองมาพบเขา จึงชักชวนมาเป็นนักร้องอัดแผ่นเสียง โดยหนึ่งในแมวมองที่ว่านั้นก็คือไพฑูรย์ ขันทอง หรือ ดาร์กี้ ขี้เมา ตลก และครูเพลงที่คร่ำหวอดอยู่ในวงการเจ้าของผลงานประพันธ์เพลง " รักน้องเมีย " , "ชวนน้องแต่งงาน"ของ ยอดรัก สลักใจ และ" มีเมียเด็ก" ของพรศักดิ์ ส่องแสง ผลงานชุดแรกในชีวิตการเป็นนักร้องอาชีพของสมมาส ราชสีมา คือ " จดหมายจากลูก " และ ผลงานสร้างชื่อ ที่จุดประกายความดังของเขาก็คือเพลง "จดหมายจากลูก" และ " จำใจชั่ว" ซึ่งเป็นเพลงแรกที่เขาบันทึกเสียง สมมาส ราชสีมา เป็นนักร้องลูกทุ่งชายที่มีหน้าตาดี น้ำเสียงไพเราะ เขาอยู่ในวงการเพลงมาหลายปี และผลิตผลงานออกมาอย่างต่อเนื่อง เขาโด่งดังมาจากเพลง " จำใจชั่ว " สมมาส ราชสีมา ไม่ได้เกี่ยวดองอะไรกับ สุนารี ราชสีมานักร้องลูกทุ่งหญิงชื่อดังแห่งวงการลูกทุ่งไทยแต่อย่างใดผลงานเพลงสังกัดค่าย เอสเอส มิวสิค1. จดหมายจากลูก 2. จำใจชั่ว 3. ขันหมากน้ำตา 4. เสียงไก่ขัน 5. บ้านคนจน 6. #หลงแม่หม้าย 7. นักโทษประหาร 8. เหลืองใบยอ 9. พี่ไม่หล่อใครจะหล่อ 10. ขอควงสี่คน 11. จดหมายจากลูก ซาวด์ 12. จำใจชั่ว ซาวด์อัลบั้มรวมเพลงรวมเพลงฮิต สมมาส ราชสีมา อัลบั้มรวมเพลง. รวมเพลงฮิต สมมาส ราชสีมา. เป็นการนำบทเพลงที่โด่งดังและฮิตที่สุดของ สมมาส ราชสีมา มารวมไว้ในอัลบั้มนี้- ชุดที่ 11. จำใจชั่ว 2. ทหารห่วงแฟน 3. สาวเสริมสวย 4. เมาอ้อนเมีย 5. โคราชบ้านเอง 6. โชคดีเมียเมา 7. คอยน้องลัดดา 8. เสียงไก่ขัน 9. ใครก็ได้ถ้ารักจริง 10. ขอนแก่นแฟนลืม 11. น้ำตาคนจน 12. โลกที่สาม- ชุดที่ 21. ลืมไม่ลง 2. จดหมายจากลูก 3. ใส่นมเยอะๆ 4. หล่อทวนลม 5. ห่วงสาวอีสาน 6. หลงแม่หม้าย 7. โรงงานความรัก 8. ใจนางเหมือนทางด่วน 9. ฮักสาวอุบล 10. เงินไม่ได้ซื้อ 11. ขันหมากหนุ่มกำพร้า 12. ลืมทุ่งรวงทองรวมเพลงฮิต คู่รักพักร้อน รวมเพลงฮิต คู่รักพักร้อน. เป็นการนำบทเพลงที่โด่งดังและฮิตที่สุดของ สมมาส ราชสีมา และ ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ มารวมไว้ในอัลบั้มนี้1. ฮักน้องอย่าซูนคิง 2. จ้างลูกไปซื้อขนม 3. หนุ่มยาวสาวสั้น (ต้นฉบับ ดาว บ้านดอน ร้องคู่กับ พิมพ์ใจ เพชรพลาญชัย) 4. หนุ่มซื้อข้าวสาวซื้อเกลือ 5. หนุ่มขายฟอยสาวขายสาด 6. พี่ซอยสอง น้องซอยสี่ 7. จีบสาวเลี้ยงเป็ด (ต้นฉบับ ดาว บ้านดอน ร้องคู่กับ พิมพ์ใจ เพชรพลาญชัย) 8. โทรศัพท์ถืกตัด 9. เต็มใจให้หลอก 10. หนึ่มลำปางสาวลำตะคอง 11. ออกพรรษาจะมาขอแต่ง 12. สาวผมดำหนุ่มผมแดงสังกัดค่าย กรุงไทยออดิโออัลบั้มเดี่ยวคุณ...บุญมา (2546)สังกัดค่าย กรุงไทยออดิโอ. อัลบั้มเดี่ยว. คุณ...บุญมา (2546). 1. เปลี่ยน พ.ศ.ใหม่ เปลี่ยใจหรือยัง (ต้นฉบับ ยอดรัก สลักใจ) 2. ครวญถึงแม่ 3. คุณ...บุญมา 4. ด้วยรักและคิดถึง 5. แค่คนธรรมดา 6. น้ำผึ้งอาบยาพิษ 7. กลับตัวเถิดน้อง 8. ฆาตกรเลือดเย็น 9. เจ้าดอกลำดวน 10. น้องลืมเบนซ์ 2 ประตู 11. ใจอ่อนทุกที 12. รักนางกลางเมืองผลงานร่วมกับศิลปินอื่นหย่าวคักคัก เมดเลย์อีสาน (2545) ผลงานร่วมกับศิลปินอื่น. หย่าวคักคัก เมดเลย์อีสาน (2545). อัลบั้มพิเศษ หย่าวคักคัก เป็นการนำบทเพลงลูกทุ่งหมอลำที่เคยโด่งดังและได้รับความนิยมในอดีตกลับมาถ่ายทอดใหม่ผ่านน้ำเสียงศิลปินเลือดอีสานทั้งหมด 7 ศิลปิน นำโดย สาธิต ทองจันทร์,เดือนเพ็ญ อำนวยพร,ปฤษณา วงศ์ศิริ,แมน มณีวรรณ,สมมาส ราชสีมา,ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี- ชุดที่ 11. ตามใจแม่เถิดน้อง ศิลปิน สาธิต ทองจันทร์,แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ เฉลิมพล มาลาคำ) 2. หยุดน้ำตาเถิดน้อง ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ สาธิต ทองจันทร์) 3. น้ำตาจากใจ ศิลปิน ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี 4. ฮักสาวแอ่วหวาน ศิลปิน สาธิต ทองจันทร์ 5. ลืมนาลืมนาง ศิลปิน ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ 6. เมาหนักเพราะรักติ๋ม ศิลปิน แมน มณีวรรณ 7. ใส่กลอนหัวใจ ศิลปิน ฟ้า สุภาวี 8. สายตาพิฆาต ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร,ปฤษณา วงศ์ศิริ,ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี 9. อดีตรักวันเข้าพรรษา ศิลปิน สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ เฉลิมพล มาลาคำ) 10. เมดอินอีสาน ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร 11. มักสาวใส่ยีนส์ ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับเดิม แมน มณีวรรณ ร้องเดี่ยว) 12. น้ำตาส่วนเกิน ศิลปิน ปฤษณา วงศ์ศิริ 13. รักแท้คือแม่ผม ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ สาธิต ทองจันทร์) 14. พ่อคือพรหมองค์แรก ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร,ปฤษณา วงศ์ศิริ,ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี- ชุดที่ 21. ปากโกรธใจคิดถึง ศิลปิน สาธิต ทองจันทร์,แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับเดิม สาธิต ทองจันทร์ ร้องเดี่ยว) 2. คนหลังยังคอย ศิลปิน ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ 3. สะอื้นอวยพร ศิลปิน แมน มณีวรรณ 4. หัวอกตายาย ศิลปิน สาธิต ทองจันทร์ 5. สายตาภาษารัก ศิลปิน ปฤษณา วงศ์ศิริ 6. ซังคนตอแหล ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ ชาญชัย จตุรงค์) 7. ฆาตกรเลือดเย็น ศิลปิน ฟ้า สุภาวี 8. สาวกาฬสินธุ์คอยคู่ ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร,ปฤษณา วงศ์ศิริ,ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี 9. กลับเถิดจันทร์จ๋า ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ สาธิต ทองจันทร์) 10. พื้นเมืองอีสาน ศิลปิน ลาวัณย์ จันทร์เพ็ญ และ ฟ้า สุภาวี 11. สมน้ำหน้าตัวเอง ศิลปิน สาธิต ทองจันทร์,แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ ไก่ฟ้า ดาดวง) 12. พบรักที่หัวลำโพง ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร 13. ชมรมแท็กซี่ ศิลปิน แมน มณีวรรณ และ สมมาส ราชสีมา (ต้นฉบับ ทองมี มาลัย) 14. เมียแท็กซี่ ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร และ ปฤษณา วงศ์ศิริสังกัดค่าย พีจีเอ็มชุดที่ 1 ลูกอีสาน (2547)สังกัดค่าย พีจีเอ็ม. ชุดที่ 1 ลูกอีสาน (2547). 1. ลูกอีสาน 2. กระทงส่งรัก 3. ไอ้หยั่งขี่โป๊ด 4. ลูกสาวชาละวัน 5. ดอกเงินคนจน 6. ไก่ได้พลอย 7. เหมือนเดิมได้ไหม 8. ขยันกันทั้งภาค 9. เมาไม่เจ้าชู้ 10. ลารักสุดอาลัยชุดที่ 2 ปิดทองหลังย่าโม (2548)ชุดที่ 2 ปิดทองหลังย่าโม (2548). 1. ไม่รู้จักพอ 2. เด็กโง่ขี้งอน 3. แค่เสี้ยวเศษใจ 4. ปิดทองหลังย่าโม 5. ประท้วงรัก 6. มอบให้ซึ้ง 7. จากใจถึงใจ 8. ปลายทางที่บางบัวทอง 9. ซีเมนต์หัวใจ 10. ถามข่าวแฟนเก่าสังกัดค่าย วี 6 โปรดักชั่นรักพี่หรือยัง (2552)สังกัดค่าย วี 6 โปรดักชั่น. รักพี่หรือยัง (2552). 1. รักพี่หรือยัง 2. เสน่ห์สาวสุรินทร์ 3. รักคนหน้าหรึ่ม 4. ตามวันที่ฝันไว้ 5. สุดห้ามใจรัก 6. คนหลายใจ 7. ยางข้าวเหนียว 8. ชีวิตชาวนา 9. สาวสุราษฎร์ธานี 10. สถานีหัวใจสังกัดค่าย นายพล เอนเตอร์เทนเม้นท์ชีวิตที่เหลืออยู่ขอสู้เพื่อเธอ (2555)สังกัดค่าย นายพล เอนเตอร์เทนเม้นท์. ชีวิตที่เหลืออยู่ขอสู้เพื่อเธอ (2555). 1. ชีวิตที่เหลืออยู่ขอสู้เพื่อเธอ 2. เบอร์โทรอันตราย 3. รักของเรากับความเศร้าที่เธอทำ 4. สาวเอย 5. ลืมเขาได้ไหม 6. ช้ำรักสาวโรงงาน 7. กลับบ้านเองเถอะ 8. หนุ่มเมืองศรี 9. ถึงเมาก็รักเมีย 10. เสียดายสาวดอยสังกัดค่าย อาร์ สยามซุปตาร์อีสาน (2558) สังกัดค่าย อาร์ สยาม. ซุปตาร์อีสาน (2558). อัลบั้มพิเศษ ซุปตาร์อีสาน เป็นอัลบั้มพิเศษที่รวม 10 ศิลปินดังคุณภาพ นำโดย แมน มณีวรรณ อาร์สยาม,เดือนเพ็ญ อำนวยพร อาร์สยาม,สนุ๊ก สิงห์มาตร อาร์สยาม,เอ๋ พจนา อาร์สยาม,โอ๋ พจนา อาร์สยาม,พิมพา พรศิริ อาร์สยาม,ติ๊ก ดอกรัก ดวงมาลา อาร์สยาม,พรชัย วรรณศรี อาร์สยาม,สมมาส ราชสีมา อาร์สยาม และ นุช วิลาวัลย์ อาร์สยาม1. สู้เขาได้แค่ใจที่รักจริง ศิลปิน เดือนเพ็ญ อำนวยพร อาร์สยาม 2. สาวใหญ่สิลงคาน ศิลปิน พิมพา พรศิริ อาร์สยาม 3. นางฟ้ากับหมาข้างถนน ศิลปิน ติ๊ก ดอกรัก ดวงมาลา 4. เอาเวลาใด๋หลอยไปคบกัน ศิลปิน นุช วิลาวัลย์ อาร์สยาม 5. เกิบฮ้างข้างทางเดิน ศิลปิน แมน มณีวรรณ อาร์สยาม 6. ยังฮักคือเก่าแต่อ้ายถิ่มเขาบ่ได้ ศิลปิน เอ๋ พจนา อาร์สยาม 7. คำว่าเฒ่าพูดค่อยๆ ก็เจ็บ ศิลปิน สนุ๊ก สิงห์มาตร อาร์สยาม 8. ขอสิทธิ์แค่คิดฮอด ศิลปิน สมมาส ราชสีมา อาร์สยาม 9. เมียชาวบ้าน ศิลปิน พรชัย วรรณศรี อาร์สยาม 10. แฟนเจ้าผัวเขาเด้อ ศิลปิน โอ๋ พจนา อาร์สยามซิงเกิ้ลซิงเกิ้ล. - แฟนเก่ายังเฝ้ารอ (2559)
สมมาส ราชสีมา มีชื่อจริงว่าอะไร
3546
{ "answer_end": [ 113 ], "answer_start": [ 100 ], "text": [ "Polypodiaceae" ] }
814122
กุกบุยโป้ว กุกบุยโป้ว (; , "กู่ซุ่ยปู่" หรือ "กุกบุยโป้ว" ในภาษาจีนแต้จิ๋ว) เป็นเฟินชนิดหนึ่งในวงศ์ Polypodiaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออก รวมทั้งจีนตะวันออก ภายนอกเป็นสีแดงอมน้ำตาล มีเกล็ดเล็กคล้ายขนอ่อนปกคลุมทั่วไป ด้านในเป็นสีแดงอมน้ำตาล ใช้เป็นยาในแพทย์แผนจีน ในเอเชียนิยมอ้างถึงพืชชนิดนี้ด้วยชื่อพ้อง Drynaria fortunei รากใช้ทำยาบำรุงกระดูก บำรุงไตแก้ปวด แก้อักเสบ สารออกฤทธิ์ที่สำคัญในเหง้าคือ Flavan-3-ol และpropelargonidin
กุกบุยโป้วเป็นเฟินชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ใด
3547
{ "answer_end": [ 134 ], "answer_start": [ 126 ], "text": [ "เม็กซิโก" ] }
480601
คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย () หรือ คาบสมุทรกาลีฟอร์เนีย () เป็นคาบสมุทรทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเม็กซิโก อยู่ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับอ่าวกาลีฟอร์เนีย คาบสมุทรมีความยาว 1,247 กม. (775 ไมล์) เริ่มตั้งแต่เมืองเมคีกาลีของรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียทางตอนเหนือ ไปถึงเมืองกาโบซานลูกัสของรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์ทางใต้ คาบสมุทรมีพื้นที่ 143,390 ตร.กม. (55,360 ตร.ไมล์) โดยถูกแยกออกจากแผ่นดินใหญ่ของเม็กซิโกโดยอ่าวแคลิฟอร์เนียและแม่น้ำโคโลราโด คาบสมุทรนี้ยังมีทะเลทรายขนาดใหญ่ 4 แห่ง
คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนียเป็นคาบสมุทรทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศใด
3548
{ "answer_end": [ 359 ], "answer_start": [ 352 ], "text": [ "143,390" ] }
480601
คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนีย () หรือ คาบสมุทรกาลีฟอร์เนีย () เป็นคาบสมุทรทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเม็กซิโก อยู่ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับอ่าวกาลีฟอร์เนีย คาบสมุทรมีความยาว 1,247 กม. (775 ไมล์) เริ่มตั้งแต่เมืองเมคีกาลีของรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียทางตอนเหนือ ไปถึงเมืองกาโบซานลูกัสของรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียซูร์ทางใต้ คาบสมุทรมีพื้นที่ 143,390 ตร.กม. (55,360 ตร.ไมล์) โดยถูกแยกออกจากแผ่นดินใหญ่ของเม็กซิโกโดยอ่าวแคลิฟอร์เนียและแม่น้ำโคโลราโด คาบสมุทรนี้ยังมีทะเลทรายขนาดใหญ่ 4 แห่ง
คาบสมุทรบาฮากาลีฟอร์เนียมีพื้นที่กี่ตารางกิโลเมตร
3549
{ "answer_end": [ 76 ], "answer_start": [ 65 ], "text": [ "อินโดนีเซีย" ] }
335556
ภูเขาไฟซีนาบุง ภูเขาไฟซีนาบุง () เป็นภูเขาไฟในสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย การไหลของลาวาที่เย็นตัวแล้วด้านข้างของภูเขา การปะทุครั้งล่าสุดก่อนหน้า พ.ศ. 2553 เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2143 กิจกรรมโซลฟาเทริค (รอยแยกที่ปล่อยไอน้ำ แก๊ส และลาวา) ได้รับการบันทึกครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2455 แต่ไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวได้รับการบันทึกอีกจนกระทั่งการปะทุในช่วงเช้าของวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 จากการปะทุในปี พ.ศ. 2553 ซีนาบุงเป็นหนึ่งในภูเขาไฟที่สงบไปนานแล้วกลับปะทุขึ้นอีก เช่นเดียวกับภูเขาไฟอีกหลายลูกทั่วโลก เช่น ภูเขาไฟโฟร์พีค ในรัฐอะแลสกา ซึ่งได้ปะทุขึ้นเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาการปะทุ พ.ศ. 2553 การปะทุ พ.ศ. 2553. เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ซีนาบุงได้เกิดการปะทุขนาดย่อมขึ้นก่อนหน้าวันดังกล่าว การปะทุได้พ่นเอาเถ้าถ่านลอยสูงขึ้นไปในชั้นบรรยากาศกว่า 1.5 กิโลเมตร และลาวาได้ไหลทะลักออกมาจากปล่องภูเขาไฟ ภูเขาไฟซีนาบุงสงบมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ โดยการปะทุครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2143 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ชาวบ้านจำนวน 6,000 จาก 30,000 คนที่ถูกอพยพออกไปจากพื้นที่เมื่อเกิดการปะทุ ได้ย้ายกลับเข้าอาศัยที่เดิม ซีนาบุงเป็นภูเขาไฟที่ถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่ "B" ซึ่งหมายความว่าไม่มีความจำเป็นจะต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง (แตกต่างจากหมวดหมู่ "A" ที่ต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง)
ภูเขาไฟซีนาบุงเป็นภูเขาไฟที่อยู่ในประเทศอะไร
3550
{ "answer_end": [ 374 ], "answer_start": [ 370 ], "text": [ "2553" ] }
335556
ภูเขาไฟซีนาบุง ภูเขาไฟซีนาบุง () เป็นภูเขาไฟในสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย การไหลของลาวาที่เย็นตัวแล้วด้านข้างของภูเขา การปะทุครั้งล่าสุดก่อนหน้า พ.ศ. 2553 เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2143 กิจกรรมโซลฟาเทริค (รอยแยกที่ปล่อยไอน้ำ แก๊ส และลาวา) ได้รับการบันทึกครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2455 แต่ไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวได้รับการบันทึกอีกจนกระทั่งการปะทุในช่วงเช้าของวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 จากการปะทุในปี พ.ศ. 2553 ซีนาบุงเป็นหนึ่งในภูเขาไฟที่สงบไปนานแล้วกลับปะทุขึ้นอีก เช่นเดียวกับภูเขาไฟอีกหลายลูกทั่วโลก เช่น ภูเขาไฟโฟร์พีค ในรัฐอะแลสกา ซึ่งได้ปะทุขึ้นเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาการปะทุ พ.ศ. 2553 การปะทุ พ.ศ. 2553. เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ซีนาบุงได้เกิดการปะทุขนาดย่อมขึ้นก่อนหน้าวันดังกล่าว การปะทุได้พ่นเอาเถ้าถ่านลอยสูงขึ้นไปในชั้นบรรยากาศกว่า 1.5 กิโลเมตร และลาวาได้ไหลทะลักออกมาจากปล่องภูเขาไฟ ภูเขาไฟซีนาบุงสงบมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ โดยการปะทุครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2143 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ชาวบ้านจำนวน 6,000 จาก 30,000 คนที่ถูกอพยพออกไปจากพื้นที่เมื่อเกิดการปะทุ ได้ย้ายกลับเข้าอาศัยที่เดิม ซีนาบุงเป็นภูเขาไฟที่ถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่ "B" ซึ่งหมายความว่าไม่มีความจำเป็นจะต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง (แตกต่างจากหมวดหมู่ "A" ที่ต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง)
ภูเขาไฟซีนาบุงปะทุครั้งล่าสุดเมื่อปี พ.ศ. ใด
3551
{ "answer_end": [ 170 ], "answer_start": [ 161 ], "text": [ "มหาสารคาม" ] }
543739
กริช กงเพชร กริช กงเพชร (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 9 สมัยประวัติ ประวัติ. กริช กงเพชร เกิดเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นบุตรของนายเคน และ นางแต้ม กงเพชร สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโท จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์งานการเมือง งานการเมือง. อดีตเคยเป็นทนายความ ก่อนที่จะมาลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม และได้รับเลือกตั้งเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2519 แต่ในครั้งต่อมา (พ.ศ. 2522) ไม่ได้รับเลือกตั้ง และกลับมาได้รับเลือกตั้งอีกครั้งใน พ.ศ. 2526 และได้รับเลือกเรื่อยมา จนถึง พ.ศ. 2548 เป็นสมัยล่าสุด ต่อจากนั้นเขาได้ย้ายมาสังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน และมีตำแหน่งเป็นรองหัวหน้าพรรค รวมทั้งลงสมัครรับเลือกตั้งในนามพรรคเพื่อแผ่นดิน แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง กริช กงเพชร เคยได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ซึ่งขณะนั้นเขาสังกัดพรรคความหวังใหม่ กริช กงเพชร เคยเป็นรองเลขาธิการพรรคประชาชน ในปี พ.ศ. 2531 ในปี พ.ศ. 2561 เขาได้ร่วมกับนักการเมืองหลายคนในการจัดตั้งพรรคการเมืองในชื่อพรรคพลังพลเมืองไทยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. กริช กงเพชร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 9 สมัย คือ1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 5. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 6. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 7. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 8. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคไทยรักไทย 9. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคไทยรักไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2539 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก
กริช กงเพชรเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดใด
3552
{ "answer_end": [ 473 ], "answer_start": [ 465 ], "text": [ "ทนายความ" ] }
543739
กริช กงเพชร กริช กงเพชร (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 9 สมัยประวัติ ประวัติ. กริช กงเพชร เกิดเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นบุตรของนายเคน และ นางแต้ม กงเพชร สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโท จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์งานการเมือง งานการเมือง. อดีตเคยเป็นทนายความ ก่อนที่จะมาลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม และได้รับเลือกตั้งเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2519 แต่ในครั้งต่อมา (พ.ศ. 2522) ไม่ได้รับเลือกตั้ง และกลับมาได้รับเลือกตั้งอีกครั้งใน พ.ศ. 2526 และได้รับเลือกเรื่อยมา จนถึง พ.ศ. 2548 เป็นสมัยล่าสุด ต่อจากนั้นเขาได้ย้ายมาสังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน และมีตำแหน่งเป็นรองหัวหน้าพรรค รวมทั้งลงสมัครรับเลือกตั้งในนามพรรคเพื่อแผ่นดิน แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง กริช กงเพชร เคยได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ซึ่งขณะนั้นเขาสังกัดพรรคความหวังใหม่ กริช กงเพชร เคยเป็นรองเลขาธิการพรรคประชาชน ในปี พ.ศ. 2531 ในปี พ.ศ. 2561 เขาได้ร่วมกับนักการเมืองหลายคนในการจัดตั้งพรรคการเมืองในชื่อพรรคพลังพลเมืองไทยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. กริช กงเพชร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 9 สมัย คือ1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 5. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 6. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 7. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคความหวังใหม่ 8. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคไทยรักไทย 9. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคไทยรักไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2539 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก
ก่อนที่กริช กงเพชร จะลงเล่นการเมือง เขาเคยทำอาชีพใดมาก่อน
3553
{ "answer_end": [ 613 ], "answer_start": [ 609 ], "text": [ "2405" ] }
9147
ถนนเจริญกรุง ถนนเจริญกรุง () ถนนสายสำคัญสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด. หน้าหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน สิ้นสุดที่แม่น้ำเจ้าพระยาที่ถนนตก บริเวณโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และการไฟฟ้านครหลวง เขตยานวานา เป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างแบบตะวันตก ผ่านพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก, เขตสาทร และเขตบางคอแหลม และเป็นเส้นแบ่งของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย (ด้านซ้าย) กับเขตสัมพันธวงศ์ (ด้านขวา) ตั้งแต่ช่วงคลองถมไปจนถึงบริเวณแยกหมอมี ถนนเจริญกรุงเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2405 แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2407 มีความยาวจากถนนสนามไชยถึงดาวคะนอง 8,575 เมตร การก่อสร้างถนนเจริญกรุงนั้นเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีชาวต่างประเทศเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ มากขึ้น และมีพวกกงสุลได้เข้าชื่อกันขอให้สร้างถนนสายยาวสำหรับขี่ม้าหรือนั่งรถม้าตากอากาศและอ้างว่า “เข้ามาอยู่ที่กรุงเทพมหานครไม่มีถนนหนทางที่จะขี่รถม้าไปเที่ยว พากันเจ็บไข้เนือง ๆ” ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงาน รับผิดชอบในการก่อสร้างถนนช่วงตั้งแต่คูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางคอแหลม เรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ (แต่ชาวบ้านมักเรียกว่าเจริญกรุงตอนล่าง) กว้าง 5 วา 4 ศอก (ประมาณ 10 เมตร หรือเทียบได้กับถนน 4 เลน) โดยมีนายเฮนรี อาลาบาศเตอร์ (ต้นสกุลเศวตศิลา) เป็นผู้สำรวจแนวถนนและเขียนแผนผังถนน และในปีจอ พ.ศ. 2405 โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กอง พระยาบรรหารบริรักษ์ (สุ่น) เป็นนายงาน รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน คือช่วงระยะทางตั้งแต่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เมื่อถูกฝนไม่กี่ปีก็ชำรุด การก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนในนี้เดิมกำหนดให้ตัดตรงจากสะพานดำรงสถิต ถึงกำแพงเมืองด้านถนนสนามไชย แต่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทักท้วงว่าการสร้างถนนตรงมาสู่พระบรมมหาราชวังอาจเป็นชัยภูมิให้ข้าศึกใช้ตั้งปืนใหญ่ยิงทำลายกำแพงเมืองได้ จึงต้องเปลี่ยนแนวถนนมาหักมุมเลี้ยวตรงเชิงสะพานดำรงสถิต เมื่อสร้างถนนเจริญกรุงเสร็จใหม่ ๆ นั้น ยังไม่ได้พระราชทานนาม จึงเรียกกันทั่วไปว่า ถนนใหม่ และชาวยุโรปเรียกว่า นิวโรด (New Road) ชาวจีนเรียกตามสำเนียงแต้จิ๋วว่า ซิงพะโล่ว () แปลว่าถนนตัดใหม่ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนว่า "ถนนเจริญกรุง" ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่นเดียวกับชื่อถนนบำรุงเมืองและถนนเฟื่องนคร ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในคราวเดียวกัน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้สร้างถนนเจริญกรุงเมื่อปี พ.ศ. ใด
3554
{ "answer_end": [ 153 ], "answer_start": [ 133 ], "text": [ "19 พฤษภาคม พ.ศ. 2561" ] }
944951
พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล มีขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ณ โบสถ์เซนต์จอร์จ ภายในพระราชวังวินด์เซอร์ โดยเป็นพระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รี ผู้สืบราชบัลลังก์ลำดับที่หกแห่งสหราชอาณาจักร และเมแกน มาร์เกิล อดีตนักแสดงชาวอเมริกัน
พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล มีขึ้นเมื่อใด
3555
{ "answer_end": [ 171 ], "answer_start": [ 156 ], "text": [ "โบสถ์เซนต์จอร์จ" ] }
944951
พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล มีขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ณ โบสถ์เซนต์จอร์จ ภายในพระราชวังวินด์เซอร์ โดยเป็นพระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รี ผู้สืบราชบัลลังก์ลำดับที่หกแห่งสหราชอาณาจักร และเมแกน มาร์เกิล อดีตนักแสดงชาวอเมริกัน
พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายแฮร์รีกับเมแกน มาร์เกิล จัดขึ้นที่โบสถ์ไหน
3556
{ "answer_end": [ 203 ], "answer_start": [ 197 ], "text": [ "บิจิงะ" ] }
285268
คิตะงะวะ อุตะมะโระ คิตะงะวะ อุตะมะโระ () (ราว ค.ศ. 1753 - 31 ตุลาคม ค.ศ. 1806) เป็นช่างพิมพ์แกะไม้แบบอุกิโยะชาวญี่ปุ่นของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพศึกษาสตรีแบบที่เรียกว่า “บิจิงะ” นอกจากนั้นก็ยังเขียนภาพธรรมชาติ โดยเฉพาะงานเขียนภาพประกอบของแมลง งานของอุตะมะโระไปถึงยุโรปราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 และกลายเป็นงานที่เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะในฝรั่งเศส และเป็นงานที่มีอิทธิพลต่อศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ของยุโรป โดยเฉพาะในการเขียนภาพเฉพาะบางส่วนและในการเน้นแสงและเงา เมื่อบรรดาจิตรกรกล่าวถึง “อิทธิพลจากญี่ปุ่น” ก็มักจะหมายถึงอิทธิพลจากงานเขียนของอุตะมะโระประวัติ ประวัติ. รายละเอียดของชีวิตของอุตะมะโระมีเพียงจำกัด และเท่าที่มีอยู่แต่ละฉบับก็มีข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตและอาชีพที่แตกต่างกันออกไป หลักฐานหลายหลักฐานอ้างว่าอุตะมะโระถ้าไม่เกิดที่เอะโดะ (โตเกียว) ก็จะเป็นที่เกียวโต หรือไม่ก็โอซะกะ (เมืองหลักสามเมืองของญี่ปุ่น) หรือไม่เช่นนั้นก็ในเมืองที่ห่างไกลออกไปแต่ก็ไม่มีผู้ใดทราบว่าเป็นที่ใด วันปีเกิดที่แท้จริงก็ไม่มีหลักฐานที่แน่นอน แต่ประมาณกันว่าราว ค.ศ. 1753 ความเชื่อกันมานานอีกอันหนึ่งคืออุตะมะโระเกิดที่โยชิวาระซึ่งเป็นบริเวณของสตรีในราชสำนักของเอะโดะ เป็นลูกชายชองเจ้าของร้านน้ำชา แต่ก็ไม่มีหลักฐานสนับสนุนข้อที่ว่านี้ ชื่อเมื่อเกิดของอุตะมะโระคือ “Kitagawa Ichitarō” ต่อมาเมื่อเติบโตขึ้นก็เปลี่ยนชื่อเป็น “Ichitarō Yusuke” ตามธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันในขณะนั้น อุตะมะโระสมรสแต่ก็ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับภรรยาหรือลูก แต่งานเขียนของอุตะมะโระมีภาพของความใกล้ชิดหรือความอ่อนโยนภายในที่อยู่อาศัยของสตรีและเด็กคนเดียวกันอยู่เป็นเวลาหลายปี โดยทั่วไปแล้วก็เชื่อกันว่าเมื่อยังเป็นเด็กอุตะมะโระก็ไปเป็นลูกศิษย์ของจิตรกรโตริยะมะ เซกิเอ็ง และข้อมูลบางแหล่งเชื่อว่าอุตะมะโระอาจจะเป็นบุตรของโตริยะมะ เซกิเอ็งด้วยก็เป็นได้ แต่ที่ทราบคืออุตะมะโระพำนักอยู่ในบ้านของโตริยะมะ เซกิเอ็งขณะที่เติบโตขึ้นมา และความสัมพันธ์ระหว่างจิตรกรสองคนนี้ก็ดำเนินต่อมาจนกระทั่งเซกิเอ็งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1788 เซกิเอ็งเดิมได้รับการฝึกหัดที่โรงเรียนคาโน แต่เมื่อมีอายุในวัยกลางคนเซกิเอ็งก็หันไปหาการวาดภาพอุกิโยะซึ่งเป็นภาพประเภทหนึ่งของภาพพิมพ์แกะไม้ เซกิเอ็งมีลูกศิษย์หลายคนแต่ก็ไม่มีผู้ใดที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก ในปี ค.ศ. 1775 เมื่ออายุได้ราว 22 ปีอุตะมะโระก็สร้างงานชิ้นสำคัญชิ้นแรกเท่าที่ทราบ เป็นหน้าปกสำหรับละครคะบุกิโดยใช้ชื่อศิลปิน หรือ โก (Art-name) ว่า “โตโยะอะกิ” (Toyoaki) หลังจากนั้นอุตะมะโระก็สร้างงานภาพพิมพ์สำหรับนักแสดงและนักรบ, โปรแกรมละคร และ ภาพอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน ต้งแต่ฤดูใบไม้ผลิของปี ค.ศ. 1781 อุตะมะโระก็เปลี่ยน “โก” ใหม่เป็น “อุตะมะโระ” และเริ่มออกแบบภาพพิมพ์แกะไม้ของสตรี แต่งานในระยะแรกไม่ถือว่ามีคุณภาพดีเท่าใดนัก ระหว่างกลางคริสต์ทศวรรษ 1780 ซึ่งอาจจะราว ค.ศ. 1783 อุตะมะโระก็ไปอยู่กับผู้พิมพ์ที่เพิ่งเริ่มมีชื่อเสียงขึ้นมาสึตะยะ จูซะบุโร เชื่อว่าราวห้าปีและดูเหมือนว่าจะกลายเป็นศิลปินเอกของสำนักพิมพ์ จากหลักฐานก็ดูเหมือนว่าจะผลิตงานอย่างไม่ค่อยสม่ำเสมอนัก ที่เป็นภาพประกอบหนังสือ “เกียวกะ” (kyoka) หรือ “crazy verse” ซึ่งเป็นบทเขียนล้อกวีนิพนธ์คลาสสิกแบบ “วะกะ” (Waka) แต่งานในช่วง ค.ศ. 1790 ถึง ค.ศ. 1792 ไม่มีหลงเหลืออยู่ให้เห็น ราว ค.ศ. 1791 อุตะมะโระก็เลิกออกแบบงานพิมพ์สำหรับหนังสือ และหันไปตั้งใจเขียนภาพเหมือนสตรีครึ่งตัว แทนที่จะเป็นภาพสตรีเป็นกลุ่มซึ่งนิยมเขียนกันโดยศิลปินอุกิโยะคนอื่นๆ ในปี ค.ศ. 1793 ชื่อเสียงของอุตะมะโระก็เริ่มเป็นที่รู้จัก ความสัมพันธ์กับสำนักพิมพ์กึ่งเฉพาะกับสึตะยะ จูซะบุโรก็มาสิ้นสุดลง และเริ่มผลิตงานชุดหลายชุดที่มีชื่อเสียงที่เป็นภาพวาดของสตรีในแขวงโยะชิวะระทั้งหมด ในปีต่อๆ มาอุตะมะโระเขียนงานหลายเล่มที่เป็นภาพสัตว์, แมลง และภาพศึกษาธรรมชาติ และ “ชุงกะ” (shunga) หรือ “ภาพยวนอารมณ์ทางเพศ” ภาพประเภท “ชุงกะ” เป็นภาพที่เป็นที่ยอมรับกันในวัฒนธรรมญี่ปุ่นว่าเป็นส่วนหนึ่งของพฤติกรรมของมนุษย์อันเป็นธรรมชาติ และไม่ถือว่าเป็นภาพลามกเช่นในวัฒนธรรมตะวันตก และเป็นภาพที่แพร่หลายในทุกระดับชั้นของสังคมญี่ปุ่น ในปี ค.ศ. 1797 สึตะยะ จูซะบุโรมาเสียชีวิตลง และดูเหมือนว่าสร้างความสะเทือนใจให้แก่อุตะมะโระที่ต้องมาสูญเสียเพื่อนและผู้สนับสนุนที่รู้จักกันมานาน บางความเห็นกล่าวว่าตั้งแต่บัดนั้นผลงานก็ไม่เคยขึ้นถึงขั้นที่เคยเขียนมาก่อนหน้านั้น ในปี ค.ศ. 1804 เมื่ออยู่ในจุดที่ประสบความสำเร็จสูงสุดอุตะมะโระประสบกับปัญหาทางกฎหมายเมื่อไปพิมพ์งานที่เกี่ยวกับนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ที่ต้องห้ามชื่อ “ฮิเดะโยะชิและเมียน้อยห้าคน” ซึ่งเป็นภาพของโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (ค.ศ. 1536-ค.ศ. 1598) ผู้เป็นไดเมียวคนสำคัญกับภรรยาและเมียน้อย อุตะมะโระถูกกล่าวหาว่าดูหมิ่นความมีเกียรติยศของฮิเดะโยะชิ และถูกลงโทษให้ใส่กุญแจมืออยู่ห้าสิบวัน (บ้างก็ว่าถูกจำขัง) หลักฐานบางแหล่งกล่าวว่าประสบการณ์นี้มีผลกระทบกระเทือนทางอารมณ์ต่ออุตะมะโระเป็นอันมากและเป็นการสิ้นสุดอาชีพในฐานะศิลปิน เพียงสองปีหลังจากนั้นอุตะมะโระก็เสียชีวิตเมื่อวันที่ 20 เดือนเก้าของปี ค.ศ. 1806 (ปฏิทินจันทรคติ) ที่ตรงกับวันที่ 31 ตุลาคมเมื่อมีอายุได้ 53 ปีที่เอะโดะลูกศิษย์ ลูกศิษย์. หลังจากที่อุตะมะโระเสียชีวิตไปแล้วโคอิคะวะ ชุงโช (Koikawa Shunchō) ผู้เป็นลูกศิษย์ก็ดำเนินการผลิตภาพพิมพ์ตามแบบของอาจารย์ต่อมา และใช้ “โก” อุตะมะโระเช่นเดียวกับอาจารย์จนกระทั่งปี ค.ศ. 1820 ภาพเขียนที่ผลิตในช่วงสิบสี่ปีนี้ที่เหมือนกับว่าอุตะมะโระยังคงสร้างงานด้วยตนเองอยู่ ในปัจจุบันเรียกว่า “อุตะมะโระ 2” หลังจากช่วงนั้นแล้วโคอิคะวะ ชุงโชเปลี่ยน“โก” เป็น “คิตะกะวะ เทะสึโกะโร” (Kitagawa Tetsugorō) และผลิตงานภาพใต้ชื่อใหม่งานศิลปะของอุตะมะโระ งานศิลปะของอุตะมะโระ. อุตะมะโระสร้างงานไว้กว่าสองพันชิ้นระหว่างที่ยังมีชีวิตอยู่ และงานจิตรกรรม “สึริโมะโนะ” (Surimono) และหนังสือประกอบภาพอีกหลายเล่ม และงานพิมพ์ประเภทเดียวกันอื่นๆ ในบรรดางานเขียนที่มีชื่อเสียงก็ได้แก่ชุด “ภาพศึกษาสีหน้าสตรีสิบภาพ”, “รวมภาพสตรีผู้มีความงดงามของยุค”, “หัวเรื่องรักและกวีนิพนธ์คลาสสิก” (บางครั้งก็เรียกว่า “สตรีตกหลุมรัก” ซึ่งรวมภาพเช่น “เผยรัก” (Revealed Love) หรือ “ระทมรัก” (Pensive Love)) และ “สิบสองชั่วโมงในย่านสำราญ” อุตะมะโระเป็นศิลปินอุกิโยะคนเดียวที่มีชื่อเสียงไปทั่วประเทศในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ความงามอัญเชิญชวนของงานเขียนของอุตะมะโระถือกันโดยทั่วไปว่าเป็นงานที่ประณีตที่สุดและเป็นงาน “บิจิงะ” ที่สะเทือนอารมณ์ที่สุดในบรรดางานอุกิโยะด้วยกันทั้งหมด อุตะมะโระมีความสามารถในการจับอารมณ์และบุคลิกอันซ่อนเร้นและความเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ของสตรีไม่ว่าจะเป็นชนชั้นใด หรืออายุเท่าใด หรือในสถานการณ์ใด ชื่อเสียงของอุตะมะโระไม่ได้ลดถอยลงตั้งแต่บัดนั้น งานของอุตะมะโระเป็นที่รู้จักกันไปทั่วโลก และถือกันว่าเป็นหนึ่งในบรรดาศิลปินอุกิโยะผู้มีความสำคัญที่สุดห้าหกคนงานพิมพ์บางชิ้นงานพิมพ์บางชิ้น. - Chosen Poems (1791-1792) - Ten Types of Women's Physiognomies (1792-1793) - Famous Beauties of Edo (1792-1793) - Ten Learned Studies of Women (1792-1793) - Anthology of Poems: The Love Section (1793-1794) - Snow, Moon, and Flowers of the Green Houses (1793-1795) - Array of Supreme Beauties of the Present Day (1794) - Twelve Hours of the Green Houses (1794-1795) - Flourishing Beauties of the Present Day (1795-1797) - An Array of Passionate Lovers (1797-1798) - Ten Forms of Feminine Physiognomy (1802)
คิตะงะวะ อุตะมะโระ เป็นช่างพิมพ์แกะไม้ชาวญี่ปุ่นที่มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพศึกษาสตรีที่เรียกว่าอะไร
3557
{ "answer_end": [ 136 ], "answer_start": [ 124 ], "text": [ "คิม อิล-ซ็อง" ] }
782070
ประเทศเกาหลีเหนือใน ค.ศ. 1975 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1975 ในประเทศเกาหลีเหนือผู้นำผู้นำ. - ผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือ – คิม อิล-ซ็อง - นายกรัฐมนตรีของเกาหลีเหนือ – คิม อิลวันเกิดวันเกิด. - 28 ธันวาคม - จี คย็อง ซุน
ผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนือใน ค.ศ. 1975 คือใคร
3558
{ "answer_end": [ 317 ], "answer_start": [ 298 ], "text": [ "จุติณัฏฐ์ ภู่ระหงษ์" ] }
925348
มิสแกรนด์สระบุรี มิสแกรนด์สระบุรี () เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดสระบุรี จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบันดำเนินการประกวดโดย ธธนา คชพันธ์ การประกวดมิสแกรนด์สระบุรีมีจุดประสงค์เพื่อคัดเลือกตัวแทนสาวงาม เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์ไทยแลนด์ โดยผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์สระบุรี คนปัจจุบัน คือ จุติณัฏฐ์ ภู่ระหงษ์ ได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งจัดขึ้น ณ มิลา การ์เด้นท์ รีสอร์ท สระบุรีมิสแกรนด์สระบุรีรองชนะเลิศผลงานการประกวดการประกวดระดับประเทศมิสแกรนด์ไทยแลนด์ผลงานการประกวดระดับนานาชาติเบสท์ โมเดล ออฟ เดอะ เวิลด์ชุดอัตลักษณ์ประจำจังหวัด ชุดอัตลักษณ์ประจำจังหวัด. 2017: ชุดสุวรรณหังสะ ได้รับแรงบันดาลใจสร้างสรรค์จาก หงส์ ตามคติความเชื่อในสมัยพุทธกาล สมเด็จพระพุทธองค์เคยเสวยพระชาติเป็นพญาหงส์ทอง ทางพระพุทธศาสนาจึงถือเป็นหนึ่งในมงคล 108 อันปรากฏใน รอยพระพุทธบาท จ.สระบุรี เรียกว่า หงส์ราชา หงส์เป็นเทพพาหนะของพระพรหม หังสะ มีความหมายว่า ลมหายใจเข้าออกของการมีชีวิตที่พระพรหมประทานชีวิตมาให้เราในทางศิลปะ 2016: ชุดวีรอัปสร ได้แรงบันดาลใจสร้างสรรค์จากคำว่าวีรสตรีผสมกับคำว่าอัปสร หมายถึงสตรีที่มีความงามและความเข็มแข็งในตัว เช่นคำโบราณที่ว่า ดาบก็แกว่าง เปลก็ไกว คือผู้หญิงในสมัยก่อนเมือยามไม่มีศึกสงครามก็ทำหน้าที่แม่บ้านที่ดีเลี้ยงดูลูกหลาน กิจการงานบ้านงานเรือน แต่เมื่อยามรบก็แกว่างดาบออกสู้เคียงบ่าเคียงไหล่กับผู้ชายทำเนียบมิสแกรนด์สระบุรี
ใครคือผู้ที่ได้รับตำแหน่งมิสแกรนด์สระบุรีปี 2561
3559
{ "answer_end": [ 399 ], "answer_start": [ 376 ], "text": [ "มิลา การ์เด้นท์ รีสอร์ท" ] }
925348
มิสแกรนด์สระบุรี มิสแกรนด์สระบุรี () เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดสระบุรี จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบันดำเนินการประกวดโดย ธธนา คชพันธ์ การประกวดมิสแกรนด์สระบุรีมีจุดประสงค์เพื่อคัดเลือกตัวแทนสาวงาม เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์ไทยแลนด์ โดยผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์สระบุรี คนปัจจุบัน คือ จุติณัฏฐ์ ภู่ระหงษ์ ได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งจัดขึ้น ณ มิลา การ์เด้นท์ รีสอร์ท สระบุรีมิสแกรนด์สระบุรีรองชนะเลิศผลงานการประกวดการประกวดระดับประเทศมิสแกรนด์ไทยแลนด์ผลงานการประกวดระดับนานาชาติเบสท์ โมเดล ออฟ เดอะ เวิลด์ชุดอัตลักษณ์ประจำจังหวัด ชุดอัตลักษณ์ประจำจังหวัด. 2017: ชุดสุวรรณหังสะ ได้รับแรงบันดาลใจสร้างสรรค์จาก หงส์ ตามคติความเชื่อในสมัยพุทธกาล สมเด็จพระพุทธองค์เคยเสวยพระชาติเป็นพญาหงส์ทอง ทางพระพุทธศาสนาจึงถือเป็นหนึ่งในมงคล 108 อันปรากฏใน รอยพระพุทธบาท จ.สระบุรี เรียกว่า หงส์ราชา หงส์เป็นเทพพาหนะของพระพรหม หังสะ มีความหมายว่า ลมหายใจเข้าออกของการมีชีวิตที่พระพรหมประทานชีวิตมาให้เราในทางศิลปะ 2016: ชุดวีรอัปสร ได้แรงบันดาลใจสร้างสรรค์จากคำว่าวีรสตรีผสมกับคำว่าอัปสร หมายถึงสตรีที่มีความงามและความเข็มแข็งในตัว เช่นคำโบราณที่ว่า ดาบก็แกว่าง เปลก็ไกว คือผู้หญิงในสมัยก่อนเมือยามไม่มีศึกสงครามก็ทำหน้าที่แม่บ้านที่ดีเลี้ยงดูลูกหลาน กิจการงานบ้านงานเรือน แต่เมื่อยามรบก็แกว่างดาบออกสู้เคียงบ่าเคียงไหล่กับผู้ชายทำเนียบมิสแกรนด์สระบุรี
การประกวดมิสแกรนด์สระบุรีปี 2561 จัดขึ้นที่ใด
3560
{ "answer_end": [ 145 ], "answer_start": [ 130 ], "text": [ "14 ธันวาคม 2557" ] }
666979
การเลือกตั้งทั่วไปในญี่ปุ่น พ.ศ. 2557 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 47 ของประเทศญี่ปุ่นจัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2557 มีการออกเสียงลงคะแนนในทุกเขตเลือกตั้งผู้แทนราษฎรของญี่ปุ่นซึ่งรวมบล็อกสัดส่วน (proportional block) เพื่อแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติเพื่อดำรงตำแหน่งในสภาผู้แทนราษฎร สภาล่างของสภานิติบัญญัติแห่งชาติญี่ปุ่น คณะรัฐมนตรีต้องลาออกหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในสมัยประชุมสภานิติบัญญัติสมัยแรกหลังเลือกตั้ง (รัฐธรรมนูญ มาตรา 70) การเลือกตั้งสภาล่างนี้จะยังนำสู่การเลือกตั้งแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีให้ดำรงตำแหน่งในสภานิติบัญญัติ และการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีใหม่ (แม้มีการแต่งตั้งรัฐมนตรีเดิม)
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 47 ของประเทศญี่ปุ่นจัดขึ้นเมื่อใด
3561
{ "answer_end": [ 306 ], "answer_start": [ 269 ], "text": [ "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" ] }
46303
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร (27 มิถุนายน พ.ศ. 2464 — 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ประสูติแต่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติพระประวัติช่วงต้น พระประวัติ. พระประวัติช่วงต้น. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร มีพระนามเล่นว่า ตุ๊ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2464 พระองค์มีพระเชษฐภคินีและพระเชษฐา คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร, พระองค์เจ้าหญิง และพระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตรเสกสมรส เสกสมรส. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรเสกสมรสกับ นาวาโท หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย ร.น. พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร กับ หม่อมเจ้าหญิงพร้อมเพราพรรณ ดิศกุล มีโอรสธิดา 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์เฉลิมฉัตร วุฒิชัย สมรสกับเอมอร วุฒิชัย ณ อยุธยา (สกุลเดิม: บุษบงก์) มีบุตร-ธิดาสองคน คือ หม่อมหลวงอภิชิต และหม่อมหลวงอาทิตรา วุฒิชัย 2. หม่อมราชวงศ์พร้อมฉัตร สวัสดิวัตน์ สมรสกับหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ มีธิดาสองคนคือ หม่อมหลวงศศิภา และหม่อมหลวงจันทราภา สวัสดิวัตน์สิ้นพระชนม์ สิ้นพระชนม์. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรสิ้นพระชนม์ด้วยพระโรคติดเชื้อรุนแรงและพระวักกะวายเฉียบพลัน หลังเสด็จเข้ารักษาพระอาการประชวรที่โรงพยาบาลพระรามเก้า ตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม สิริพระชันษา 88 ปี การนี้โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานโกศราชวงศ์ ทรงรับการพระศพไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์โดยตลอด และมีพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรม 7 คืนและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน้ำหลวงสรงพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ณ ศาลาภาณุรังษี วัดเทพศิรินทราวาส โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ไปทรงสรงน้ำหลวงสรงพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรใน วันที่ 6 ธันวาคม 2552 ในวันที่ 8 ธันวาคม 2552 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จไปยังศาลาภาณุรังษี วัดเทพศิรินทราวาส ทรงสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ในช่วงเย็นวันที่ 9 ธันวาคม 2552 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จทรงสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ณ ศาลาภาณุรังษี วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 6 พฤศจิกายน 2553 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จไปยังศาลาภาณุรังษี วัดเทพศิรินทราวาส ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล พระราชทานในการออกพระเมรุพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร และวันที่ 7 พฤศจิกายน 2553 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ในการพระราชทานเพลิงพระศพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ณ พระเมรุ หน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส การนี้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ โดยเสด็จด้วยการทรงงานการทรงงาน. - พ.ศ. 2490 - 2491 ครูสอนวิชาภาษาอังกฤษ โรงเรียนมาแตร์เดอี - พ.ศ. 2496 - 2500 ผู้ตรวจพิสูจน์อักษร หนังสือพิมพ์แสตนดาร์ด - พ.ศ. 2501 – 2502 โฆษกแผนกภาษาไทย สถานีวิทยุ บีบีซี กรุงลอนดอน (ครั้งที่ 1) - พ.ศ. 2503 – 2504 เจ้าหน้าที่อ่านข่าวภาษาอังกฤษ ของกรมประชาสัมพันธ์ กรุงเทพฯ - พ.ศ. 2504 - 2510 โฆษกแผนกภาษาไทย สถานีวิทยุ บีบีซี กรุงลอนดอน (ครั้งที่ 2) - พ.ศ. 2511 - 2512 สำนักงานแถลงข่าวอังกฤษ สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย - พ.ศ. 2513 – 2525 รองกงสุลแผนกวีซ่า สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย - พ.ศ. 2526 - 2527 อาจารย์สอนภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยลัยธรรมศาสตร์ - พ.ศ. 2528 - 2530 อาจารย์สอนพิเศษภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนที่เตรียมศึกษาต่อต่างประเทศพระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. ทรงเป็นองค์ประธานขององค์การ และกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิต่าง ๆ ซึ่งล้วนดำเนินงานเพื่อประโยชน์สุขแก่ส่วนรวม อันเป็นการพัฒนาสังคมดังนี้1. องค์ประธานมูลนิธิสวนหลวง ร.9 ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2. องค์ประธานกรรมการอำนวยการมูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ 3. องค์นายกมูลนิธิช่วยนักเรียนขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ 4. องค์ประธานกรรมการจัดทุน สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ 5. องค์ประธานกิตติมศักดิ์มูลนิธิพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน 6. องค์ประธานกิตติมศักดิ์มูลนิธิอนุสรณ์หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร 7. องค์ประธานที่ปรึกษามูลนิธิศูนย์กลางประสานงานพัฒนาชนบท 8. องค์ประธานมูลนิธิคึกฤทธิ์ 80 9. องค์ประธานที่ปรึกษามูลนิธิเพชรภาษา 10. อดีตองค์ประธานซีไรท์อวอร์ด 11. องค์อุปถัมภ์ชมรมหัวใจไร้สาร และ ปปส.พระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร (27 มิถุนายน 2464 - 5 ธันวาคม 2552)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2539 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๙ ชั้น ๒พระเกียรติคุณที่ได้รับพระเกียรติคุณที่ได้รับ. - พ.ศ. 2536 ปริญญาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศิลปกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล - พ.ศ. 2540 ปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยสยาม - พ.ศ. 2541 โล่รางวัล “มหิดลวรานุสรณ์” - พ.ศ. 2542 ปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันราชภัฏสวนสุนันทาพงศาวลี
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร เป็นพระราชนัดดาของกษัตริย์ไทยองค์ใด
3562
{ "answer_end": [ 83 ], "answer_start": [ 81 ], "text": [ "ขม" ] }
86823
ฟ้าทะลายโจร ฟ้าทะลายโจร อาจหมายถึง- ฟ้าทะลายโจร (พืช) เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งมีรสขม เป็นยาเย็น มีฤทธิ์แก้อักเสบ ฆ่าเชื้อโรค - ฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2543 - ฟ้าทะลายโจร (รายการโทรทัศน์) รายการโทรทัศน์ของ ธีมะ กาญจนไพริน ออกอากาศทาง บลูสกายแชนแนล
ฟ้าทะลายโจรมีรสแบบใด
3563
{ "answer_end": [ 131 ], "answer_start": [ 124 ], "text": [ "มหาดไทย" ] }
85310
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ. (Provincial Electricity Authority ตัวย่อ PEA) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย ยกเว้นกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง สำนักงานใหญ่ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตั้งอยู่ที่ 200 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร มีรายได้จากการจำหน่ายไฟฟ้า 465,044.54 ล้านบาท (พ.ศ. 2557) และเป็นรัฐวิสาหกิจที่มีรายได้นำส่งเป็นรายได้ของรัฐสูงเป็นลำดับที่ 4 ของรัฐวิสาหกิจไทย มูลค่ากว่า 13,534.00 ล้านบาท (พ.ศ. 2557)ประวัติ ประวัติ. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีที่มาเริ่มจากการเป็นแผนกไฟฟ้า ในกองบุราภิบาล กรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย และก่อตั้งไฟฟ้าเทศบาลเมืองนครปฐมเป็นจังหวัดแรก เมื่อ พ.ศ. 2473 ต่อมาใน พ.ศ. 2477 มีการปรับปรุงแผนกไฟฟ้า เป็น กองไฟฟ้า สังกัดกรมโยธาเทศบาล กระทรวงมหาดไทย และเปลี่ยนชื่อเป็น กองไฟฟ้าภูมิภาค ในภายหลัง ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลเห็นความจำเป็นในการสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานด้านไฟฟ้า จึงออกพระราชกฤษฎีกา ซึ่งให้ไว้เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พุทธศักราช 2497 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พุทธศักราช 2497 ก่อตั้ง องค์การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีทุนจดทะเบียน 5 ล้านบาท มีการไฟฟ้าอยู่ในความดูแล จำนวน117 แห่ง อยู่ภายใต้การควบคุมของกรมโยธาเทศบาล กระทรวงมหาดไทย และรัฐบาล โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานกรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้รับการสถาปนาตามพระราชบัญญัติการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2503 ณ วันที่ 28 กันยายน 2503 โดยรับช่วงภารกิจต่อจาก องค์การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มาดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง ด้วยทุนประเดิมจำนวน 87 ล้านบาทเศษ มีการ ไฟฟ้าอยู่ในความรับผิดชอบ 200 แห่ง มีผู้ใช้ไฟจำนวน 137,377 ราย และพนักงาน 2,119 คน กำลังไฟฟ้าสูงสุดในปี 2503 เพียง 15,000 กิโลวัตต์ ผลิตด้วยเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ดีเซลล์ทั้งสิ้น สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าบริการ ประชาชนได้ 26.4 ล้านหน่วย (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) ต่อปี และมีประชาชน ได้รับประโยชน์ จากการใช้ไฟฟ้าประมาณ 1 ล้านคน หรือร้อยละ 5 ของประชาชนที่มีอยู่ทั่วประเทศในขณะนั้น 23 ล้านคน ภายหลังจากมีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2503 ส่งผลให้ มีการแต่งตั้งบุคคลซึ่งไม่ใช่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานกรรมการ โดยบุคคลแรกที่เป็นประธานคณะกรรมการได้แก่นาย ดร.วิญญู อังคณารักษ์ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 อย่างไรก็ตามรายนามประธานคณะกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมักเป็น ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้มีการแต่งตั้ง พลเอก วิโรจน์ บัวจรูญ เป็นประธานกรรมการในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557นับเป็นครั้งแรกที่บุคคลที่ไม่ใช่ ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง ดำรงตำแหน่งดังกล่าว วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 แต่งตั้ง ถวิล เปลี่ยนศรี เป็นประธานกรรมการ และวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560 แต่งตั้ง ดร.คุรุจิต นาครทรรพ อดีตปลัดกระทรวงพลังงาน เป็นประธานกรรมการการแบ่งเขตรับผิดชอบ การแบ่งเขตรับผิดชอบ. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแบ่งพื้นที่รับผิดชอบออกเป็น 4 ภาค แต่ละภาคแบ่งเป็น 3 เขตย่อย- ภาคเหนือ- กฟน.1 เชียงใหม่ รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา ลำปาง และลำพูน - กฟน.2 พิษณุโลก รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก พิจิตร กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย แพร่ น่าน และอุตรดิตถ์ - กฟน.3 ลพบุรี รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อุทัยธานี นครสวรรค์ และเพชรบูรณ์ - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ- กฟฉ.1 อุดรธานี รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ อุดรธานี ขอนแก่น หนองบัวลำภู เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม และสกลนคร - กฟฉ.2 อุบลราชธานี รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ มุกดาหาร กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร และศรีสะเกษ - กฟฉ.3 นครราชสีมา รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์ - ภาคกลาง- กฟก.1 พระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 7 จังหวัด ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สระบุรี ปทุมธานี นครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว - กฟก.2 ชลบุรี รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 5 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตราด - กฟก.3 นครปฐม รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ นครปฐม สมุทรสาคร สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และราชบุรี (เฉพาะอำเภอบ้านโป่ง) - ภาคใต้- กฟต.1 เพชรบุรี รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง สมุทรสงคราม และราชบุรี (ยกเว้นอำเภอบ้านโป่ง) - กฟต.2 นครศรีธรรมราช รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ นครศรีธรรมราช ตรัง กระบี่ ภูเก็ต พังงา และสุราษฎร์ธานี - กฟต.3 ยะลา รับผิดชอบการบริการในพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ ยะลา นราธิวาส ปัตตานี สงขลา สตูล และพัทลุงรายนามผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแผนที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแผนที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. - ค้นหาการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคหรือกฟภ.ของไทยเป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงใด
3564
{ "answer_end": [ 90 ], "answer_start": [ 82 ], "text": [ "จันทบุรี" ] }
109415
เขาคิชฌกูฏ เขาคิชฌกูฏ อาจหมายถึง- อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ อุทยานแห่งชาติในจังหวัดจันทบุรี - วัดเขาคิชฌกูฏ วัดในจังหวัดจันทบุรี - อำเภอเขาคิชฌกูฏ อำเภอในจังหวัดจันทบุรี
อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏเป็นอุทยานแห่งชาติของไทยอยู่ในจังหวัดใด
3565
{ "answer_end": [ 588 ], "answer_start": [ 584 ], "text": [ "1979" ] }
703076
ทฤษฎีคาดหวัง ทฤษฎีคาดหวัง () เป็นทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (Behavioral economics) ที่แสดงวิธีที่มนุษย์เลือกระหว่างทางเลือกที่เป็นไปได้ ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงแต่รู้ค่าความน่าจะเป็นของทางเลือก ทฤษฎีกำหนดว่า มนุษย์ตัดสินใจขึ้นอยู่กับค่าความขาดทุน (ผลลบ) หรือผลกำไร (ผลบวก) ที่อาจจะมี ไม่ได้ขึ้นอยู่กับค่าผลที่ได้โดยที่สุด และมนุษย์ประเมินค่าความขาดทุนและผลกำไรโดยใช้ฮิวริสติกบางอย่าง แบบจำลองนี้เป็นแบบพรรณนา (descriptive) เป็นแบบจำลองของการเลือกการตัดสินใจที่มีในชีวิตจริง ๆ ไม่ใช่เป็นการตัดสินใจที่อาจจะเหมาะสำหรับสถานการณ์มากที่สุด (optimal decision) ทฤษฎีนี้สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1979 และมีการพัฒนาขึ้นอีกในปี ค.ศ 1992 โดยแดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ เป็นแบบจำลองที่มีความแม่นยำทางจิตวิทยามากกว่า expected utility hypothesis (สมมุติฐานอรรถประโยชน์ที่คาดหวัง) ในคำอธิบายดั้งเดิม คำว่า prospect หมายถึง ลอตเตอร์รี่ บทความ "Prospect Theory: An Analysis of Decision under Risk (ทฤษฎีคาดหวัง: การวิเคราะห์การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง)" (ค.ศ. 1979) ของคาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้ เป็น "บทความตั้งต้นของสาขาเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม"เชิงอรรถและอ้างอิงเชิงอรรถและอ้างอิงเชิงอรรถและอ้างอิง. - Easterlin, Richard A. "Does Economic Growth Improve the Human Lot?", in - เว็บไซต์ - An introduction to Prospect Theory - Prospect Theory
ทฤษฎีคาดหวังเป็นทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมที่ถูกสร้างขึ้นในปีค.ศ.ใด
3566
{ "answer_end": [ 95 ], "answer_start": [ 83 ], "text": [ "สหรัฐอเมริกา" ] }
96662
เมก้า XLR เมก้า XLR (อ่าน: เมก้า เอกซ์แอลอาร์) () เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Jody Schaeffer และ George Kistic เคยฉายผ่านทางช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์คผ่านทางทรูวิชั่นส์ช่อง 45 ปัจจุบันได้หยุดฉายลงแล้ว เมก้า XLR เป็นการ์ตูนแอ็กชั่นกึ่งตลกขบขัน โดยเน้นเรื่องราวที่ คูป หนุ่มอ้วนซึ่งสามารถเก็บหุ่นยนต์จากอนาคตชื่อเมก้า นำมาตกแต่งเป็นของตนเอง เขาได้ใช้เมก้าในการปกป้องโลกจากเหล่าวายร้ายมากหน้าหลายตา เมก้า XLR เป็นการ์ตูนที่มีการล้อเลียนอะนิเมะหลายๆเรื่องของประเทศญี่ปุ่น ทั้ง เซเลอร์มูน, ขบวนการนักสู้, กัปตันฮาร์ล็อก, กันดั้ม อีกทั้งตัวหุ่นเมก้าเองก็มีลักษณะหุ่นยนต์เดินสองขาแบบมนุษย์ ซึ่งเป็นสไตล์การ์ตูนหุ่นยนต์ของประเทศญี่ปุ่น นอกจากนั้นแล้วเมก้า XLR ยังได้นักแสดงมีชื่อบางคนมาให้เสียงพากย์ในเรื่อง ไม่ว่าจะเป็น Mick Foley (นักมวยปล้ำ) , Bruce Campbell (นักแสดง)เนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง. ในโลกอนาคตมนุษย์ได้ทำสงครามกับกลุ่มเอลี่ยนชั่วร้ายที่เรียกว่า กลอร์ฟท ซึ่งพวกกลอร์ฟทได้ต่อสู้กับพวกมนุษย์จนสามารถกดดันมนุษย์จนล่าถอยมาจนมุมได้ แต่ทว่าพวกมนุษย์สามารถขโมยแบบแปลนของหุ่นของพวกกลอร์ฟทแล้วนำมาดัดแปลงจนสามารถสร้างเมก้า (Megas มาจากคำว่า Mechanizd Earth Guard Attack System) ขึ้นมาได้ ซึ่งได้กลายเป็นความหวังเดียวของมนุษยชาติ แต่เมื่อมนุษย์ถูกจนมุม พวกเขาจึงใช้เครื่องย้อนเวลารุ่นทดลอง โดยจะส่งหุ่นเมก้ากลับไปในอดีตและให้คีว่าปกป้องมันไว้จากพวกกลอร์ฟท ทว่าการส่งเมก้าไปนั้นเกิดผิดพลาดมันกลับไปลงในปี 1936 ในนิวเจอร์ซีย์ จากนั้นในปี 2004 คูปกับเจมี่ก็ซื้อมันมาในราคาสองเหรียญและดัดแปลงมันขึ้นมาและเรียกมันว่า XLR (eXtra Large Robot) จากนั้นคีว่าก็เดินทางมาถึงปี 2004 เพื่อมาควบคุมเมก้า แต่ทว่าคูปดัดแปลงจนเธอไม่สามารถควบคุมได้ เธอจึงตัดสินใจสอนคูปให้รู้จักการใช้งานเมก้าและต่อกรกับพวกกลอร์ฟทที่เดินทางย้อนเวลามาเพื่อทำลายเมก้าตัวละครตัวละคร. - คูป คูปโลว์สกี้ (Coop Cooplowski) : ผู้ควบคุมเมก้าโดยใช้อุปกรณ์วิดีโอเกม เขาพบเมก้าที่ที่ทิ้งขยะเมืองนิวเจอร์ซีย์และซื้อมันมาในราคา 2 เหรียญ คูปเป็นหนุ่มอ้วนแบบอเมริกันที่ชอบกิน, ดนตรีและเที่ยวเล่น เขาไม่ชอบคีว่าที่ชอบออกคำสั่งเขาแต่เขาก็พร้อมต่อสู้เพื่อปกป้องโลกและใครก็ตามที่มาทำร้ายเพื่อนหรือดูถูกเขา - เจมี่ (Jamie) : เพื่อนสนิทของคูป มักชอบไปไหนมาไหนกับคูปเสมอ เขาอยากใช้เมก้าสร้างชื่อเสียง, เงินทองและหาสาวๆ เจมี่เป็นหนุ่นผอมแห้ง เขาต่อสู้ไม่เก่งและไม่มีทักษะการขับหุ่นยนต์แม้แต่นิดเดียว - ผู้การคีว่า แอนดรูว์ (Commander Kiva Andrew) : คีว่าเป็นหญิงจากอนาคตที่ต้องย้อนเวลามาปัจจุบันเพื่อนำเมก้าเข้าต่อกรกับพวกกลอร์ฟท แต่ทว่าเมื่อคูปเป็นคนเดียวที่สามารถควบคุมเมก้าได้ เธอจึงทำหน้าที่สอนเขาในการต่อสู้ต่างๆแทน - โก้ท (Goat) : เจ้าของที่ทิ้งขยะในนิวเจอร์ซีย์ที่ที่คูปไปเจอเมก้า บทบาทของเขามักจะอยู่บนพื้นมากกว่านั่งในเมก้า โก้ทยังปรากฏในการ์ตูนเรื่องMetalocalypse ของการ์ตูนเน็ตเวิร์กและ Downtown ของช่อง MTV - โกร์ราท (Gorrath) : หัวหน้าของกลอร์ฟท ซึ่งได้เดินทางย้อนเวลาโดยมีเป้าหมายจะนำเมก้ากลับไปแต่ทว่าเกิดติดอยู่ในยุคปัจจุบันแทน โกร์ราทสวมชุดเกราะหุ่นยนต์และมีส่วนหัวเท่านั้นที่ไม่มีเกราะรายชื่อตอนฤดูกาลที่ 1รายชื่อตอน. ฤดูกาลที่ 1. 1. Test Drive 2. Battle Royale 3. All I Wanted Was a Slushie 4. The Fat & the Furious 5. Buggin the System 6. TV Dinner 7. Breakout 8. Dude, Where's My Head? 9. Bad Guy 10. Junk in the Trunk 11. DMV: Dept. of Megas Violations 12. Coop D'Etat 13. The Driver's Seatฤดูกาลที่ 2ฤดูกาลที่ 2. 1. Ultra Chicks 2. The Return 3. Don't Tell Mom the Babysitter's Coop 4. Viva Las Megas 5. Thanksgiving Throwdown 6. S-Force S.O.S. 7. Space Booty 8. Terminate Her 9. Ice Ice Megas 10. A Clockwork Megas 11. Universal Remote 12. Rearview Mirror, Mirror (ตอน 1) 13. Rearview Mirror, Mirror (ตอน 2)เกร็ดเกร็ด. - ในเกือบทุกตอน ของที่เกี่ยวสถานีดนตรี Pop TV มักจะต้องถูกทำลายเสมอ ซึ่ง Pop TV เป็นชื่อล้อ MTV เพราะ MTV ได้ยกเลิกการออกอาการ Downtown ซึ่งเป็นผลงานอีกชิ้นหนึ่งของ Jody Schaeffer กับ George Krstic - Mick Foley (นักมวยปล้ำอดีตสังกัดค่าย WWE) เคยให้เสียงพากย์เป็นโกร์ราทในตอน LowBrow ซึ่งเป็นตอนเปิดตัวแหลงข้อมูลอื่นแหลงข้อมูลอื่น. - เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ - บทสัมภาษณ์ Jody Schaeffer และ George Krstic
เมก้า XLR เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศใด
3567
{ "answer_end": [ 120 ], "answer_start": [ 114 ], "text": [ "อังกฤษ" ] }
718438
เนวิลล์ (นักมวยปล้ำ) เบนจามิน แซทเทอร์ลีย์ (Benjamin Satterley) เกิดวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1986 นักมวยปล้ำอาชีพชาวอังกฤษ ปัจจุบันเซ็นสัญญากับWWE ภายใต้ชื่อ เนวิลล์ (Neville) หรือชื่อเดิม แพก (Pac) เป็นแชมป์ครุยเซอร์เวท WWE, แชมป์ NXT และแชมป์แท็กทีม NXTชีวิตในวัยเด็ก ชีวิตในวัยเด็ก. เขามีชื่อจริงว่า Benjamin "Ben" Satterley เกิดใน Newcastle upon Tyne, อังกฤษ เป็นเด็กเขามีบทบาทอย่างมากที่เข้าร่วมในกีฬาเช่นฟุตบอล, ฮอกกี้, ฮอกกี้ลูกกลิ้งบาสเกตบอลและว่ายน้ำ ความสนใจในการต่อสู้ของเขาผ่านมาเกี่ยวกับหนึ่งป้าของเขาที่เป็นแฟนของสหพันธ์มวยปล้ำโลก พ่อแม่ของเขาได้รับอนุญาตจากการดูการต่อสู้ที่บ้านของพวกเขาเพื่อที่เขาจะไปมากกว่าป้าของเขาที่จะดูมัน นักมวยปล้ำที่เขาชื่นชอบที่เติบโตขึ้นมาเป็น ดิอันเดอร์เทเกอร์และ "แฮกซอว์" จิม ดักแกน เขาเริ่มต้นการฝึกอบรมเป็นนักมวยปล้ำที่อายุสิบแปดที่ฮอลล์เซนต์โจเซฟอธิบายโดย Satterley ว่า "สวยมากโรงเรียนมวยปล้ำเฉพาะในพื้นที่"ดับเบิลยูดับเบิลยูอีเอ็นเอ๊กซ์ที (2012–2015) ดับเบิลยูดับเบิลยูอี. เอ็นเอ๊กซ์ที (2012–2015). ในเดือนกรกฎาคม 2012 มีรายงานว่า Satterley ได้ลงนามในสัญญากับ WWE เขาเดินเข้าไปสมทบค่ายพัฒนาอย่าง NXT และเปิดตัวของเขาโดยใช้ชื่อ เอเดรียน เนวิลล์ และเป็นแชมป์ NXTโดยเอาชนะโบ ดัลลัส ใน NXT Arrivalค่ายหลัก (2015–ปัจจุบัน) ค่ายหลัก (2015–ปัจจุบัน). ในรอว์ 30 มีนาคม 2015 เขาเปิดตัวภายใต้ชื่อที่สั้นลงว่า เนวิลล์ และสามารถเอาชนะเคอร์ติส แอ็กเซลไปได้ ในสัปดาห์ต่อมาในรอว์ เขาได้เจอกับแชมป์ WWE เซท โรลลินส์ แต่ก็พ่ายแพ้ไป ในรอว์ตอนที่ 27 เมษายน เนวิลล์เอาชนะลู้ก ฮาร์เปอร์ในรอบแรกของการแข่งขันคิงออฟเดอะริง 2015 และเขาเอาชนะเชมัสในคืนต่อมาในรอบรองชนะเลิศ ในรอบชิงชนะเลิศในคืนนั้นเขาพ่ายแพ้ให้แบด นิวส์ บาร์เร็ตต์ ในซัมเมอร์สแลม (2015) เนวิลล์ร่วมกับนักแสดงสตีเฟน อาเมล เอาชนะสตาร์ดัสต์และคิง บาร์เร็ตต์ไปได้ ใน เนวิลล์ได้เข้าร่วมลีกครุยเซอร์เวทโดยมาในบทฝ่ายอธรรมและเล่นงานแชมป์ครุยเซอร์เวท WWE ริช ซวอนน์ กับทีเจ เพอร์กินส์ ในรอยัลรัมเบิล (2017) เนวิลล์คว้าแชมป์ครุยเซอร์เวทสมัยแรกจากซวอนน์ ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 33สามารถป้องกันแชมป์กับออสติน แอรีส์เอาไว้ได้ ในรอว์ 14 สิงหาคม 2017 ได้เสียแชมป์ให้กับอะกิระ โทะซะวะ ก่อนจะชิงคืนมาได้สมัย2ในซัมเมอร์สแลม (2017)เพียง6วัน ในโนเมอร์ซี (2017)เสียแชมป์ให้กับเอ็นโซ อมอเรชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. Satterley แต่งงานแล้ว เขาเป็นผู้สนับสนุนของสโมสรฟุตบอลบ้านเกิดของเขา ทีมนิวคาสเซิลยูไนเต็ด วงดนตรีโปรดของเขาคือ พิเศษสื่ออื่น ๆ สื่ออื่น ๆ. เขาได้เปิดตัววิดีโอเกมเป็นตัวละครที่สามารถเล่นได้ใน WWE 2K15 ในฐานะ Adrian Neville ซึ่งเขามีเส้นทางของตัวเองในโหมด "Who Got NXT" สำหรับ Xbox 360 และ PlayStation 3 เวอร์ชันเกมนี้ซึ่งเป็นการบันทึกการแข่งขันของเขาใน NXT นอกจากนี้เขายังเป็นตัวละครที่สามารถเล่นได้ใน WWE 2K15 ใน PlayStation 4 และ Xbox One ในโหมด MyCareer หลังจากหักคะแนน 1,000 หรือมากกว่า นอกจากนี้เขายังเคยปรากฏตัวใน UpUpDownDown รายการยูทูบของ Xavier Woodsในมวยปล้ำในมวยปล้ำ. - Finishing moves- As Adrian Neville / Neville- Imploding 450° splash – 2014 - Red Arrow (Corkscrew shooting star press) - 2013-present - Rings of Saturn (Double underhook crossface) – 2017–present - As Jungle PAC / PAC- 630° senton, sometimes while performing a corkscrew - Bridging German suplex - Corkscrew 450° splash - Corkscrew shooting star press - Flaming Star Press (Imploding 450° splash) - Shooting star senton - Signature moves- 450° splash, sometimes while springboarding - Dragonrana - Hurricanrana, sometimes into a pin - Handspring into a tornado DDT - Leg lariat - Moonsault transitioned into a tilt-a-whirl DDT - Multiple frankensteiner variations- Reverse, sometimes from the top rope - Standing - Super - Multiple kick variations- Back - Baseball slide - Drop, sometimes while slingshotting - Dropsault - Enzuigiri - Spin - Roundhouse - Super - Multiple moonsault variations- Spaceman Plancha (Corkscrew plancha) - Springboard - Standing, sometimes while performing a corkscrew or over-rotated into a senton. - Multiple shooting star variations- British Airways (Standing corkscrew) - Corkscrew plancha - Knee drop - Standing - Multiple suplex variations- German, sometimes from the top rope or from a deadlift position - Northern Lights - Snap - Super (sometimes used as a finisher) - Tiger - Over the top rope moonsault plancha - Phoenix splash from the middle rope - Pop-up cutter - Pop-up sitout powerbomb - Slingshot cutter - Springboard crossbody - Suicide dive - Nicknames- "Dragon Gate Ultra Birdman" - "The Man That Gravity Forgot" - "The (Self-Proclaimed) King (of the Cruiserweights)" - "The New Sensation" - Entrance themes- "Evolution: Enter the New World" by Fear, and Loathing in Las Vegas (Dragon Gate/NJPW) - "Faceless" by Left With Tomorrow (NXT; 2013) - "Flash Burn" by Daniel Holter and Kyle White (NXT; 2014) - "Break Orbit" by CFO$(NXT/WWE; January 2014–December 2016) - "Break Orbit ('17 Remix)" by CFO$ (WWE; 3 January 2017 – present)ผลงานแชมป์และความสำเร็จผลงานแชมป์และความสำเร็จ. - 3 Count Wrestling- 3CW Heavyweight Championship (1 time) - 3CW North East Championship (1 time) - American Wrestling Rampage- AWR No Limits Championship (1 time) - Dragon Gate- Open the Brave Gate Championship (1 time) - Open the Twin Gate Championship (1 time) – with Dragon Kid - Open the Triangle Gate Championship (3 times) – with Masato Yoshino and BxB Hulk (1), Naoki Tanisaki and Naruki Doi (1), and Masato Yoshino and Naruki Doi (1) - Dragon Gate USA- Open the United Gate Championship (1 time) – with Masato Yoshino - Frontier Wrestling Alliance- FWA Flyweight Championship (1 time) - Independent Wrestling Federation- IWF Tag Team Championship (1 time) – with Harry Pain - One Pro Wrestling- 1PW Openweight Championship (1 time) - Over The Top Wrestling- OTT No Limits Championship (1 time) - Pro Wrestling Guerrilla- PWG World Tag Team Championship (1 time) – with Roderick Strong - Dynamite Duumvirate Tag Team Title Tournament (2007) – with Roderick Strong - Pro Wrestling Illustrated- PWI ranked him No. 11 of the top 500 singles wrestlers in the PWI 500 in 2017 - Rolling Stone- One-Night-Only Face Turn of the Year (2017) - SoCal Uncensored- Match of the Year (2006) - Westside Xtreme Wrestling- wXw World Lightweight Championship (2 times) - Rolling Stone- Worst Entrance Gimmick on Great New Main-Roster Wrestler (2015) - Most Jaw-Dropping Finisher (2015) – Red Arrow - WWE- WWE Cruiserweight Championship (2 times) - Slammy Award (1 time)- Breakout Star of the Year (2015) - WWE NXT- NXT Championship (1 time) - NXT Tag Team Championship (2 times) – with Oliver Grey (1) and Corey Graves (1)
เบนจามิน แซทเทอร์ลีย์ เป็นนักมวยปล้ำอาชีพจากประเทศใด
3568
{ "answer_end": [ 13 ], "answer_start": [ 7 ], "text": [ "ปรัศนี" ] }
64564
ปรัศนี ปรัศนี หรือ เครื่องหมายคำถาม หรือ เครื่องหมายสงสัย (question mark) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะตล้ายตะขอหันทางซ้ายและมีจุดอยู่ข้างล่าง มีการใช้ดังนี้การใช้งานการใช้งาน. - ใช้เติมหลังประโยคคำถาม นิยมใช้ในภาษาอังกฤษและภาษาละตินอื่น ๆ- ไก่กับไข่อะไรเกิดก่อนกัน? ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ไก่ - ใช้เติมเพื่อแสดงถึงความสงสัย หรือความไม่แน่ใจ สามารถเติมอัศเจรีย์ประกอบด้วยก็ได้- ครั้นเรานั่งรถผ่านมา เห็นเงาตะคุ่ม ๆ ข้างทาง หรืออาจจะเป็นผี!? - ใช้แทนที่สิ่งที่ไม่รู้ค่า หรือต้องการปิดบัง- หมายเลขโทรศัพท์ของเราคือ 0-2456-???? อย่าลืมโทรมานะ - ปรัศนีในนิพจน์ปรกติ (regular expression) ใช้แทนตัวอักขระ 0 หรือ 1 ตัว - ปรัศนีเป็นตัวแยกระหว่างแอดเดรสกับเควียรีสตริงในยูอาร์แอล- http://www.some-news-agent.com/news.php?page=3 - ในภาษาอาหรับ ปรัศนีเขียนกลับด้านอย่างนี้ ؟
เครื่องหมายวรรคตอนสากลใดที่มีลักษณะคล้ายตะขอหันทางซ้ายและมีจุดอยู่ข้างล่าง
3569
{ "answer_end": [ 97 ], "answer_start": [ 91 ], "text": [ "เอเชีย" ] }
7675
เอเชียนเกมส์ เอเชียนเกมส์ (; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายในเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และการแข่งขันครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018)ประวัติยุคกีฬาตะวันออกไกล ประวัติ. ยุคกีฬาตะวันออกไกล. เมื่อปี พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) อี.เอส.บราวน์ ประธานสมาคมกีฬาแห่งหมู่เกาะฟิลิปปินส์ของสหรัฐอเมริกา (The Philippines Athletic Association) ผู้จัดการแข่งขันกีฬาคาร์นิวัลแห่งกรุงมะนิลา (Manila Carnival Games) เชิญชวนให้สาธารณรัฐจีน และ จักรวรรดิญี่ปุ่น (ชื่อในขณะนั้น) เข้าร่วมการแข่งขัน กีฬาชิงชนะเลิศแห่งตะวันออกไกล (Far East Games) ทว่าในเวลาต่อมา เกิดปัญหาทางการเมืองระหว่างจีนกับญี่ปุ่น การแข่งขันจึงต้องสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง มีการประกาศเอกราชเกิดขึ้นเป็นหลายประเทศใหม่ ซึ่งประเทศในเอเชียทั้งหมดต่างก็คาดหวังจะเห็น การแข่งขันกีฬาภายในทวีปรูปแบบใหม่ ที่ไม่มีการใช้อิทธิพลเข้าครอบงำ หากแต่ร่วมกันเสริมสร้างความเข้มแข็ง ภายใต้ความเข้าใจซึ่งกันและกันยุคสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ยุคสหพันธ์เอเชียนเกมส์. จากนั้นในปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) กลุ่มนักกีฬาของสาธารณรัฐประชาชนจีน และฟิลิปปินส์ ซึ่งเข้าร่วมแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 14 ที่กรุงลอนดอนของสหราชอาณาจักร มีดำริที่จะฟื้นการแข่งขันกีฬาตะวันออกไกลขึ้นใหม่ อย่างไรก็ตาม กูรู ดัตท์ สนธิ (Guru Dutt Sondhi) ผู้แทนคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งอินเดีย ให้ความเห็นว่า ควรเปิดกว้างให้แก่ทุกประเทศในทวีปเอเชีย สามารถเข้าร่วมการแข่งขันอย่างเท่าเทียมกัน จึงเสนอให้ร่างระเบียบขึ้น เพื่อจัดตั้งขึ้นในรูปสหพันธ์กีฬาแห่งเอเชีย (The Asian Athletic Federation) ต่อมาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) ธรรมนูญองค์กรก็เสร็จสมบูรณ์ พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น สหพันธ์กีฬาเอเชีย (The Asian Games Federation) ถือกำเนิดขึ้นที่กรุงนิวเดลีของอินเดีย ซึ่งเมืองหลวงแห่งนี้เอง ที่เป็นเจ้าภาพการแข่งขันครั้งที่ 1 ของเอเชียนเกมส์ ในอีกสองปีถัดมา (พ.ศ. 2493; ค.ศ. 1950) ระยะต่อมาเกิดปัญหาขึ้น ตั้งแต่ก่อนการแข่งขันครั้งที่ 8 ซึ่งมีกรุงเทพมหานครของไทยเป็นเจ้าภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) เนื่องจากสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ออกมติไม่ยินยอมให้ จีนไทเปและอิสราเอล เข้าร่วมแข่งขัน อันมีสาเหตุมาจากปัญหาการเมืองภายในของทั้งสองชาติ ทำให้เกิดความกังวลต่อการรักษาความปลอดภัย เป็นเหตุให้องค์กรกีฬาระดับนานาชาติหลายแห่ง ออกมาทักท้วงต่อต้าน โดยเฉพาะสหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (International Association of Athletics Federations; IAAF) ถึงกับประกาศขู่ว่า หากนักกรีฑาของชาติใด เข้าร่วมแข่งขันเอเชียนเกมส์คราวนี้ สหพันธ์ฯจะกีดกันไม่ให้เข้าแข่งขัน ในกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) ซึ่งส่งผลกระทบให้นักกีฬาหลายชาติ ขอถอนตัวจากการแข่งขันครั้งนี้ยุคสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย ยุคสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย. จากวิกฤตการณ์ดังกล่าว คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติในทวีปเอเชีย ตัดสินใจเปิดการประชุมร่วมกันในวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) โดยไม่มีการแจ้งให้ทางอิสราเอลเข้าร่วมด้วย เพื่อยกร่างแก้ไขธรรมนูญสหพันธ์เอเชียนเกมส์ มีสาระสำคัญคือ การจัดตั้งสมาคมบริหารจัดการเอเชียนเกมส์ขึ้นใหม่ เรียกว่า สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย และก่อตั้งอย่างเป็นทางการ ระหว่างการประชุมครั้งแรกของสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) ที่กรุงนิวเดลี ก่อนการแข่งขันครั้งที่ 9 ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองหลวงของอินเดียตามกำหนดเดิม โดยไม่มีการยกเลิกกำหนดการต่าง ๆ ซึ่งสหพันธ์กีฬาเอเชียจัดทำไว้แล้ว และมีสมาชิกชุดก่อตั้ง เป็นคณะกรรมการโอลิมปิกของ 34 ชาติ จากนั้นสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย จึงเริ่มรับหน้าที่กำกับดูแลเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 10 ซึ่งโซลของเกาหลีใต้เป็นเจ้าภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เป็นครั้งแรก มาจนถึงปัจจุบัน ส่วนจีนไทเปกลับเข้าร่วมในครั้งที่ 11 ที่กรุงปักกิ่งของจีน เมื่อปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) ในการแข่งขันครั้งที่ 12 ซึ่งจัดขึ้นที่นครฮิโรชิมาของญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) เป็นครั้งแรกที่มิได้จัดแข่งขันในเมืองหลวงของประเทศ โดยกลุ่มประเทศที่แยกตัวเป็นเอกราชจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ซึ่งประกอบด้วยคาซักสถาน, คีร์กีซสถาน, อุซเบกิสถาน, เติร์กเมนิสถาน และทาจิกิสถาน เข้าร่วมเป็นครั้งแรก ส่วนอิรักมิได้รับการยินยอมให้เข้าร่วม เนื่องจากเป็นชาติที่ก่อสงครามอ่าวเปอร์เซีย เมื่อปี พ.ศ. 2533 และเกาหลีเหนือคว่ำบาตรการแข่งขัน เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เป็นปัญหา นอกจากนี้ยังเกิดการสูญเสียผู้แทนจากประเทศเนปาล ณเรศกุมาร์ อธิการี (Nareshkumar Adhikari) ซึ่งเสียชีวิตระหว่างพิธีเปิดการแข่งขัน จากนั้นในปี พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) เป็นประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ เมื่อกรุงเทพฯของไทย เป็นเจ้าภาพครั้งที่ 4 โดยพิธีเปิดในสามครั้งแรก มีขึ้นในวันที่ 9 ธันวาคม ส่วนครั้งนี้เปิดในวันที่ 6 แต่ทั้งหมดสิ้นสุดในวันเดียวกันคือ 20 ธันวาคม และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินเป็นประธานในพิธีเปิดทั้งสี่ครั้งการเปลี่ยนแปลงในอนาคต การเปลี่ยนแปลงในอนาคต. จำนวนกีฬาที่แข่งขันจะกำหนดให้ลดน้อยลง เหลือเพียง 35 ชนิดในการแข่งขันครั้งที่ 17 ซึ่งจะจัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ และคราวนี้จะเป็นครั้งสุดท้ายที่การแข่งขันจะจัดขึ้นตามระยะเวลาเดิม เมื่อโอซีเอผลักดันให้การแข่งขันครั้งถัดไป เกิดขึ้นก่อนกีฬาโอลิมปิกเพียงหนึ่งปี จึงหมายความว่าเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 18 ซึ่งตามปกติจะมีกำหนดจัดในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) จะผลักดันไปเป็น พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ในปัจุบันได้มีการยุติการเปลี่ยนระยะเวลาจัดการแข่งขันออกไป จากที่จะจัดการแข่งขันก่อนโอลิมปิกเกมส์เพียงหนึ่งปีเป็นจัดการแข่งขันตามระยะเวลาเดิม เนื่องจากประเทศอินโดนีเซียซึ่งเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 18 ไม่สามารถที่จะจัดภายในปีค.ศ. 2019 ได้ ซึ่งในปีค.ศ. 2019 นั้นได้มีการจัดการเลือกตั้งประธานธิบดีของประเทศอินโดนีเซีย จึงจัดภายในปีค.ศ. 2018 ตามระยะเวลาเดิมแทนสัญลักษณ์ สัญลักษณ์. สภาโอลิมปิกแห่งเอเชียได้มีการใช้สัญลักษณ์เพื่อที่จะใช้ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ซึ่งยึดแนวทางตามการแข่งขันโอลิมปิก สัญลักษณ์ของการแข่งขันเอเชียนเกมส์ คือ- ธงสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย - คบเพลิงเอเชียนเกมส์ - เพลงสดุดีสภาโอลิมปิกแห่งเอเชียการจัดแข่งขัน การจัดแข่งขัน. หมายเหตุ- ประเทศไทยรับจัดแทนประเทศเกาหลีใต้ - ประเทศไทยรับจัดแทนประเทศปากีสถาน - ประเทศอินโดนีเซียรับจัดแทนประเทศเวียดนาม
เอเชียนเกมส์เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิดระหว่างประเทศในทวีปใด
3570
{ "answer_end": [ 27 ], "answer_start": [ 14 ], "text": [ "โกโช อาโอยามะ" ] }
43785
โกโช อาโอยามะ โกโช อาโอยามะ (; เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2506) ชื่อเกิด โยชิมาซะ อาโอยามะ () เป็นนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น ที่มีชื่อเสียงจากการ์ตูนเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน นอกจากนี้เขายังเป็นผู้ออกแบบตัวละครที่เป็นมนุษย์ให้แก่อะนิเมะเรื่อง แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย อีกด้วยสมัยเด็ก สมัยเด็ก. อาโอยามะเกิดเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2506 เมืองไดเอ (ปัจจุบันคือเมืองโฮกูอิ) จังหวัดทตโตริ ประเทศญี่ปุ่น เขาฉายแววความสามารถในการวาดภาพตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยรูป Yukiai War ที่เขาวาดชนะการแข่งขันและได้นำออกแสดงที่ห้างสรรพสินค้าทตโตริไดมารุเขาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนอิเคอุอิในยูระ และสำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาในคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนิปปอน ในช่วงฤดูหนาว พ.ศ. 2529 เขาเข้าร่วมการประกวดการ์ตูนสำหรับนักเขียนหน้าใหม่ ซึ่งเขาได้รับรางวัลชนะเลิศ นี่ยังเป็นก้าวแรกของเขาที่เป็นจุดเปลี่ยนในชีวิตของเขาในฐานะนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่นและนักเขียนอาชีพนักวาดการ์ตูน อาชีพนักวาดการ์ตูน. ผลงานชิ้นแรกของอาโอยามะคือ รอหน่อยนะ () ที่ตีพิมพ์ในนิตยสารการ์ตูนรายสัปดาห์ โชเน็นซันเดย์ ในช่วงฤดูหนาว พ.ศ. 2530 และต่อมา จอมโจรอัจฉริยะ ผลงานอีกชิ้นหนึ่งของอาโอยามะ ก็ได้ลงพิมพ์ลงในนิตยสารเดียวกัน ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 อาโอยามะออกผลงานอีกชิ้นที่ชื่อ ไยบะ และมีมังงะแบบรวมเล่มออกมา 24 เล่ม ต่อมาเขาเปลี่ยนไปออกมังงะประเภทจบในเรื่อง () เช่น ไม้สี่จอมหวด, รวมเรื่องสั้นของโกโช อาโอยามะ, และ ยอดนักสืบจิ๋วโคนันรางวัล รางวัล. ในฐานะนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น อาโอยามะได้รับรางวัล 2 รางวัล ใน พ.ศ. 2535 เขาชนะรางวัล Shogakukan Manga Award สำหรับการ์ตูนแนวโชเน็งจากเรื่อง ไยบะ ต่อมาในปี พ.ศ. 2544 เขาก็ได้รับรางวัลเดิมจากเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน นอกจากนี้ที่บ้านเกิดของเขาที่เมืองโฮกูอิยังมีการจัดทำโครงการฟื้นฟูเมืองให้มีชีวิตชีวา (Machi Okoshi) เพื่อเป็นเกียรติแก่ผลงานมังงะของเขาและชาวเมือง ผลงานที่มาจากโครงการนี้ได้แก่สะพานโคนันข้ามแม่น้ำยูระ และรูปปั้นโคนันในเมือง ซึ่งผลงานนี้เป็นการแสดงความชื่นชม เอโดงาวะ โคนัน ตัวละครที่มีชื่อเสียงที่สุดในเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ต่อมาเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2550 โรงงานมังงะของโกโช อาโอยามะ (Gosho Aoyama Manga Factory) พิพิธภัณฑ์ที่สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จในอาชีพในฐานะนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่นก็ได้เปิดขึ้นที่เมืองโฮกูอิชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. อาโอยามะสมรสกับอิซูมิ อาราอิ (มินามิ ทากายามะ สมาชิกวง TWO-MIX และผู้พากษ์เสียงของโคนันในอะนิเมะ) เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ต่อมาทั้งคู่หย่าเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2550ผลงานผลงานที่เขียนเองผลงานร่วมผลงาน. ผลงานร่วม. - หุ่นนักรบสู้จ้าวจักรวาล บาคุไรก้า (โกโช อาโอยามะ และ เออิจิ ยามากิชิ) - แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย (อะนิเมะ) (ออกแบบตัวละคร)
ผู้วาดการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน มีชื่อว่าอะไร
3571
{ "answer_end": [ 57 ], "answer_start": [ 49 ], "text": [ "แคเมอรูน" ] }
899110
อีลิทวัน อีลิทวัน () เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศแคเมอรูน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1961สโมสรที่เข้าร่วมอีลิทวัน (ฤดูกาล 2017)สโมสรที่เข้าร่วมอีลิทวัน (ฤดูกาล 2017). - Aigle Royal Menoua (Dschang) - APEJES Academy (ยาอุนเด) - Bamboutos FC (Mbouda) - Botafogo FC (ดูอาลา) - Canon Yaoundé (ยาอุนเด) - Cosmos de Bafia (Bafia) - Coton Sport FC (Garoua) - Dragon Club (ยาอุนเด) - Eding Sport FC (Lekié) - Les Astres FC (ดูอาลา) - Lion Blessé (Fotouni) - New Star FC (ดูอาลา) - Panthère du Ndé (Bangangté) - RC Bafoussam (Bafoussam) - UMS de Loum (Njombé) - Union Douala (ดูอาลา) - Unisport FC (Bafang) - YOSA FC (Bamenda)
อีลิทวัน เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศใด
3572
{ "answer_end": [ 79 ], "answer_start": [ 75 ], "text": [ "1961" ] }
899110
อีลิทวัน อีลิทวัน () เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศแคเมอรูน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1961สโมสรที่เข้าร่วมอีลิทวัน (ฤดูกาล 2017)สโมสรที่เข้าร่วมอีลิทวัน (ฤดูกาล 2017). - Aigle Royal Menoua (Dschang) - APEJES Academy (ยาอุนเด) - Bamboutos FC (Mbouda) - Botafogo FC (ดูอาลา) - Canon Yaoundé (ยาอุนเด) - Cosmos de Bafia (Bafia) - Coton Sport FC (Garoua) - Dragon Club (ยาอุนเด) - Eding Sport FC (Lekié) - Les Astres FC (ดูอาลา) - Lion Blessé (Fotouni) - New Star FC (ดูอาลา) - Panthère du Ndé (Bangangté) - RC Bafoussam (Bafoussam) - UMS de Loum (Njombé) - Union Douala (ดูอาลา) - Unisport FC (Bafang) - YOSA FC (Bamenda)
ลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศแคเมอรูนชื่อว่า อีลิทวัน ก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ.ใด
3573
{ "answer_end": [ 101 ], "answer_start": [ 85 ], "text": [ "ประภัสสร เสวิกุล" ] }
445845
ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน เป็นบทประพันธ์แนวนวนิยายของประภัสสร เสวิกุล เคยถูกนำไปดัดแปลงเป็นการแสดงมาแล้ว 3 ครั้งเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง. วายุ ภูบาลบริรักษ์ หรือ ล่องจุ๊น เป็นลูกชายคนกลางของครอบครัวที่พ่อ ไม่เคยให้ความสนใจใยดีเลยแม้แต่น้อย ก็เพราะพ่อคิดว่าล่องจุ๊นเกิดมาเป็นตัวซวยของครอบครัว จึงให้ชื่อว่า "ล่องจุ๊น" ทั้ง ๆ ที่เป็นคนไทยแท้ ๆ เพราะเกิดมาในช่วงที่พ่อต้องขาดทุนกับธุรกิจถมที่ ซึ่งต่างจากพี่น้องอีก 2 คนนั้นคือ พี่ถม พี่ชาย และกี้ น้องชาย ต่อมาครอบครัวภูบาลบริรักษ์มีปัญหา ล่องจุ๊นต้องต่อสู้กับชีวิต ที่โดนตราหน้าว่าเป็นตัวซวยกับโชคชะตา ที่สุดล่องจุ๊นก็สามารถทำให้ทุกคนยอมรับได้และครอบครัวกลับมาอบอุ่นอีกครั้งการแสดง การแสดง. ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน เคยถูกดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์แล้ว 2 ครั้ง และภาพยนตร์ 1 ครั้ง ในชื่อ ล่องจุ๊น- ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ละครโทรทัศน์ทางช่อง 7 (12 เมษายน 2538 - 22 มิถุนายน 2538)นำแสดงโดย ศรราม เทพพิทักษ์ (จุ๊น), สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา (แตงกวา), ปัญญา นิรันดร์กุล (พ่อ), สุรัตนา ข้องตระกูล (แม่), ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ (นิด), เอก โอรี (แป๊ะ), ธานินทร์ ทัพมงคล (ทองเส็ง), อัษฎาวุธ เหลืองสุนทร (ถม), ศศลักษณ์ พันธุ์หาญ (นก), ธีรศักดิ์ พันธุ์จริยา (ลักกี้) เพลงประกอบละครโดย สร่างศัลย์ เรืองศรี กำกับโดย ฐาปกรณ์ ดิษยนันทน์ สร้างโดย บริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)- ล่องจุ๊น ภาพยนตร์โดย อาร์.เอส.ฟิล์ม (27 ธันวาคม พ.ศ. 2539) นำแสดงโดย สมชาย เข็มกลัด (จุ๊น), เกรียงไกร อังคุณชัย (ลักกี้), สรพงษ์ ชาตรี (พ่อ), อุบลวรรณ บุญรอด (แตงกวา), สุเชาว์ พงษ์วิไล (ทองเส็ง), กาญจนาพร ปลอดภัย (แม่), อรรถพร ธีมากร (นก), สุธี วงศ์นำทรัพย์ (แป๊ะ), อภิญญา จิตเมธากุล (นิด) กำกับโดย กมล ศรีสวัสดิ์- ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 (พ.ศ. 2546) นำแสดงโดย พนมกร ตังทัตสวัสดิ์ (จุ๊น), พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร (แตงกวา), มนตรี เจนอักษร (พ่อ), ธัญญา วชิรบรรจง (แม่), คริสโตเฟอร์ วอชิงตัน (แป๊ะ), กีรติ เทพธัญญ์ (นก), กิตติ บุลสถาพร (ลักกี้), ตรีพล พรมสุวรรณ (ถม) สร้างโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์
ใครคือผู้ประพันธ์นวนิยายเรื่องขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน
3574
{ "answer_end": [ 57 ], "answer_start": [ 29 ], "text": [ "ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน" ] }
445845
ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน เป็นบทประพันธ์แนวนวนิยายของประภัสสร เสวิกุล เคยถูกนำไปดัดแปลงเป็นการแสดงมาแล้ว 3 ครั้งเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง. วายุ ภูบาลบริรักษ์ หรือ ล่องจุ๊น เป็นลูกชายคนกลางของครอบครัวที่พ่อ ไม่เคยให้ความสนใจใยดีเลยแม้แต่น้อย ก็เพราะพ่อคิดว่าล่องจุ๊นเกิดมาเป็นตัวซวยของครอบครัว จึงให้ชื่อว่า "ล่องจุ๊น" ทั้ง ๆ ที่เป็นคนไทยแท้ ๆ เพราะเกิดมาในช่วงที่พ่อต้องขาดทุนกับธุรกิจถมที่ ซึ่งต่างจากพี่น้องอีก 2 คนนั้นคือ พี่ถม พี่ชาย และกี้ น้องชาย ต่อมาครอบครัวภูบาลบริรักษ์มีปัญหา ล่องจุ๊นต้องต่อสู้กับชีวิต ที่โดนตราหน้าว่าเป็นตัวซวยกับโชคชะตา ที่สุดล่องจุ๊นก็สามารถทำให้ทุกคนยอมรับได้และครอบครัวกลับมาอบอุ่นอีกครั้งการแสดง การแสดง. ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน เคยถูกดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์แล้ว 2 ครั้ง และภาพยนตร์ 1 ครั้ง ในชื่อ ล่องจุ๊น- ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ละครโทรทัศน์ทางช่อง 7 (12 เมษายน 2538 - 22 มิถุนายน 2538)นำแสดงโดย ศรราม เทพพิทักษ์ (จุ๊น), สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา (แตงกวา), ปัญญา นิรันดร์กุล (พ่อ), สุรัตนา ข้องตระกูล (แม่), ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ (นิด), เอก โอรี (แป๊ะ), ธานินทร์ ทัพมงคล (ทองเส็ง), อัษฎาวุธ เหลืองสุนทร (ถม), ศศลักษณ์ พันธุ์หาญ (นก), ธีรศักดิ์ พันธุ์จริยา (ลักกี้) เพลงประกอบละครโดย สร่างศัลย์ เรืองศรี กำกับโดย ฐาปกรณ์ ดิษยนันทน์ สร้างโดย บริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)- ล่องจุ๊น ภาพยนตร์โดย อาร์.เอส.ฟิล์ม (27 ธันวาคม พ.ศ. 2539) นำแสดงโดย สมชาย เข็มกลัด (จุ๊น), เกรียงไกร อังคุณชัย (ลักกี้), สรพงษ์ ชาตรี (พ่อ), อุบลวรรณ บุญรอด (แตงกวา), สุเชาว์ พงษ์วิไล (ทองเส็ง), กาญจนาพร ปลอดภัย (แม่), อรรถพร ธีมากร (นก), สุธี วงศ์นำทรัพย์ (แป๊ะ), อภิญญา จิตเมธากุล (นิด) กำกับโดย กมล ศรีสวัสดิ์- ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 (พ.ศ. 2546) นำแสดงโดย พนมกร ตังทัตสวัสดิ์ (จุ๊น), พิมพ์มาดา บริรักษ์ศุภกร (แตงกวา), มนตรี เจนอักษร (พ่อ), ธัญญา วชิรบรรจง (แม่), คริสโตเฟอร์ วอชิงตัน (แป๊ะ), กีรติ เทพธัญญ์ (นก), กิตติ บุลสถาพร (ลักกี้), ตรีพล พรมสุวรรณ (ถม) สร้างโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์
ภาพยนตร์เรื่องล่องจุ๊น ที่เข้าฉายเมื่อปี พ.ศ. 2539 ดัดแปลงมาจากนวนิยายเรื่องอะไร
3575
{ "answer_end": [ 100 ], "answer_start": [ 98 ], "text": [ "ไต" ] }
194464
ปัสสาวะ ปัสสาวะ (ภาษาปากว่า ฉี่, เยี่ยว หรือ เบา) เป็นของเสียในรูปของเหลวที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยไต ด้วยกระบวนการกรองจากเลือดและขับออกทางท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการสร้างและสลายในระดับเซลล์ (cellular metabolism) แล้วทำให้เกิดสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นของเสียจำนวนมาก ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออกจากกระแสเลือดพิษ พิษ. ปัสสาวะไม่เป็นพิษ แม้ปัสสาวะประกอบด้วยสารเคมีที่ร่างกายไม่ต้องการ ซึ่งสามารถทำให้ระคายเคืองผิวหนังและตาได้ แต่ถ้าหากผ่านกระบวนการกรองที่เหมาะสม จะสามารถสกัดน้ำออกมาเป็นน้ำดื่มได้ อย่างเช่นน้ำดื่มของนักบินอวกาศลักษณเฉพาะ ลักษณเฉพาะ. ปัสสาวะทั่วไปอาจมีสีแตกต่างกันตั้งแต่ใสไม่มีสีจนถึงสีอำพันเข้ม ขึ้นอยู่กับระดับความอวบน้ำ (hydration) ของร่างกายและองค์ประกอบอื่น ๆการวิเคราะห์ทางเคมี การวิเคราะห์ทางเคมี. ส่วนประกอบของปัสสาวะ มีดังนี้ ดร.ฟารอน นักชีวเคมีได้วิจัยสารต่างๆ ในปัสสาวะพบว่า 95% เป็นน้ำ 2.5 % เป็นยูเรีย อีก 2.5% เป็นสารอื่นๆ ถ้าแยกส่วนประกอบที่เป็นมิลลิกรัมออกมาในน้ำปัสสาวะ 100 ซีซี จะพบว่ามี1. Urea Nitrogen 682มิลลิกรัม 2. Urea 1,459มิลลิกรัม 3. Creatinin Nitrogen 36มิลลิกรัม 4. Creatinin 97มิลลิกรัม 5. Uric acid nitrogen 12.30มิลลิกรัม 6. Uric acid 36.90มิลลิกรัม 7. Amino nitrogen 9.70มิลลิกรัม 8. Ammonia nit 57มิลลิกรัม 9. Sodium 212มิลลิกรัม 10. Potassium 137มิลลิกรัม 11. Calcium 19.50มิลลิกรัม 12. Magnesium 11.30มิลลิกรัม 13. Chloride 314มิลลิกรัม 14. Total sulphate 91มิลลิกรัม 15. Inorganic sulphate 83มิลลิกรัม 16. Inorganic phosphate 127มิลลิกรัม นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ อีก ดังนี้1. เอนไซม์ ได้แก่1. Amylase(diastase) 2. Lactic dyhydrogenate(LDH) 3. Leucine amino-peptdase(LAP) 4. Urokinase เป็นสารละลายลิ่มเลือด รักษาเส้นเลือดอุดตัน โรคเลือดจาง 2. ฮอร์โมน ได้แก่1. Catecholamines 2. 17-Catosteroids 3. Hydroxysteroids 4. Erytropoietine สารกระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง 5. Adenylate cyclase ประสานการทำงานของฮอร์โมนหลายชนิดในร่างกาย โดยผ่านการทำงานของสาร cyclic AMP 6. Prostaglandin เป็นสารประจำถิ่นในเนื้อเยื่อหลายชนิด ควบคุมการอักเสบ การรับรู้ความปวด การจับตัวของลิ่มเลือด ช่วยการทำงานของมดลูก 3. ฮอร์โมนเพศ ช่วยสร้างความกระชุ่มกระชวย ผิวพรรณดี ลดรอยย่นและความหย่อนยานสร้างสุขภาพจิตที่ดี ลดคลอเรสเตอรอลในเลือด ป้องกันกระดูกผุ 4. อินซูลิน (Insulin) คนที่เป็นเบาหวานจะได้อินซูลินเข้าไปช่วยเสริมสร้างการเจริญอาหาร 5. ฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin) พบในปัสสาวะตอนเช้า สารนี้ช่วยให้จิตใจสงบ ลดความกระวนกระวาย หลับสบาย Urea เป็นสารขับปัสสาวะ เป็นสารต้านอักเสบ ต้านไวรัส และแบคทีเรีย ผิวหนังอ่อนเยาว์ สารยูเรียยังช่วยขจัดเชื้อแบคทีเรียที่ไม่ดี ในทางเดินอาหารของผู้ป่วยโรคทางเดินอาหารอีกด้วย Uric acid สารต้านอนุมูลอิสระ ต้านมะเร็ง อินเตอร์เฟอรอน เป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง ที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเพื่อใช้กำจัดเชื้อก่อโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อไวรัส รักษาโรคเอดส์สีที่ผิดปกติ สีที่ผิดปกติ. สีน้ำตาล เกิดจากการดื่มน้ำน้อย ทำให้มีของเสียปะปนกับปัสสาวะเยอะ ปกติจึงต้องดื่มน้ำเยอะๆ ทำให้ปัสสาวะมีสีใสกลิ่น กลิ่น. ปัสสาวะของคนเราและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมล้วนมีกลิ่นคาวเพราะมีกรดยูเรียอยู่ภายในปัสสาวะความขุ่นมัวความเป็นกรดเบส ความเป็นกรดเบส. ปัสสาวะของคนเราและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีความเป็นกรดทั้งนั้นปริมาตรความหนาแน่นปัสสาวะในทางการแพทย์การตรวจสอบ ปัสสาวะในทางการแพทย์. การตรวจสอบ. การตรวจน้ำตาลในปัสสาวะเราสามารถใช้สารละลายเบเนดิกต์ตวจสอบได้แร่ธาตุประโยชน์อื่นยุคโบราณประโยชน์อื่น. ยุคโบราณ. - ในสมัยโบราณ ชาวโรมัน ใช้ปัสสาวะในการเป็นสารฟอกขาวเสื้อผ้าและฟัน - ใน สกอตแลนด์ เคยใช้ปัสสาวะในการป้องกันผ้าขนสัตว์หดตัวปุ๋ย ปุ๋ย. ยูเรียสิ่งทอการเกษตรพลังงานการเอาตัวรอดประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. แต่เดิมมาคนยุคโบราณคิดว่าสีเหลืองของปัสสาวะมาจากแร่ทองคำ นักเล่นแร่แปรธาตุสมัยนั้นได้ใช้เวลานานมากในการที่สกัดเอาแร่ทองคำออกมาจากปัสสาวะเสียให้ได้ แต่ความพยายามดังกล่าวกลับทำให้เกิดการค้นพบฟอสฟอรัสขาว ซึ่งค้นพบโดยนักเล่นแร่แปรธาตุชาวเยอรมัน วิคเตอร์ แวนาโนวิกซ์ (Victor Wernanowicz) ใน พ.ศ. 2212 (ค.ศ. 1669) ขณะที่เขากำลังกลั่นปัสสาวะหมัก และใน พ.ศ. 2316 (ค.ศ. 1773) อิแลร์ รูแอลล์ อิแลร์ มาแรง รูแอลล์ (Hilaire Marin Rouelle) เป็นชาวฝรั่งเศส มีชีวิตใน ค.ศ. 1718 – 1779 รู้จักกันในนาม "เลอ กาเด้" (le cadet) (ซึ่งหมายความว่า "ผู้น้อง") ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกเพื่อให้แตกต่างจากพี่ชายที่ชื่อ กิวลูมม์ ฟรองซัว รูแอลล์ (Guillaume-François Rouelle) ซึ่งเป็นนักเคมีเหมือนกับตัวเขาเอง ใน ค.ศ. 1773 เขาได้ค้นพบสารประกอบอินทรีย์ชนิดใหม่ที่เรียกว่า ยูเรียได้ค้นพบสารประกอบอินทรีย์ชนิดใหม่จากการต้มปัสสาวะแห้งขึ้นซึ่งเรียกว่า ยูเรีย
ปัสสาวะเป็นของเสียที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยอวัยวะส่วนใด
3576
{ "answer_end": [ 2651 ], "answer_start": [ 2640 ], "text": [ "ดื่มน้ำน้อย" ] }
194464
ปัสสาวะ ปัสสาวะ (ภาษาปากว่า ฉี่, เยี่ยว หรือ เบา) เป็นของเสียในรูปของเหลวที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยไต ด้วยกระบวนการกรองจากเลือดและขับออกทางท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการสร้างและสลายในระดับเซลล์ (cellular metabolism) แล้วทำให้เกิดสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นของเสียจำนวนมาก ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออกจากกระแสเลือดพิษ พิษ. ปัสสาวะไม่เป็นพิษ แม้ปัสสาวะประกอบด้วยสารเคมีที่ร่างกายไม่ต้องการ ซึ่งสามารถทำให้ระคายเคืองผิวหนังและตาได้ แต่ถ้าหากผ่านกระบวนการกรองที่เหมาะสม จะสามารถสกัดน้ำออกมาเป็นน้ำดื่มได้ อย่างเช่นน้ำดื่มของนักบินอวกาศลักษณเฉพาะ ลักษณเฉพาะ. ปัสสาวะทั่วไปอาจมีสีแตกต่างกันตั้งแต่ใสไม่มีสีจนถึงสีอำพันเข้ม ขึ้นอยู่กับระดับความอวบน้ำ (hydration) ของร่างกายและองค์ประกอบอื่น ๆการวิเคราะห์ทางเคมี การวิเคราะห์ทางเคมี. ส่วนประกอบของปัสสาวะ มีดังนี้ ดร.ฟารอน นักชีวเคมีได้วิจัยสารต่างๆ ในปัสสาวะพบว่า 95% เป็นน้ำ 2.5 % เป็นยูเรีย อีก 2.5% เป็นสารอื่นๆ ถ้าแยกส่วนประกอบที่เป็นมิลลิกรัมออกมาในน้ำปัสสาวะ 100 ซีซี จะพบว่ามี1. Urea Nitrogen 682มิลลิกรัม 2. Urea 1,459มิลลิกรัม 3. Creatinin Nitrogen 36มิลลิกรัม 4. Creatinin 97มิลลิกรัม 5. Uric acid nitrogen 12.30มิลลิกรัม 6. Uric acid 36.90มิลลิกรัม 7. Amino nitrogen 9.70มิลลิกรัม 8. Ammonia nit 57มิลลิกรัม 9. Sodium 212มิลลิกรัม 10. Potassium 137มิลลิกรัม 11. Calcium 19.50มิลลิกรัม 12. Magnesium 11.30มิลลิกรัม 13. Chloride 314มิลลิกรัม 14. Total sulphate 91มิลลิกรัม 15. Inorganic sulphate 83มิลลิกรัม 16. Inorganic phosphate 127มิลลิกรัม นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ อีก ดังนี้1. เอนไซม์ ได้แก่1. Amylase(diastase) 2. Lactic dyhydrogenate(LDH) 3. Leucine amino-peptdase(LAP) 4. Urokinase เป็นสารละลายลิ่มเลือด รักษาเส้นเลือดอุดตัน โรคเลือดจาง 2. ฮอร์โมน ได้แก่1. Catecholamines 2. 17-Catosteroids 3. Hydroxysteroids 4. Erytropoietine สารกระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง 5. Adenylate cyclase ประสานการทำงานของฮอร์โมนหลายชนิดในร่างกาย โดยผ่านการทำงานของสาร cyclic AMP 6. Prostaglandin เป็นสารประจำถิ่นในเนื้อเยื่อหลายชนิด ควบคุมการอักเสบ การรับรู้ความปวด การจับตัวของลิ่มเลือด ช่วยการทำงานของมดลูก 3. ฮอร์โมนเพศ ช่วยสร้างความกระชุ่มกระชวย ผิวพรรณดี ลดรอยย่นและความหย่อนยานสร้างสุขภาพจิตที่ดี ลดคลอเรสเตอรอลในเลือด ป้องกันกระดูกผุ 4. อินซูลิน (Insulin) คนที่เป็นเบาหวานจะได้อินซูลินเข้าไปช่วยเสริมสร้างการเจริญอาหาร 5. ฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin) พบในปัสสาวะตอนเช้า สารนี้ช่วยให้จิตใจสงบ ลดความกระวนกระวาย หลับสบาย Urea เป็นสารขับปัสสาวะ เป็นสารต้านอักเสบ ต้านไวรัส และแบคทีเรีย ผิวหนังอ่อนเยาว์ สารยูเรียยังช่วยขจัดเชื้อแบคทีเรียที่ไม่ดี ในทางเดินอาหารของผู้ป่วยโรคทางเดินอาหารอีกด้วย Uric acid สารต้านอนุมูลอิสระ ต้านมะเร็ง อินเตอร์เฟอรอน เป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง ที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเพื่อใช้กำจัดเชื้อก่อโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อไวรัส รักษาโรคเอดส์สีที่ผิดปกติ สีที่ผิดปกติ. สีน้ำตาล เกิดจากการดื่มน้ำน้อย ทำให้มีของเสียปะปนกับปัสสาวะเยอะ ปกติจึงต้องดื่มน้ำเยอะๆ ทำให้ปัสสาวะมีสีใสกลิ่น กลิ่น. ปัสสาวะของคนเราและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมล้วนมีกลิ่นคาวเพราะมีกรดยูเรียอยู่ภายในปัสสาวะความขุ่นมัวความเป็นกรดเบส ความเป็นกรดเบส. ปัสสาวะของคนเราและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีความเป็นกรดทั้งนั้นปริมาตรความหนาแน่นปัสสาวะในทางการแพทย์การตรวจสอบ ปัสสาวะในทางการแพทย์. การตรวจสอบ. การตรวจน้ำตาลในปัสสาวะเราสามารถใช้สารละลายเบเนดิกต์ตวจสอบได้แร่ธาตุประโยชน์อื่นยุคโบราณประโยชน์อื่น. ยุคโบราณ. - ในสมัยโบราณ ชาวโรมัน ใช้ปัสสาวะในการเป็นสารฟอกขาวเสื้อผ้าและฟัน - ใน สกอตแลนด์ เคยใช้ปัสสาวะในการป้องกันผ้าขนสัตว์หดตัวปุ๋ย ปุ๋ย. ยูเรียสิ่งทอการเกษตรพลังงานการเอาตัวรอดประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. แต่เดิมมาคนยุคโบราณคิดว่าสีเหลืองของปัสสาวะมาจากแร่ทองคำ นักเล่นแร่แปรธาตุสมัยนั้นได้ใช้เวลานานมากในการที่สกัดเอาแร่ทองคำออกมาจากปัสสาวะเสียให้ได้ แต่ความพยายามดังกล่าวกลับทำให้เกิดการค้นพบฟอสฟอรัสขาว ซึ่งค้นพบโดยนักเล่นแร่แปรธาตุชาวเยอรมัน วิคเตอร์ แวนาโนวิกซ์ (Victor Wernanowicz) ใน พ.ศ. 2212 (ค.ศ. 1669) ขณะที่เขากำลังกลั่นปัสสาวะหมัก และใน พ.ศ. 2316 (ค.ศ. 1773) อิแลร์ รูแอลล์ อิแลร์ มาแรง รูแอลล์ (Hilaire Marin Rouelle) เป็นชาวฝรั่งเศส มีชีวิตใน ค.ศ. 1718 – 1779 รู้จักกันในนาม "เลอ กาเด้" (le cadet) (ซึ่งหมายความว่า "ผู้น้อง") ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกเพื่อให้แตกต่างจากพี่ชายที่ชื่อ กิวลูมม์ ฟรองซัว รูแอลล์ (Guillaume-François Rouelle) ซึ่งเป็นนักเคมีเหมือนกับตัวเขาเอง ใน ค.ศ. 1773 เขาได้ค้นพบสารประกอบอินทรีย์ชนิดใหม่ที่เรียกว่า ยูเรียได้ค้นพบสารประกอบอินทรีย์ชนิดใหม่จากการต้มปัสสาวะแห้งขึ้นซึ่งเรียกว่า ยูเรีย
การที่ปัสสาวะเป็นสีน้ำตาลมีสาเหตุมาจากอะไร
3577
{ "answer_end": [ 215 ], "answer_start": [ 204 ], "text": [ "พรรคถิ่นไทย" ] }
48395
บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย รองศาสตราจารย์ บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช อดีตหัวหน้าพรรคถิ่นไทย อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหญิง (ในสมัย ดร.พิจิตต รัตตกุล) และในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน โดยเข้ารับตำแหน่งรองผู้ว่าฝ่ายโยธาครั้งที่สอง แทน ดร.สามารถ ราชพลสิทธิ์ในเมื่อต้นปี 2549การศึกษา การศึกษา. รองศาสตราจารย์ บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย หรือ รองศาสตราจารย์ ดร.บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย จบการศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับสอง จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทและเอกด้านการวางแผนภาคและผังเมือง (M.R.P.,Ph.D.-City and Regional Planning) จากมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ผลงาน ผลงาน. รองศาสตราจารย์ ดร.บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย มีผลงานวิจัยด้านการผังเมืองหลายโครงการ ได้รับเชิดชูเกียรติจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศาสตราภิชาน ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 -30 กันยายน 2553 ในสาขาวิชาเคหการ วิชาการวางแผนภาคและเมือง ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554 ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
รองศาสตราจารย์ บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย เคยเป็นหัวหน้าพรรคการเมืองใด
3578
{ "answer_end": [ 203 ], "answer_start": [ 169 ], "text": [ "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" ] }
180132
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา หรือสะกดว่า บรรจบเบญจมา (5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 — 13 กันยายน พ.ศ. 2435) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาแพ (สกุลเดิม: ธรรมสโรช) เหตุที่ได้พระนามว่า "บัญจบเบญจมา" นั้น เนื่องจากเจ้าจอมมารดาแพ พระมารดาได้ถึงอสัญกรรมหลังประสูติการพระองค์ ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปัทมราช ความว่า "วันอังคารขึ้นสามค่ำเดือนสิบสองนางแพมารดายิ่งเยาวลักษณ์ แลภักตรพิมลพรรณ แลเกษมสันต์โสภาคย์ แลมนุษยนาคมานพนั้นคลอดบุตรเป็นหญิงออกแล้วครรภมล (รก) ไม่ออกตั้งแต่เวลาห้าทุ่ม หกบาทไป หมอแก้ไขหลายหมอก็ไม่ออก ครั้นเวลาเจ็ดทุ่มก็ตั้งหอบตาตั้ง ครั้นเวลาสามยามหมอบรัดเลอเมริกาเข้าชักครรภมลออกได้ แต่เมื่อนั้นอาการหนักชีพจรอ่อนเสียแล้วแก้ไม่ฟื้น ครั้นเวลาสามยามสี่บาทก็ขาดใจตาย ได้เอาศพไปฝังไว้วัดสมอราย แต่บุตรนั้นดีอยู่" ด้วยเหตุนี้พระราชบิดาจึงพระราชทานพระนามให้ว่า "บัญจบเบญจมา" ซึ่งแปลว่าสิ้นสุดพระองค์ที่ห้า และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดาทรงอภิบาลเป็นสิทธิ์ขาด ตั้งแต่วันประสูติ ณ พระตำหนักของท่าน เช่นเดียวกับสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระเชษฐา ด้วยมารดาของทั้งสองเป็นญาติกับเจ้าจอมมารดาอึ่ง พระมารดาพระองค์เจ้าบุตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา ทรงพระกรรษะตกพระโลหิต (ไอเป็นเลือด) เรื้อรังมานาน ไม่ทราบพระโรคแน่ชัด แพทย์แผนตะวันตกสันนิษฐานว่าประชวรพระโรคในปอด ส่วนแพทย์แผนไทยว่าเป็นโทษพระเสมหะและพระโลหิตอุลบทำพิษ บ้างก็ว่าเป็นวัณโรคภายในบ้าง หริศโรคบ้าง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2435 สิริพระชนมายุ 30 พรรษา พระราชทานเพลิงศพ ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2438 พร้อมกับพระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคพรรณพงศาวลี
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา เป็นพระราชธิดาของกษัตริย์ไทยองค์ใด
3579
{ "answer_end": [ 76 ], "answer_start": [ 64 ], "text": [ "อเมริกาเหนือ" ] }
33557
สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน (; ) เป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 2 ใน 3 ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีส เกาะนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางทิศตะวันตกของเปอร์โตริโก และอยู่ทางทิศตะวันออกของคิวบาและจาเมกา โดยสาธารณรัฐโดมินิกันมีอาณาเขตจรดเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณรัฐโดมินิกันเป็นคนละประเทศกับดอมินีกา ซึ่งเป็นประเทศในทะเลแคริบเบียนอีกประเทศหนึ่งภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. สาธารณรัฐโดมินิกันตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทะเลแคริบเบียนรองจากเกาะคิวบา โดยเกาะได้ถูกแบ่งเป็นประเทศเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณะรัฐโดมินิกันมีพื้นที่ประมาณ 48,442 ตารางกิโลเมตร ทำให้เป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองในหมู่เกาะทะเลแคริบเบียนรองจากคิวบาอีกด้วย เมืองหลวงคือซานโตโดมิงโกตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเกาะ พื้นที่ทั้งหมดของประเทศตั้งอยู่ในเขตร้อนจึงทำให้มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น และยังได้รับอิทธิพลจากพายุเฮอร์ริเคนในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายนประวัติศาสตร์สมัยก่อนอาณานิคมสมัยอาณานิคมเอกราชและสงครามการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. รูปแบบการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย โดยใช้ระบบรัฐสภาและประธานาธิบดีแบบเดียวกันกับสหรัฐอเมริกา ประมุขของประเทศ ประธานาธิบดี ซึ่งดำรงตำแหน่งทั้งประมุขของรัฐและประมุขของรัฐบาล มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี โดยประธานาธิบดีคนปัจจุบัน ได้แก่ นาย Leonel Fernández Reyna ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งนี้เป็นสมัยที่ 3 เมื่อปี 2551 (สมัยแรก ปี 2539 และสมัยที่สอง ปี 2547) และการเลือกตั้งครั้งต่อไปจะมีขึ้นในปี 2555บริหาร บริหาร. ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดีเป็นผู้นำฝ่ายบริหาร โดยมีอำนาจแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี รัฐบาลชุดปัจจุบันนำโดยพรรค PLD ซึ่งครองเสียงข้างมากในรัฐสภาด้วยนิติบัญญัติ นิติบัญญัติ. ฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นระบบสภาคู่ ซึ่งได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี ประกอบด้วยวุฒิสภา ซึ่งมีสมาชิก 32 คน โดยมีที่มาจากการเลือกตั้งใน 31 จังหวัดๆ ละ 1 คน และเขตประเทศ 1 คน ส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน 183 คนตุลาการ
สาธารณรัฐโดมินิกันอยู่ในทวีปใด
3580
{ "answer_end": [ 753 ], "answer_start": [ 748 ], "text": [ "คิวบา" ] }
33557
สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน (; ) เป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 2 ใน 3 ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีส เกาะนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางทิศตะวันตกของเปอร์โตริโก และอยู่ทางทิศตะวันออกของคิวบาและจาเมกา โดยสาธารณรัฐโดมินิกันมีอาณาเขตจรดเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณรัฐโดมินิกันเป็นคนละประเทศกับดอมินีกา ซึ่งเป็นประเทศในทะเลแคริบเบียนอีกประเทศหนึ่งภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. สาธารณรัฐโดมินิกันตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทะเลแคริบเบียนรองจากเกาะคิวบา โดยเกาะได้ถูกแบ่งเป็นประเทศเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณะรัฐโดมินิกันมีพื้นที่ประมาณ 48,442 ตารางกิโลเมตร ทำให้เป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองในหมู่เกาะทะเลแคริบเบียนรองจากคิวบาอีกด้วย เมืองหลวงคือซานโตโดมิงโกตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเกาะ พื้นที่ทั้งหมดของประเทศตั้งอยู่ในเขตร้อนจึงทำให้มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น และยังได้รับอิทธิพลจากพายุเฮอร์ริเคนในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายนประวัติศาสตร์สมัยก่อนอาณานิคมสมัยอาณานิคมเอกราชและสงครามการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. รูปแบบการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย โดยใช้ระบบรัฐสภาและประธานาธิบดีแบบเดียวกันกับสหรัฐอเมริกา ประมุขของประเทศ ประธานาธิบดี ซึ่งดำรงตำแหน่งทั้งประมุขของรัฐและประมุขของรัฐบาล มีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี โดยประธานาธิบดีคนปัจจุบัน ได้แก่ นาย Leonel Fernández Reyna ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งนี้เป็นสมัยที่ 3 เมื่อปี 2551 (สมัยแรก ปี 2539 และสมัยที่สอง ปี 2547) และการเลือกตั้งครั้งต่อไปจะมีขึ้นในปี 2555บริหาร บริหาร. ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดีเป็นผู้นำฝ่ายบริหาร โดยมีอำนาจแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี รัฐบาลชุดปัจจุบันนำโดยพรรค PLD ซึ่งครองเสียงข้างมากในรัฐสภาด้วยนิติบัญญัติ นิติบัญญัติ. ฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นระบบสภาคู่ ซึ่งได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี ประกอบด้วยวุฒิสภา ซึ่งมีสมาชิก 32 คน โดยมีที่มาจากการเลือกตั้งใน 31 จังหวัดๆ ละ 1 คน และเขตประเทศ 1 คน ส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน 183 คนตุลาการ
สาธารณรัฐโดมินิกันเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองในหมู่เกาะทะเลแคริบเบียนรองจากประเทศใด
3581
{ "answer_end": [ 104 ], "answer_start": [ 88 ], "text": [ "สุวิทย์ คุณกิตติ" ] }
124910
พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นพรรคการเมืองไทยซึ่งก่อตั้งในกลางปี พ.ศ. 2550 มีนายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ในช่วงก่อตั้ง นายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ยุทธศาสตร์หาเสียงของพรรคคือ "นำรอยยิ้มกลับสู่สังคมไทย" มีอดีต ส.ส.ภาคอีสานเป็นสมาชิก เช่น กลุ่มของพินิจ จารุสมบัติ ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ วัฒนา อัศวเหม โสภณ เพชรสว่าง กลุ่มอดีต ส.ส.กรุงเทพมหานคร ในกลุ่มกรุงเทพ 50 ของสุรนันท์ เวชชาชีวะ รวมทั้งกลุ่มบ้านริมน้ำของสุชาติ ตันเจริญ และกลุ่มทางภาคเหนือของกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ อีกด้วย ในส่วนของกลุ่มบุคคลอื่นที่ไม่ได้เป็นนักการเมืองมาก่อน แต่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคด้วยก็ได้แก่ นายสุระ แสนคำ หรือ เขาทราย แกแล็คซี่ อดีตแชมป์โลกชาวไทย และ นาวาอากาศตรีปิยะพงษ์ ผิวอ่อน อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นต้น ต่อมาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2554 ผู้บริหารของพรรครวมชาติพัฒนา และพรรคเพื่อแผ่นดิน ได้ประกาศรวมตัวกันและตั้งพรรคใหม่ขึ้น ชื่อว่า "พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน" โดยสมาชิกของพรรคเพื่อแผ่นดินจำนวนมาก โดยเฉพาะอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ได้ลาออกจากพรรคเพื่อแผ่นดินและสมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรครวมชาติพัฒนา กลางเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 กรรมการบริหารพรรคเพื่อแผ่นดินมีมติให้ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี เป็นหัวหน้าพรรค และนำสมาชิกพรรคสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ทั้งแบบบัญชีรายชื่อและแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ในนามพรรคเพื่อแผ่นดิน เบอร์ 53กรรมการบริหารพรรคกรรมการบริหารพรรค (2 ตุลาคม 2550 - 30 ตุลาคม 2551)กรรมการบริหารพรรค (9 ธันวาคม 2551 - 27 มีนาคม 2552)กรรมการบริหารพรรค. กรรมการบริหารพรรค (9 ธันวาคม 2551 - 27 มีนาคม 2552). 1. พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก หัวหน้าพรรค 2. พลเอก ธงชัย เกื้อสกุล รองหัวหน้าพรรค 3. นายสิทธิชัย จันทร์ธารักษ์ รองหัวหน้าพรรค 4. นายชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม รองหัวหน้าพรรค 5. นายรณฤทธิชัย คานเขต รองหัวหน้าพรรค 6. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง รองหัวหน้าพรรค และเลขาธิการพรรค 7. นายไชยยศ จิรเมธากร โฆษกพรรค การเลือกกกรรมการบริหารพรรคชุดดังกล่าวนี้ มีเรื่องวุ่นวายตามมาซึ่งมีสมาชิกพรรคบางส่วนอ้างว่าการที่พลตำรวจเอกประชา ขึ้นเป็นหัวหน้าพรรค ถือเป็นโมฆะ เนื่องจากผิดข้อบังคับพรรค กระทั่งต้องมีการส่งเรื่องให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) พิจารณา โดยพลตำรวจเอกประชายังคงดำรงตำแหน่งเรื่อยมาระหว่างรอผลพิจารณา เรื่องราวได้ลุกลามจนถึงขั้นพยายามลงมติขับพลตำรวจเอกประชาออกจากตำแหน่งในเวลาต่อมา ท้ายสุดผลของการพิจารณาจาก กกต. หลังจากตรวจสอบข้อเท็จจริงเรื่องข้อบังคับต่างๆ มติ กกต.เสียงข้างมากเห็นว่า การประชุมดังกล่าวไม่ชอบด้วย พ.ร.บ.พรรคการเมืองและข้อบังคับพรรคเพื่อแผ่นดิน จึงทำให้มติการเลือกพลตำรวจเอกประชา พรหมนอกเป็นหัวหน้าพรรค ถือเป็นโมฆะกรรมการบริหารพรรค (20 เมษายน 2552 - พ.ศ. 2554)กรรมการบริหารพรรค (20 เมษายน 2552 - พ.ศ. 2554). 1. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง หัวหน้าพรรค 2. ร.ต.หญิงระนองรักษ์ สุวรรณฉวี รองหัวหน้าพรรค (ลาออก 23 ก.พ. 2553) 3. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ รองหัวหน้าพรรค 4. นพ.พฤฒิชัย ดำรงรัตน์ รองหัวหน้าพรรค (ลาออก 23 ก.พ. 2553) 5. นายกว้าง รอบคอบ รองหัวหน้าพรรค 6. นายสุรเดช ยะสวัสดิ์ รองหัวหน้าพรรค 7. นายนิมุคตาร์ วาบา รองหัวหน้าพรรค 8. นายธีระทัศน์ เตียวเจริญโสภา รองหัวหน้าพรรค (ลาออก 24 ก.พ. 2553) 9. นายไชยยศ จิรเมธากร เลขาธิการพรรค (ลาออก 4 มี.ค. 2553) 10. นายประนอม โพธิ์คำ รองเลขาธิการพรรค (ลาออก 23 ก.พ. 2553) 11. นายสมพงษ์ พิศาลกิจวนิช รองเลขาธิการพรรค (ลาออก 5 มี.ค. 2553) 12. นางพรรณี จารุสมบัติ รองเลขาธิการพรรค 13. นายอดุลย์ นิลเปรม นายทะเบียนสมาชิกพรรค 14. นายอนุวัฒน์ วิเศษจินดาวัฒน์ เหรัญญิกพรรค (ลาออก 24 ก.พ. 2553) 15. นายแพทย์อลงกต มณีกาศ โฆษกพรรค 16. นางนัยนา จินดาคำ กรรมการ 17. นางสาวภิญญดา สุขสวัสดิ์ กรรมการ 18. นางสาวพิมล สุขสวัสดิ์ กรรมการ 19. นายสุพจน์ ศักดิ์ประศาสน์ กรรมการ 20. นางสาวสุภาภรณ์ สินธุเสน กรรมการ 21. นางสาวแอ๊ปเปิ้ล สัตย์ซื่อ กรรมการ 22. นายบุญช่วย เตชานุบาล กรรมการ 23. นางนิศา วงศ์วรรณ กรรมการ (ลาออก 9 มี.ค. 2553) 24. นายพรชัย นวชิต กรรมการ 25. นายปัณณธร บุรากรณ์ กรรมการ 26. นายสถิตย์ สิริสวัสดิ์ กรรมการ 27. พ.ต.อ.ทวีศักดิ์ งามสง่า กรรมการ 28. นายมารุต มัสยวาณิช กรรมการ 29. นายเอกชัย พลซื่อ กรรมการ 30. ส.ต.ราช กั้นห้องกลาง กรรมการ (ลาออก 2 มี.ค. 2553) 31. ร.ต.บุรินทร์ แสดใหม่ กรรมการ (ลาออก 28 ก.พ. 2553) 32. นางภัททิยา มงคล กรรมการ (ลาออก 2 มี.ค. 2553) 33. นายชยุตม์ วงปัดสา กรรมการ 34. นายคนอง เจริญท้าว กรรมการ 35. นางสาวอาภาภรณ์ พุทธปวน กรรมการ 36. นายอานันท์ ผ่าโผน กรรมการ 37. นายสุรศักดิ์ นาคดี กรรมการ 38. นายณรงค์ชัย วีระกุล กรรมการ (ลาออก 11 ก.ย. 2553) 39. นายชัยยงค์ โคตะสิน กรรมการ 40. นายชูศักดิ์ สุทธิรารักษ์ กรรมการ 41. นายวิเชียร ลือชาชาญเดช กรรมการ (ลาออก 9 มี.ค. 2553) 42. นายธานินทร วรกุลเสถียร กรรมการ 43. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ กรรมการ 44. นายสุทัศน์ เรืองศรี กรรมการ 45. นางสาวอัญชลี สายสืบ กรรมการ 46. นายสมปอง ทองวีระประเสริฐ กรรมการ (ลาออก 25 มี.ค. 2553) 47. นายชลอ นาคอุไร กรรมการ (ลาออก 25 มี.ค. 2553) 48. นายประจักษ์ รัชธร กรรมการ (ลาออก 25 มี.ค. 2553) 49. นายพีระพล พุฒดอน กรรมการ (ลาออก 2 มี.ค. 2553) 50. นายฉัตรชัย เอมราช กรรมการ (ลาออก 2 มี.ค. 2553) 51. นายกลวัชร์ อึ้งสวัสดิ์ กรรมการ (ลาออก 24 ก.พ. 2553) 52. นางนารดา อึ้งสวัสดิ์ กรรมการ (ลาออก 23 ก.พ. 2553) 53. นายโชคชัย เลิศสุวรรณกุล กรรมการ 54. นายเฉลิมชัย ตันติวงศ์ กรรมการ/ผู้อำนวยการพรรค 55. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ กรรมการ การเปลี่ยนแปลงกรรมการบริหารอดีตสมาชิกพรรคที่มีชื่อเสียงอดีตสมาชิกพรรคที่มีชื่อเสียง. - สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เคยดำรงตำแหน่ง ประธานสภานโยบายและยุทธศาสตร์พรรค แต่ต่อมาได้ลาออกจากตำแหน่ง เนื่องจากเป็นหนึ่งใน 111 อดีตกรรมกรรมบริหารพรรคไทยรักไทย ที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี และ กกต. วินิจฉัยว่าไม่สมควรดำรงตำแหน่งใดๆ ในพรรคการเมือง ระหว่างที่ถูกตัดสิทธิ์ดังกล่าว - สุรนันท์ เวชชาชีวะ เคยดำรงตำแหน่ง ประธานกรรมการประสานงานการเลือกตั้ง ของพรรคเพื่อแผ่นดิน แต่ต่อมาได้ขอลาออกจากตำแหน่ง ด้วยเหตุผลเช่นเดียวกับนายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย - จุฑามาศ ศิริวรรณ อดีตผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เคยดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าพรรค และเป็นผู้สมัคร ส.ส.แบบสัดส่วน กลุ่มที่ 6 แต่ต่อมาได้ลาออกจากสมาชิกพรรคเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ก่อนถึงวันเลือกตั้งเพียงเล็กน้อย เนื่องจากเกิดข่าว คดีชาวต่างชาติ จ่ายเงินติดสินบน เจ้าหน้าที่ระดับสูงของ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย - พลตำรวจเอกประชา พรหมนอก อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดินสภานโยบายและยุทธศาสตร์พรรค สภานโยบายและยุทธศาสตร์พรรค. ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 พรรคเพื่อแผ่นดินได้แต่งตั้ง นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย เป็นประธานสภานโยบายและยุทธศาสตร์พรรค โดยมีคณะกรรมการสภาฯ ประกอบด้วย นายวิจิตร สุพินิจ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย นายศุภชัย พิศิษฐวานิช อดีตปลัดกระทรวงการคลัง นายบรรพต หงษ์ทอง อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายวิเชียร เตชะไพบูลย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน และ นายนิทิต พุกกะณะสุต ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน โดยทั้งหมดจะเป็นทีมเศรษฐกิจของพรรคเพื่อแผ่นดินด้วย ต่อมานายสุรเกียรติ ได้ลาออกจากตำแหน่ง ประธานสภานโยบายและยุทธศาสตร์พรรค เนื่องจากเป็นหนึ่งใน 111 อดีตกรรมกรรมบริหารพรรคไทยรักไทย ที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี และ กกต. วินิจฉัยว่าไม่สมควรดำรงตำแหน่งใดๆ ในพรรคการเมืองระหว่างที่ถูกตัดสิทธิ์ดังกล่าวการถอนตัวจากการร่วมรัฐบาล สมัยนายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี การถอนตัวจากการร่วมรัฐบาล สมัยนายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี. ในค่ำวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 นายสุวิทย์ ในฐานะหัวหน้าพรรคได้จัดแถลงข่าวที่กระทรวงอุตสาหกรรมร่วมกับกรรมการบริหารพรรคอีก 2 คน ถอนตัวจากการร่วมรัฐบาลคณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 โดยอ้างถึงมีความพยายามของรัฐบาลที่จะดึงดันแก้ไขรัฐธรรมนูญ การจาบจ้วงเบื้องสูง และความไม่ชัดเจนในกรณีปราสาทเขาพระวิหารขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก แต่ต่อมา บรรดาสมาชิกได้แถลงว่า การลาออกครั้งนี้เป็นการกระทำของนายสุวิทย์คนเดียว มิได้ผ่านมติของกรรมการบริหารพรรคการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2551 การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2551. ในการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปี พ.ศ. 2551 ต่อจากนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี จากรณียุบพรรคพลังประชาชน การลงมติครั้งนี้มีกระแสข่าวถึงความไม่แน่นอนในการเปลี่ยวขั้วรัฐบาล ของพรรคร่วมรัฐบาล ซึ่งรวมถึงพรรคเพื่อแผ่นดินด้วยเช่นกัน ก่อนการลงมติมีการแถลงข่าวที่สร้างความสับสนถึงมติของพรรคเพื่อแผ่นดินอยู่เป็นระยะว่าจะเป็นเช่นไร จนมีเมื่อนายเสนาะ เทียนทอง หัวหน้าพรรคประชาราช ได้เสนอชื่อพลตำรวจเอกประชา พรหมนอก หัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดินในขณะนั้น ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี ด้วยเหตุว่าเป็นคนกลางและมีคุณวุฒิ เหมาะกับสถานการณ์บ้านเมือง แต่เมื่อถึงวันลงมติเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 เสียงของ ส.ส. ในพรรคเพื่อแผ่นดินทั้งหมด 21 เสียงในเวลานั้น ได้แตกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ส.ส.ที่ลงมติเลือกนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรีส.ส.ที่ลงมติเลือกนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี. 1. นายไชยยศ จิรเมธากร ส.ส.อุดรธานี 2. นายนรพล ตันติมนตรี ส.ส.เชียงใหม่ 3. นายประนอม โพธิ์คำ ส.ส.นครราชสีมา 4. นายพิกิฏ ศรีชนะ ส.ส.ยโสธร 5. นายพิเชษฐ์ ตันเจริญ ส.ส.ฉะเชิงเทรา 6. นายพลพีร์ สุวรรณฉวี ส.ส.นครราชสีมา 7. ร้อยตรีหญิง ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี ส.ส.นครราชสีมา 8. นายรณฤทธิชัย คานเขต ส.ส.ยโสธร 9. นายอนุวัตน์ วิเศษจินดาวัฒน์ ส.ส.นครราชสีมา 10. นายวิทยา บุตรดีวงศ์ ส.ส.มุกดาหาร 11. นายสุชาติ ตันติวณิชชานนท์ ส.ส.อุบลราชธานี 12. นายแพทย์อลงกต มณีกาศ ส.ส.นครนพมส.ส.ที่ลงมติเลือกพลตำรวจเอกประชา พรหมนอก เป็นนายกรัฐมนตรีส.ส.ที่ลงมติเลือกพลตำรวจเอกประชา พรหมนอก เป็นนายกรัฐมนตรี. 1. พลตำรวจเอกประชา พรหมนอก ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 3 2. หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ไชยันต์ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 6 3. นางจิตรวรรณ หวังศุภกิจโกศล ส.ส.นครราชสีมา 4. นายปุระพัฒน์ วิเศษจินดาวัฒนา ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 5 5. นายมานพ ปัตนวงศ์ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 8 6. นายแพทย์วัลลภ ไทยเหนือ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 4 7. นายแพทย์แวมาฮาดี แวดาโอะ ส.ส.นราธิวาส 8. นายสมเกียรติ ศรลัมพ์ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 2 9. นายสุรเดช ยะสวัสดิ์ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 1การลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี พ.ศ. 2553 การลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี พ.ศ. 2553. การอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี 5 คน เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม และวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ซึ่งมีการลงมติในวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 โดย ส.ส.ของพรรคเพื่อแผ่นดินบางส่วน ได้ลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีในรัฐบาล 2 คน คือ นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล และนายโสภณ ซารัมย์ จากพรรคภูมิใจไทย ทำให้แกนนำของพรรคภูมิใจไทย แสดงความไม่พอใจ และเรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีปรับพรรคเพื่อแผ่นดินออกจากพรรคร่วมรัฐบาล ต่อมาได้มีการปรับรัฐมนตรีในส่วนของพรรคเพื่อแผ่นดิน จำนวน 3 คน คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงไอซีที รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ออกจากตำแหน่ง และมีการแต่งตั้งรัฐมนตรีจากพรรคประชาธิปัตย์ พรรคมาตุภูมิ แทนในโควตาของพรรค โดยให้โควตารัฐมนตรีให้พรรคเพื่อแผ่นดิน เพียง 1 ตำแหน่ง คือ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 การเลือกตั้ง พ.ศ. 2554. พรรคเพื่อแผ่นดิน โดยนายกว้าง รอบคอบ รักษาการหัวหน้าพรรค ประกาศแสดงเจตนารมณ์ของพรรคว่าจะไม่มีการส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 เพื่อป้องกันความสับสันระหว่างพรรคเพื่อแผ่นดิน และพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ซึ่งสมาชิกของพรรคเพื่อแผ่นดินส่วนใหญ่ได้ย้ายเข้าไปร่วมงานทางการเมืองด้วย ส่วนกิจกรรมของพรรคเพื่อแผ่นดินยังคงมีต่อไป พรรคเพื่อแผ่นดิน ได้ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งอีกครั้งในการเลือกตั้งซ่อมที่จังหวัดเชียงใหม่ เขต 3 แทนนางสาวชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ เมื่อวันที 2 มิถุนายน พ.ศ. 2555 แต่ไม่ได้รับเลือกตั้งการเลือกตั้ง พ.ศ. 2557 การเลือกตั้ง พ.ศ. 2557. พรรคเพื่อแผ่นดิน ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 ซึ่งกำหนดให้มีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 มีหมายเลขประจำพรรคคือ หมายเลข 53ประวัติการทำงานในรัฐสภา
ใครคือหัวหน้าพรรคคนแรกของพรรคเพื่อแผ่นดิน
3582
{ "answer_end": [ 140 ], "answer_start": [ 131 ], "text": [ "เมษ ธราธร" ] }
418999
ATM เออรัก เออเร่อ ATM เออรัก เออเร่อ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก - คอมเมดี้เข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2555 กำกับโดย เมษ ธราธร ATM เออรัก เออเร่อ ถือว่าประสบความสำเร็จอย่างมาก ทำรายได้รวม 152.5 ล้านบาท เป็นอันดับ 7 ของภาพยนตร์ไทยที่ทำรายได้ตลอดกาล จากเวลาเข้าฉาย 4 สัปดาห์ 4 วัน และยังเคยเป็นภาพยนตร์ที่ทำรายได้มากที่สุดของจีทีเอชมาประมาณ 1 ปี จนกระทั่ง พี่มากพระโขนง (2556) ทำรายได้แซงเป็นอันดับหนึ่งในวันที่ 3 เมษายน 2556 ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 มีละครซีรีส์ที่ดำเนินเนื้อเรื่องต่อจากภาพยนตร์เรื่องนี้ในชื่อเรื่อง ATM 2 คู่เวอร์ เออเร่อ เออรัก ออกอากาศในช่อง จีทีเอชออนแอร์นักแสดงนักแสดง. - เต๋อ ฉันทวิชช์ ธนะเสวี รับบท สุริยะ (เสือ) - ไอซ์ ปรีชญา พงษ์ธนานิกร รับบท อรจิรา รองผู้จัดการสำนักงานใหญ่(จิ๊บ) - เผือก พงศธร จงวิลาส รับบท ดนัย ผู้ช่วยผู้จัดการ - โจ๊ก กรภพ จันทร์เจริญ รับบท โหย่ว (ลูกชายหัวหน้าฝ่าย) - ป๊อบ ปองกูล สืบซึ้ง รับบท ปกรณ์ ผู้จัดการธนาคารสาขาชลบุรี - ญาณี ตราโมท รับบท หัวหน้าฝ่าย ผู้จัดการสำนักงานใหญ่ - พุทธชาด พงศ์สุชาติ รับบท เจ๊อัม (อัมรา พรสุชาติ) - แจ็ค เฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์ รับบท แป๊ด - เอิร์ธ ธวัช พรรัตนประเสริฐ รับบท ปื๊ด - ฝน ศนันธฉัตร ธนพัฒน์พิศาล รับบท ก๊อบ - แอนนา ชวนชื่น รับบท จ.ส.ต.อำนวย ชาติเชื้อนักแสดงรับเชิญนักแสดงรับเชิญ. - สินทวีชัย หทัยรัตนกุล - นักฟุตบอล - พิภพ อ่อนโม้ - นักฟุตบอล - เทิดศักดิ์ ใจมั่น - นักฟุตบอล - เอกพันธ์ อินทเสน - นักฟุตบอล - กองเชียร์ สโมสรฟุตบอลชลบุรี และ สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด - กรณ์ กิจเจริญ (แก้ว) - ช่างเทตนิค 1 - กีรติ ศิวะเกื้อ (โอ๊ค) - ช่างเทคนิค 2 - ศรีธนญชัย เชิญยิ้ม (อาไท กลมกิ๊ก) - อาทิตย์ - ปวีณ์นุช แพ่งนคร - นางพยาบาล - ธนัชพันธ์ บูรณาชีวาวิไล (ดีเจบุ๊คโกะ) - ดีเจในงานเลี้ยง - ก๊อฟ-ต้า-ยัด นักเขียนบทของ GTHเพลงประกอบเพลงประกอบ. - มองได้แต่อย่าชอบ ขับร้องโดย ลุลา Feat. เต๋อ ฉันทวิชช์, ป๊อป Calories Blah Blah, โจ๊ก So Cool (ดัดแปลงจากเพลง ในวันที่เราต้องไกลห่าง)
ใครคือผู้กำกับภาพยนตร์ไทยเรื่อง ATM เออรัก เออเร่อ
3583
{ "answer_end": [ 58 ], "answer_start": [ 22 ], "text": [ "โปรตีนที่พบในเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย" ] }
470922
ไมโอซิน ไมโอซิน () คือโปรตีนที่พบในเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย มีขนาดใหญ่, หนา และสีเข้มกว่าแอกติน ไมโอซินจัดเป็นโปรตีนขับเคลื่อน (motor protein) ชนิดหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่ช่วยในการเคลื่อนไหวภายในเซลล์และเนื้อเยื่อ โดยอาศัยพลังงาน ATP ในการเคลื่อนที่ไปตามสายเอฟแอกติน (F-actin) ที่พันกันเป็นเกลียวอยู่กับโทรโปไมโอซิน (tropomyosin) และโทรโปรนิน (troponin)โครงสร้าง โครงสร้าง. โครงสร้างของไมโอซินแต่ละโมเลกุลจะประกอบด้วยส่วนหัว (myosin heads) ส่วนคอ และส่วนหาง (myosin tails)รูปภาพเพิ่มเติม
ไมโอซินคืออะไร
3584
{ "answer_end": [ 207 ], "answer_start": [ 171 ], "text": [ "การเคลื่อนไหวภายในเซลล์และเนื้อเยื่อ" ] }
470922
ไมโอซิน ไมโอซิน () คือโปรตีนที่พบในเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย มีขนาดใหญ่, หนา และสีเข้มกว่าแอกติน ไมโอซินจัดเป็นโปรตีนขับเคลื่อน (motor protein) ชนิดหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่ช่วยในการเคลื่อนไหวภายในเซลล์และเนื้อเยื่อ โดยอาศัยพลังงาน ATP ในการเคลื่อนที่ไปตามสายเอฟแอกติน (F-actin) ที่พันกันเป็นเกลียวอยู่กับโทรโปไมโอซิน (tropomyosin) และโทรโปรนิน (troponin)โครงสร้าง โครงสร้าง. โครงสร้างของไมโอซินแต่ละโมเลกุลจะประกอบด้วยส่วนหัว (myosin heads) ส่วนคอ และส่วนหาง (myosin tails)รูปภาพเพิ่มเติม
ไมโอซินเป็นโปรตีนโปรตีนชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่ช่วยในเรื่องใด
3585
{ "answer_end": [ 90 ], "answer_start": [ 66 ], "text": [ "หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล" ] }
156435
ครูสมศรี ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528 กำกับโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล นำแสดงโดย ชาลิตา ปัทมพันธ์ รณฤทธิชัย คานเขต และสมชาย อาสนจินดา เข้าฉายเมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2528 ที่โรงภาพยนตร์สยาม-อินทรา-พันธุ์ทิพย์-เฉลิมกรุง-วิลลา ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์สะท้อนสังคม กล่าวถึงชีวิตของชาวชุมชนแออัด ในตรอกศาลเจ้าพ่อเสือ ต้องถูกไล่ที่โดยเจ้าของที่ดิน ชาวบ้านลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องที่อยู่อาศัย โดยการนำของครูสมศรี ผู้หญิงตัวเล็ก ๆ แม้จะต้องแลกมาด้วยชีวิตของเธอ ภาพยนตร์ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528 สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) และสาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา) แล้วยังเข้าชิงสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (ชาลิตา ปัทมพันธ์) และสาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล) โดยรณ ฤทธิชัยและม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล ยังได้รับรางวัล และ ส. อาสนจินดา ได้เข้าชิง รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529 ในสาขาเดียวกัน และได้รับถึง 6 รางวัล ต่อมาถูกนำมาสร้างใหม่เป็นละครโทรทัศน์ โดย เป่า จิน จง ในปี พ.ศ. 2546 นักแสดงนำโดย สุจิรา อรุณพิพัฒน์, นวพล ภูวดล, เจฟฟรี่ เบญจกุล, สรพงษ์ ชาตรี, สุกัญญา มิเกลเรื่องย่อ เรื่องย่อ. ครูสมศรี ถ่ายทอดจากปากของ บุญเพ็ง (รณ ฤทธิชัย) ผู้อำนวยการกองบริการประชาชนของเทศบาลที่เคยสูญเสียคนรักสมัยเป็นนักศึกษาในเหตุการณ์มหาวิปโยค จนบุญเพ็งเก็บอุดมการณ์ใส่ลิ้นชัก ยอมเป็นเบี้ยในระบบราชการ กระทั่งมาพบครูสมศรี (ชาลิตา ปัทมพันธ์) ที่มีเลือดนักสู้ ทำให้บุญเพ็งรู้จักชีวิตและกล้าที่จะเปิดโปงทุจริตต่อ ป.ป.ป. ครูสมศรี เกิดในสลัมตรอกศาลเจ้าพ่อเสือ มุมานะเรียนจนจบชั้น ม.ศ.5 แล้วมาเป็นครูสอนในโรงเรียนของครูทองย้อย (ส.อาสนจินดา) ครูแก่ขี้เหล้าที่ไม่มีไฟความเป็นครูเหลืออยู่ สลัมแห่งนี้เป็นที่หมายตาของบริษัทสหพัฒนาที่ดินจำกัด มีนายดุสิต (ภูมิ พัฒนยุทธ) เป็นประธานและทนายสด (ชลิต เฟื่องอารมณ์) เป็นมือกฎหมาย ใช้ทั้งกฎหมายและกฎหมู่ในการผลักดันให้ชาวสลัมออกไป จะเอาไปทำศูนย์การค้า ครูสมศรีกับชาวบ้านต่อต้านไม่ยอมออก จึงถูกพวกบริษัทวางเพลิงเผาไล่ที่ ครูสมศรีนำชาวบ้านไปร้องเรียนต่อเทศบาล ได้รับความช่วยเหลือจากนายบุญเพ็งและทนายทองดี (เศรษฐา ศิระฉายา) เพราะเห็นว่า มีการทุจริตในการให้บริษัทเช่าที่ดินสลัม เหตุการณ์รุนแรงตามลำดับ บุญเพ็งถูกห้ามติดตามเรื่องสลัม ชาวบ้านถูกตำรวจกลั่นแกล้งจับกุม กรรมการหมู่บ้านถูกฆ่าตาย ถูกข่มขู่ ต่อมาทนายทองดีก็ถูกยิงตายอีกคน ทำให้ชาวบ้านเริ่มท้อแท้ หวาดกลัว ส่วนครูทองย้อยซึ่งมีสัญญาเช่าที่ดินจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนแผ่นดินเหลืออยู่ ก็ถูกพวกบริษัทมาให้ข้อเสนอจะสร้างโรงเรียนให้ใหม่และยุยงให้เผาโรงเรียนทิ้ง แต่ครูทองย้อยไม่ยอมทำ สมุนของบริษัทจึงลงมือทำเอง พอดีกับบุญเพ็งและครูสมศรีมาพบก่อน จึงช่วยกันดับไฟทัน แต่ครูสมศรีก็ถูกยิงตาย ทำให้ครูทองย้อยเห็นความตั้งใจอันแรงกล้า จึงอึดสู้คดีกับบริษัทจนศาลมีคำพิพากษาให้เป็นฝ่ายชนะคดี มีสิทธิอยู่ในสลัมได้ สมความตั้งใจของครูสมศรีนักแสดงนักแสดง. - ชาลิตา ปัทมพันธ์ รับบท ครูสมศรี มามีสุข - รณ ฤทธิชัย รับบท บุญเพ็ง - สมชาย อาสนจินดา รับบท ครูทองย้อย - ชลิต เฟื่องอารมย์ รับบท ทนายสด - เศรษฐา ศิระฉายา รับบท ทนายทองดี - ภูมิ พัฒนยุทธ รับบท นายดุสิต - ครรชิต ขวัญประชา รับบท ยามรางวัลรางวัล. - รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528- นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) - นักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา)- รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529- ผู้แสดงนำฝ่ายชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) - ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - ถ่ายภาพยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - ออกแบบและสร้างฉากยอดเยี่ยม (มานพ ชัยชุมพล) - บันทึกเสียงยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล)ละครโทรทัศน์ ละครโทรทัศน์. ครูสมศรี ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยค่าย เป่า จิน จง ในปี พ.ศ. 2546 เป็นบทประพันธ์ของ มจ.ชาตรีเฉลิม ยุคล บทโทรทัศน์โดย ปัณณ์ สิเนห์ กำกับการแสดงโดย ชุติกุล สุตสุนทร นักแสดงนำโดย สุจิรา อรุณพิพัฒน์, นวพล ภูวดล, เจฟฟรี่ เบญจกุล, สรพงษ์ ชาตรี, สุกัญญา มิเกล, สมบัติ เมทะนี, จุรี โอศิริ, รอง เค้ามูลคดี, โฉมฉาย ฉัตรวิไลเรื่องย่อ เรื่องย่อ. สมศรี เด็กที่ นายสม เก็บมาเลี้ยงใฝ่ฝันอยากเป็นครู แต่ถูกระบบเส้นสายจนสอบไม่ผ่าน สมศรี ได้ยิน เปิ่นกระเป๋ารถเมล์คุยกันว่าขาดคนขับรถ สมศรีตัดสินใจสมัคร ทัตเทพ ทวิภาคลูกชาย นายโภคิน ขับรถเฉี่ยว แมงกอย เด็กดอยที่สมศรีเคยเจอตอนไปสอบ แต่ยืนยันว่าแมงกอยวิ่งมาชนรถตัวเองหลังขโมยลูกชิ้น บังเอิญ นิมิต ผ่านจึงพาไปแทน สมศรีรับแมงกอยมาอุปการะ นิมิตเป็นนายตำรวจหนุ่มอุดมการณ์สูงถูกกลั่นแกล้งจนกลายเป็นตำรวจจราจร และต้องหาที่อยู่ใหม่ ได้มาอยู่ที่สลัมคลองคด ทัตเทพเป็นสถาปนิกชุมชนที่ได้มาพัฒนาชุมชนคลองคด เขาถูกวิ่งราวจากแก็ง ยักษ์ บึ๋ง ลวก สมศรีช่วย จับไว้แต่ 3 คนหนีทัน ทัตเทพเข้าใจผิดว่าสมศรีเป็นหัวหน้าแก็งค์ จนทุกคนในชุมชนว่าสมศรีเป็นคนไม่ดี ต่อมาสมศรีได้อุปการะ ใบตอง เด็กเร่ร่อนที่ขึ้นมาขอทานบนรถเมล์จนถูกผลักตกรถ และตี่ เด็กในสลัมที่ยายญาติคนสุดท้ายตายไป สมศรีมองเห็นปัญหาต่างๆ ในชุมชนทั้ง เด็กเร่ร่อน ยาเสพติด บ่อนการพนัน และเงินกู้นอกระบบ จึงลาออกจากการขับรถ มาสอนหนังสือเด็กและพัฒนาชุมชน โดยมีนิมิตคอยช่วย แม้จะมี สุดใจ ช่างตัดเสื้อที่ตามจีบนิมิตคอยขวาง กับ ตาเบี้ยว หัวหน้าชุมชนที่เป็นคนของโภคินๆ คิดจะไล่ที่ทำเป็นเอนเตอร์เทนเม้นท์คอมเพล็กซ์แต่ติดว่าที่ดินติดเป็นที่ดินร้างเกินสิบปี จึงวางแผนให้ชาวสลัมเซ็นสัญญาเช่าแล้ว ที่ดินก็จะตกเป็นของโภคินโดยสมบูรณ์ พิมพ์อร คู่หมายทัตเทพไม่พอใจที่ทัตเทพไปชอบสมศรีจึงแกล้งมาทำดีช่วยชาวสลัมแต่แล้วเอาข้อมูลไปโภคิน ทัตเทพไม่เคยรู้เบื้องหลังพ่อจนแอบได้ยินคุยกับลูกน้อง ทัตเทพพยายามเข้ามาช่วยคนในชุมชนแต่ถูกกีดกัน พวกเข้าร่วมขบวนการเริ่มตายไปที่ละคนชาวบ้านเริ่มถอดใจ เปิ่นซึ่งทำงานจนเรียนจบทนายมาเป็นทนายให้ชาวบ้าน โภคินส่งคนมาทำลายโรงเรียน ชาวบ้านช่วยกันสร้างโรงเรียนขึ้นใหม่ วันเปิดโรงเรียนพบศพสมศรีถูกเผาจนจำไม่ได้มีเพียงกำไลเงินของแมงกอยเคยให้ไว้เป็นหลักฐาน การตายของสมศรีทำให้เด็กๆ ตัดสินใจบวชหน้าศพ การตายของครูสมศรีทำให้ ชาวบ้านลุกขึ้นมาต่อสู้เพื่อสิทธิของตัวเองอีกครั้งนักแสดงนักแสดง. - สุจิรา อรุณพิพัฒน์ แสดงเป็น ครูสมศรี - นวพล ภูวดล แสดงเป็น นิมิต - เจฟฟรี่ เบญจกุล แสดงเป็น ทัตเทพ - สรพงษ์ ชาตรี แสดงเป็น นายสม - สมบัติ เมทะนี แสดงเป็น โภคิน - นิรวิทย์ เรนเดลล์ แสดงเป็น แมงกอย - อรรถพล เทศทะวงศ์ แสดงเป็น ตี่ - ภูริน โชครัศมีศิริ แสดงเป็น ใบตอง - ปิยชาติ อินทร์ชัย แสดงเป็น บึ๋งเข้าชิงรางวัล เข้าชิงรางวัล. ละคร ครูสมศรี ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลในงานบันเทิงยอดเยี่ยม ปี พ.ศ. 2546 ของสมาคมนักข่าวบันเทิง ได้แก่- รางวัลละครยอดเยี่ยม - รางวัลเพลงนำละครยอดเยี่ยม - รางวัลผู้เขียนบทละครยอดเยี่ยม (ปัณณ์ สิเนห์) - รางวัลผู้กำกับละครยอดเยี่ยม (ชุติกุล สุตสุนทร) - รางวัลผู้แสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม (คุณสุจิรา อรุณพิพัฒน์)
ใครคือผู้กำกับภาพยนตร์ไทยเรื่อง ครูสมศรี ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528
3586
{ "answer_end": [ 1310 ], "answer_start": [ 1294 ], "text": [ "ชาลิตา ปัทมพันธ์" ] }
156435
ครูสมศรี ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528 กำกับโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล นำแสดงโดย ชาลิตา ปัทมพันธ์ รณฤทธิชัย คานเขต และสมชาย อาสนจินดา เข้าฉายเมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2528 ที่โรงภาพยนตร์สยาม-อินทรา-พันธุ์ทิพย์-เฉลิมกรุง-วิลลา ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์สะท้อนสังคม กล่าวถึงชีวิตของชาวชุมชนแออัด ในตรอกศาลเจ้าพ่อเสือ ต้องถูกไล่ที่โดยเจ้าของที่ดิน ชาวบ้านลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องที่อยู่อาศัย โดยการนำของครูสมศรี ผู้หญิงตัวเล็ก ๆ แม้จะต้องแลกมาด้วยชีวิตของเธอ ภาพยนตร์ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528 สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) และสาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา) แล้วยังเข้าชิงสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (ชาลิตา ปัทมพันธ์) และสาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล) โดยรณ ฤทธิชัยและม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล ยังได้รับรางวัล และ ส. อาสนจินดา ได้เข้าชิง รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529 ในสาขาเดียวกัน และได้รับถึง 6 รางวัล ต่อมาถูกนำมาสร้างใหม่เป็นละครโทรทัศน์ โดย เป่า จิน จง ในปี พ.ศ. 2546 นักแสดงนำโดย สุจิรา อรุณพิพัฒน์, นวพล ภูวดล, เจฟฟรี่ เบญจกุล, สรพงษ์ ชาตรี, สุกัญญา มิเกลเรื่องย่อ เรื่องย่อ. ครูสมศรี ถ่ายทอดจากปากของ บุญเพ็ง (รณ ฤทธิชัย) ผู้อำนวยการกองบริการประชาชนของเทศบาลที่เคยสูญเสียคนรักสมัยเป็นนักศึกษาในเหตุการณ์มหาวิปโยค จนบุญเพ็งเก็บอุดมการณ์ใส่ลิ้นชัก ยอมเป็นเบี้ยในระบบราชการ กระทั่งมาพบครูสมศรี (ชาลิตา ปัทมพันธ์) ที่มีเลือดนักสู้ ทำให้บุญเพ็งรู้จักชีวิตและกล้าที่จะเปิดโปงทุจริตต่อ ป.ป.ป. ครูสมศรี เกิดในสลัมตรอกศาลเจ้าพ่อเสือ มุมานะเรียนจนจบชั้น ม.ศ.5 แล้วมาเป็นครูสอนในโรงเรียนของครูทองย้อย (ส.อาสนจินดา) ครูแก่ขี้เหล้าที่ไม่มีไฟความเป็นครูเหลืออยู่ สลัมแห่งนี้เป็นที่หมายตาของบริษัทสหพัฒนาที่ดินจำกัด มีนายดุสิต (ภูมิ พัฒนยุทธ) เป็นประธานและทนายสด (ชลิต เฟื่องอารมณ์) เป็นมือกฎหมาย ใช้ทั้งกฎหมายและกฎหมู่ในการผลักดันให้ชาวสลัมออกไป จะเอาไปทำศูนย์การค้า ครูสมศรีกับชาวบ้านต่อต้านไม่ยอมออก จึงถูกพวกบริษัทวางเพลิงเผาไล่ที่ ครูสมศรีนำชาวบ้านไปร้องเรียนต่อเทศบาล ได้รับความช่วยเหลือจากนายบุญเพ็งและทนายทองดี (เศรษฐา ศิระฉายา) เพราะเห็นว่า มีการทุจริตในการให้บริษัทเช่าที่ดินสลัม เหตุการณ์รุนแรงตามลำดับ บุญเพ็งถูกห้ามติดตามเรื่องสลัม ชาวบ้านถูกตำรวจกลั่นแกล้งจับกุม กรรมการหมู่บ้านถูกฆ่าตาย ถูกข่มขู่ ต่อมาทนายทองดีก็ถูกยิงตายอีกคน ทำให้ชาวบ้านเริ่มท้อแท้ หวาดกลัว ส่วนครูทองย้อยซึ่งมีสัญญาเช่าที่ดินจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนแผ่นดินเหลืออยู่ ก็ถูกพวกบริษัทมาให้ข้อเสนอจะสร้างโรงเรียนให้ใหม่และยุยงให้เผาโรงเรียนทิ้ง แต่ครูทองย้อยไม่ยอมทำ สมุนของบริษัทจึงลงมือทำเอง พอดีกับบุญเพ็งและครูสมศรีมาพบก่อน จึงช่วยกันดับไฟทัน แต่ครูสมศรีก็ถูกยิงตาย ทำให้ครูทองย้อยเห็นความตั้งใจอันแรงกล้า จึงอึดสู้คดีกับบริษัทจนศาลมีคำพิพากษาให้เป็นฝ่ายชนะคดี มีสิทธิอยู่ในสลัมได้ สมความตั้งใจของครูสมศรีนักแสดงนักแสดง. - ชาลิตา ปัทมพันธ์ รับบท ครูสมศรี มามีสุข - รณ ฤทธิชัย รับบท บุญเพ็ง - สมชาย อาสนจินดา รับบท ครูทองย้อย - ชลิต เฟื่องอารมย์ รับบท ทนายสด - เศรษฐา ศิระฉายา รับบท ทนายทองดี - ภูมิ พัฒนยุทธ รับบท นายดุสิต - ครรชิต ขวัญประชา รับบท ยามรางวัลรางวัล. - รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528- นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) - นักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา)- รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529- ผู้แสดงนำฝ่ายชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) - ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - ถ่ายภาพยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล) - ออกแบบและสร้างฉากยอดเยี่ยม (มานพ ชัยชุมพล) - บันทึกเสียงยอดเยี่ยม (ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล)ละครโทรทัศน์ ละครโทรทัศน์. ครูสมศรี ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยค่าย เป่า จิน จง ในปี พ.ศ. 2546 เป็นบทประพันธ์ของ มจ.ชาตรีเฉลิม ยุคล บทโทรทัศน์โดย ปัณณ์ สิเนห์ กำกับการแสดงโดย ชุติกุล สุตสุนทร นักแสดงนำโดย สุจิรา อรุณพิพัฒน์, นวพล ภูวดล, เจฟฟรี่ เบญจกุล, สรพงษ์ ชาตรี, สุกัญญา มิเกล, สมบัติ เมทะนี, จุรี โอศิริ, รอง เค้ามูลคดี, โฉมฉาย ฉัตรวิไลเรื่องย่อ เรื่องย่อ. สมศรี เด็กที่ นายสม เก็บมาเลี้ยงใฝ่ฝันอยากเป็นครู แต่ถูกระบบเส้นสายจนสอบไม่ผ่าน สมศรี ได้ยิน เปิ่นกระเป๋ารถเมล์คุยกันว่าขาดคนขับรถ สมศรีตัดสินใจสมัคร ทัตเทพ ทวิภาคลูกชาย นายโภคิน ขับรถเฉี่ยว แมงกอย เด็กดอยที่สมศรีเคยเจอตอนไปสอบ แต่ยืนยันว่าแมงกอยวิ่งมาชนรถตัวเองหลังขโมยลูกชิ้น บังเอิญ นิมิต ผ่านจึงพาไปแทน สมศรีรับแมงกอยมาอุปการะ นิมิตเป็นนายตำรวจหนุ่มอุดมการณ์สูงถูกกลั่นแกล้งจนกลายเป็นตำรวจจราจร และต้องหาที่อยู่ใหม่ ได้มาอยู่ที่สลัมคลองคด ทัตเทพเป็นสถาปนิกชุมชนที่ได้มาพัฒนาชุมชนคลองคด เขาถูกวิ่งราวจากแก็ง ยักษ์ บึ๋ง ลวก สมศรีช่วย จับไว้แต่ 3 คนหนีทัน ทัตเทพเข้าใจผิดว่าสมศรีเป็นหัวหน้าแก็งค์ จนทุกคนในชุมชนว่าสมศรีเป็นคนไม่ดี ต่อมาสมศรีได้อุปการะ ใบตอง เด็กเร่ร่อนที่ขึ้นมาขอทานบนรถเมล์จนถูกผลักตกรถ และตี่ เด็กในสลัมที่ยายญาติคนสุดท้ายตายไป สมศรีมองเห็นปัญหาต่างๆ ในชุมชนทั้ง เด็กเร่ร่อน ยาเสพติด บ่อนการพนัน และเงินกู้นอกระบบ จึงลาออกจากการขับรถ มาสอนหนังสือเด็กและพัฒนาชุมชน โดยมีนิมิตคอยช่วย แม้จะมี สุดใจ ช่างตัดเสื้อที่ตามจีบนิมิตคอยขวาง กับ ตาเบี้ยว หัวหน้าชุมชนที่เป็นคนของโภคินๆ คิดจะไล่ที่ทำเป็นเอนเตอร์เทนเม้นท์คอมเพล็กซ์แต่ติดว่าที่ดินติดเป็นที่ดินร้างเกินสิบปี จึงวางแผนให้ชาวสลัมเซ็นสัญญาเช่าแล้ว ที่ดินก็จะตกเป็นของโภคินโดยสมบูรณ์ พิมพ์อร คู่หมายทัตเทพไม่พอใจที่ทัตเทพไปชอบสมศรีจึงแกล้งมาทำดีช่วยชาวสลัมแต่แล้วเอาข้อมูลไปโภคิน ทัตเทพไม่เคยรู้เบื้องหลังพ่อจนแอบได้ยินคุยกับลูกน้อง ทัตเทพพยายามเข้ามาช่วยคนในชุมชนแต่ถูกกีดกัน พวกเข้าร่วมขบวนการเริ่มตายไปที่ละคนชาวบ้านเริ่มถอดใจ เปิ่นซึ่งทำงานจนเรียนจบทนายมาเป็นทนายให้ชาวบ้าน โภคินส่งคนมาทำลายโรงเรียน ชาวบ้านช่วยกันสร้างโรงเรียนขึ้นใหม่ วันเปิดโรงเรียนพบศพสมศรีถูกเผาจนจำไม่ได้มีเพียงกำไลเงินของแมงกอยเคยให้ไว้เป็นหลักฐาน การตายของสมศรีทำให้เด็กๆ ตัดสินใจบวชหน้าศพ การตายของครูสมศรีทำให้ ชาวบ้านลุกขึ้นมาต่อสู้เพื่อสิทธิของตัวเองอีกครั้งนักแสดงนักแสดง. - สุจิรา อรุณพิพัฒน์ แสดงเป็น ครูสมศรี - นวพล ภูวดล แสดงเป็น นิมิต - เจฟฟรี่ เบญจกุล แสดงเป็น ทัตเทพ - สรพงษ์ ชาตรี แสดงเป็น นายสม - สมบัติ เมทะนี แสดงเป็น โภคิน - นิรวิทย์ เรนเดลล์ แสดงเป็น แมงกอย - อรรถพล เทศทะวงศ์ แสดงเป็น ตี่ - ภูริน โชครัศมีศิริ แสดงเป็น ใบตอง - ปิยชาติ อินทร์ชัย แสดงเป็น บึ๋งเข้าชิงรางวัล เข้าชิงรางวัล. ละคร ครูสมศรี ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลในงานบันเทิงยอดเยี่ยม ปี พ.ศ. 2546 ของสมาคมนักข่าวบันเทิง ได้แก่- รางวัลละครยอดเยี่ยม - รางวัลเพลงนำละครยอดเยี่ยม - รางวัลผู้เขียนบทละครยอดเยี่ยม (ปัณณ์ สิเนห์) - รางวัลผู้กำกับละครยอดเยี่ยม (ชุติกุล สุตสุนทร) - รางวัลผู้แสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม (คุณสุจิรา อรุณพิพัฒน์)
นักแสดงคนใดรับบท ครูสมศรี ในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ครูสมศรี ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528
3587
{ "answer_end": [ 96 ], "answer_start": [ 92 ], "text": [ "2552" ] }
311527
อรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ นางสาวอรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ นักแสดงและนางแบบหญิงชาวไทย อดีตนางสาวไทย ปี 2552ประวัติ ประวัติ. อรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ มีชื่อเล่นว่า โจอี้ มีภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัดสระบุรีจบการศึกษา โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ และ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ สาขา เด็ก-เยาวชนและครอบครัว มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก่อนหน้านี้เคยเป็น ลีด เฟรชชี่ และ ได้ตำแหน่ง "ดาว มหาวิทยาลัย"ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ ยังเป็นพี่สาวของอัจฉราภรณ์ กนกนทีสวัสดิ์ (จีน่า) นางสาวไทยประจำปี 2556 คนที่ 48 ของประเทศไทย อีกด้วยผลงานละครโทรทัศน์รางวัลรางวัล. - รางวัลขวัญใจช่างภาพ จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Miss Healthy จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - นางงามบุคลิกภาพ จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Miss Princess จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - นางงามหุ่นดี จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - นางงามจิตใจดี จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Miss Talker จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Miss Photogenic จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Miss Personality จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Continental Queen of Asia จากเวทีการประกวดนางสาวไทย - รางวัล Beauty Queen of Asia จากเวทีการประกวดนางสาวไทย
อรวิภา กนกนทีสวัสดิ์ ได้รับตำแหน่งนางสาวไทยเมื่อปี พ.ศ. ใด
3588
{ "answer_end": [ 106 ], "answer_start": [ 101 ], "text": [ "ยุโรป" ] }
6224
ประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย (; ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (; ) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. โครเอเชียตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคยุโรปกลาง ภูมิภาคยุโรปใต้ และภูมิภาคยุโรปตะวันออก รูปร่างของประเทศคล้ายกับพระจันทร์เสี้ยวหรือเกือกม้า ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ได้แก่ สโลวีเนีย ฮังการี เซอร์เบีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และอิตาลี (อีกฟากหนึ่งของทะเลเอเดรียติก) โดยแผ่นดินใหญ่ของโครเอเชียถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนไม่ติดต่อกันโดยชายฝั่งทะเลสั้น ๆ ของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รอบ ๆ เมืองเนอุม (Neum) ภูมิประเทศของโครเอเชียมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่- ที่ราบ ทะเลสาบ และเนินเขา ทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ (ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชียและสลาโวเนีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบพันโนเนีย) - ภูเขาที่มีป่าไม้หนาแน่นในภูมิภาคลีคาและกอร์สกีคอตาร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาดินาริกแอลป์ - ชายฝั่งทะเลเอเดรียติกที่เต็มไปด้วยโขดหิน (ภูมิภาคอิสเตรีย นอร์เทิร์นซีโคสต์ และแดลเมเชีย)ประวัติศาสตร์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคกรีก และ โรมันราชวงศ์ฮับส์บูร์ก และ ออสเตรีย-ฮังการี (ค.ศ. 1538–1918)ยูโกลสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1991)ร่วมสมัยการเมืองการปกครองบริหารนิติบัญญัติตุลาการการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. โครเอเชียแบ่งออกเป็น 20 เทศมณฑล (counties - županija) กับ 1 เขตเมืองหลวง* จัดกลุ่มรายชื่อโดยแบ่งตามภูมิภาคทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์:นโยบายต่างประเทศความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรปความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทยนโยบายต่างประเทศ. ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย. - ด้านการทูต - การค้าและเศรษฐกิจ - การท่องเที่ยวกองทัพกองกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. - ในบรรดาสาธารณรัฐที่อยู่ภายใต้สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย โครเอเชียมีสถานะทางเศรษฐกิจอยู่ในเกณฑ์ดี เป็นรองเพียงสโลวีเนีย เนื่องจากเป็นเขตอุตสาหกรรมของสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย รายได้ส่วนใหญ่ของโครเอเชียมาจากการท่องเที่ยว เนื่องจากภูมิประเทศเป็นชายฝั่งทะเลเอเดรียติกและมีหมู่เกาะที่สวยงาม ทำให้ในปัจจุบัน โครเอเชียจึงยังคงสภาวะเศรษฐกิจที่ดีกว่าประเทศอดีตสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียส่วนใหญ่ นอกจากสโลวีเนีย ไว้ได้- สำหรับนโยบายเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ได้แก่ การปฏิรูปเศรษฐกิจให้เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรี ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในทางเศรษฐกิจมากขึ้น ออกกฎหมายเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุนจากต่างประเทศ โดยได้ประกาศนโยบายที่มุ่งสร้างเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค รักษาเสถียรภาพของค่าเงินสกุลคูน่า (Kuna) คงระดับอัตราเงินเฟ้อ เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ใช้มาตรการดึงดูดคู่ค้าและนักลงทุนมากขึ้น รวมถึงการเร่งแปรรูปรัฐวิสาหกิจการท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม และ โทรคมนาคมการคมนาคมโครงสร้างพื้นฐาน. คมนาคม และ โทรคมนาคม. การคมนาคม. - รัฐบาลโครเอเชียยังมีโครงการสนับสนุนการลงทุนด้านท่าเรือ ซึ่งเป็นโครงการระยะยาว เนื่องจากเห็นว่า การลงทุนด้านนี้จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโครเอเชีย ช่วยให้เกิดการขนส่ง การก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และธุรกิจบริการเกี่ยวกับบริษัทขนส่งสินค้าต่างๆ โดยรัฐบาลได้สนับสนุนเงินกู้จำนวนหนึ่งเพื่อสร้างถนนเชื่อมโยงกับเส้นทางของฮังการี ปรับปรุงทางรถไฟและสาธารณูปโภคอื่นๆ ทั้งนี้ โครเอเชียมีชายฝั่งทะเลที่ยาวกว่า 5,000 กิโลเมตร และเต็มไปด้วยเกาะแก่งต่างๆ ถึง 1,185 เกาะ จึงมีความจำเป็นต้องจัดการคมนาคมขนส่งทางน้ำเพื่อเชื่อมโยงระหว่างกัน รวมทั้งดูแลชายฝั่งทะเลซึ่งมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ และการก่อสร้างถนนหนทางภาคพื้นดินภายในประเทศเพื่อรองรับการคมนาคมทางน้ำ โครเอเชียมีท่าเรือ Rijeka ใช้ขนถ่ายและกระจายสินค้าได้ มีโครงการปรับปรุงเส้นทางขนส่ง โดยเริ่มตั้งแต่ปลายปี 2549 ซึ่งจะเป็นเส้นทางคมนาคมทางบกที่รวดเร็วที่สุดระหว่างเอเชียและยุโรปกลางโทรคมนาคมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษาสาธารณสุขสวัสดิการสังคมประชากรศาสตร์เชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. 4.5 ล้านคน ประกอบด้วยชาวโครอัท (89.6%) ชาวเซิร์บ (4.54%) และอื่นๆ ได้แก่ ชาวบอสเนีย ฮังกาเรียน สโลวีน เช็ก (5.9%)ศาสนาภาษากีฬาฟุตบอลวอลเลย์บอลวัฒนธรรมสถาปัตยกรรมวรรณกรรมอาหาร วัฒนธรรม. อาหาร. อาหารพื้นเมืองของชาวโครแอตไม่ต่างจากอาหารแบบยุโรปโดยทั่วไป ในกรุงชาเกร็บมีร้านอาหารให้เลือกมากมาย ที่เป็นเอกลักษณ์ก็คือร้านกาแฟในสไตล์ Side-Walk Cafe ที่เน้นการเสพบรรยากาศดี ๆ เคล้ากาแฟรสละมุนลิ้น ส่วนเมนูอร่อยที่ควรชิมก็คือไส้กรอก Spek และ Kulen ซึ่งเป็นอาหารเฉพาะถิ่น ในขณะที่ขนมหวานขึ้นชื่อของโครเอเชียก็คือคุกกี้รูปหัวใจเคลือบน้ำตาลสีแดงที่มีรสชาติหวานมันลงตัวดนตรีสื่อสารมวลชนวันหยุด
ประเทศโครเอเชียอยู่ในทวีปอะไร
3589
{ "answer_end": [ 2042 ], "answer_start": [ 2029 ], "text": [ "การท่องเที่ยว" ] }
6224
ประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย (; ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (; ) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. โครเอเชียตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคยุโรปกลาง ภูมิภาคยุโรปใต้ และภูมิภาคยุโรปตะวันออก รูปร่างของประเทศคล้ายกับพระจันทร์เสี้ยวหรือเกือกม้า ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ได้แก่ สโลวีเนีย ฮังการี เซอร์เบีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และอิตาลี (อีกฟากหนึ่งของทะเลเอเดรียติก) โดยแผ่นดินใหญ่ของโครเอเชียถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนไม่ติดต่อกันโดยชายฝั่งทะเลสั้น ๆ ของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รอบ ๆ เมืองเนอุม (Neum) ภูมิประเทศของโครเอเชียมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่- ที่ราบ ทะเลสาบ และเนินเขา ทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ (ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชียและสลาโวเนีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบพันโนเนีย) - ภูเขาที่มีป่าไม้หนาแน่นในภูมิภาคลีคาและกอร์สกีคอตาร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาดินาริกแอลป์ - ชายฝั่งทะเลเอเดรียติกที่เต็มไปด้วยโขดหิน (ภูมิภาคอิสเตรีย นอร์เทิร์นซีโคสต์ และแดลเมเชีย)ประวัติศาสตร์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคกรีก และ โรมันราชวงศ์ฮับส์บูร์ก และ ออสเตรีย-ฮังการี (ค.ศ. 1538–1918)ยูโกลสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1991)ร่วมสมัยการเมืองการปกครองบริหารนิติบัญญัติตุลาการการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. โครเอเชียแบ่งออกเป็น 20 เทศมณฑล (counties - županija) กับ 1 เขตเมืองหลวง* จัดกลุ่มรายชื่อโดยแบ่งตามภูมิภาคทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์:นโยบายต่างประเทศความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรปความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทยนโยบายต่างประเทศ. ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย. - ด้านการทูต - การค้าและเศรษฐกิจ - การท่องเที่ยวกองทัพกองกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. - ในบรรดาสาธารณรัฐที่อยู่ภายใต้สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย โครเอเชียมีสถานะทางเศรษฐกิจอยู่ในเกณฑ์ดี เป็นรองเพียงสโลวีเนีย เนื่องจากเป็นเขตอุตสาหกรรมของสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย รายได้ส่วนใหญ่ของโครเอเชียมาจากการท่องเที่ยว เนื่องจากภูมิประเทศเป็นชายฝั่งทะเลเอเดรียติกและมีหมู่เกาะที่สวยงาม ทำให้ในปัจจุบัน โครเอเชียจึงยังคงสภาวะเศรษฐกิจที่ดีกว่าประเทศอดีตสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียส่วนใหญ่ นอกจากสโลวีเนีย ไว้ได้- สำหรับนโยบายเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ได้แก่ การปฏิรูปเศรษฐกิจให้เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรี ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในทางเศรษฐกิจมากขึ้น ออกกฎหมายเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุนจากต่างประเทศ โดยได้ประกาศนโยบายที่มุ่งสร้างเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค รักษาเสถียรภาพของค่าเงินสกุลคูน่า (Kuna) คงระดับอัตราเงินเฟ้อ เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ใช้มาตรการดึงดูดคู่ค้าและนักลงทุนมากขึ้น รวมถึงการเร่งแปรรูปรัฐวิสาหกิจการท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม และ โทรคมนาคมการคมนาคมโครงสร้างพื้นฐาน. คมนาคม และ โทรคมนาคม. การคมนาคม. - รัฐบาลโครเอเชียยังมีโครงการสนับสนุนการลงทุนด้านท่าเรือ ซึ่งเป็นโครงการระยะยาว เนื่องจากเห็นว่า การลงทุนด้านนี้จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโครเอเชีย ช่วยให้เกิดการขนส่ง การก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และธุรกิจบริการเกี่ยวกับบริษัทขนส่งสินค้าต่างๆ โดยรัฐบาลได้สนับสนุนเงินกู้จำนวนหนึ่งเพื่อสร้างถนนเชื่อมโยงกับเส้นทางของฮังการี ปรับปรุงทางรถไฟและสาธารณูปโภคอื่นๆ ทั้งนี้ โครเอเชียมีชายฝั่งทะเลที่ยาวกว่า 5,000 กิโลเมตร และเต็มไปด้วยเกาะแก่งต่างๆ ถึง 1,185 เกาะ จึงมีความจำเป็นต้องจัดการคมนาคมขนส่งทางน้ำเพื่อเชื่อมโยงระหว่างกัน รวมทั้งดูแลชายฝั่งทะเลซึ่งมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ และการก่อสร้างถนนหนทางภาคพื้นดินภายในประเทศเพื่อรองรับการคมนาคมทางน้ำ โครเอเชียมีท่าเรือ Rijeka ใช้ขนถ่ายและกระจายสินค้าได้ มีโครงการปรับปรุงเส้นทางขนส่ง โดยเริ่มตั้งแต่ปลายปี 2549 ซึ่งจะเป็นเส้นทางคมนาคมทางบกที่รวดเร็วที่สุดระหว่างเอเชียและยุโรปกลางโทรคมนาคมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษาสาธารณสุขสวัสดิการสังคมประชากรศาสตร์เชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. 4.5 ล้านคน ประกอบด้วยชาวโครอัท (89.6%) ชาวเซิร์บ (4.54%) และอื่นๆ ได้แก่ ชาวบอสเนีย ฮังกาเรียน สโลวีน เช็ก (5.9%)ศาสนาภาษากีฬาฟุตบอลวอลเลย์บอลวัฒนธรรมสถาปัตยกรรมวรรณกรรมอาหาร วัฒนธรรม. อาหาร. อาหารพื้นเมืองของชาวโครแอตไม่ต่างจากอาหารแบบยุโรปโดยทั่วไป ในกรุงชาเกร็บมีร้านอาหารให้เลือกมากมาย ที่เป็นเอกลักษณ์ก็คือร้านกาแฟในสไตล์ Side-Walk Cafe ที่เน้นการเสพบรรยากาศดี ๆ เคล้ากาแฟรสละมุนลิ้น ส่วนเมนูอร่อยที่ควรชิมก็คือไส้กรอก Spek และ Kulen ซึ่งเป็นอาหารเฉพาะถิ่น ในขณะที่ขนมหวานขึ้นชื่อของโครเอเชียก็คือคุกกี้รูปหัวใจเคลือบน้ำตาลสีแดงที่มีรสชาติหวานมันลงตัวดนตรีสื่อสารมวลชนวันหยุด
รายได้ส่วนใหญ่ในประเทศโครเอเชียมาจากอะไร
3590
{ "answer_end": [ 570 ], "answer_start": [ 569 ], "text": [ "2" ] }
87697
เต่าแก้มแดง เต่าแก้มแดง (; ) เป็นเต่าน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำแถบรัฐอิลลินอยส์, แม่น้ำมิสซิสซิปปี ไปจนถึงอ่าวเม็กซิโก ลักษณะเมื่อแรกเกิด กระดองจะเป็นสีเขียว เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนไปเป็นสีคล้ำ เท้าทั้ง 4 ข้างมีพังผืดใช้ว่ายน้ำได้ดี ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต โดยที่ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมียเล็กน้อย กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ ผสมพันธุ์กันในน้ำระหว่างเดือนมีนาคม-มิถุนายน จากนั้นในเดือนสิงหาคม ตัวเมียจะขึ้นมาวางไข่ในหาดทราย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 60-75 วัน อายุเมื่อพร้อมที่จะผสมพันธุ์ประมาณ 2 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 30 ปีการจำแนก การจำแนก. แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อยดังนี้- Trachemys scripta scripta – เต่าแก้มเหลือง - Trachemys scripta elegans – เต่าญี่ปุ่น เป็นชนิดที่นิยมเป็นสัตว์เลี้ยง - Trachemys scripta troostii – เต่าคัมเบอร์แลนด์
เต่าแก้มแดงจะพร้อมผสมพันธุ์เมื่ออายุกี่ปี
3591
{ "answer_end": [ 598 ], "answer_start": [ 596 ], "text": [ "30" ] }
87697
เต่าแก้มแดง เต่าแก้มแดง (; ) เป็นเต่าน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำแถบรัฐอิลลินอยส์, แม่น้ำมิสซิสซิปปี ไปจนถึงอ่าวเม็กซิโก ลักษณะเมื่อแรกเกิด กระดองจะเป็นสีเขียว เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนไปเป็นสีคล้ำ เท้าทั้ง 4 ข้างมีพังผืดใช้ว่ายน้ำได้ดี ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต โดยที่ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมียเล็กน้อย กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ ผสมพันธุ์กันในน้ำระหว่างเดือนมีนาคม-มิถุนายน จากนั้นในเดือนสิงหาคม ตัวเมียจะขึ้นมาวางไข่ในหาดทราย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 60-75 วัน อายุเมื่อพร้อมที่จะผสมพันธุ์ประมาณ 2 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 30 ปีการจำแนก การจำแนก. แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อยดังนี้- Trachemys scripta scripta – เต่าแก้มเหลือง - Trachemys scripta elegans – เต่าญี่ปุ่น เป็นชนิดที่นิยมเป็นสัตว์เลี้ยง - Trachemys scripta troostii – เต่าคัมเบอร์แลนด์
เต่าแก้มแดงมีอายุขัยโดยเฉลี่ยกี่ปี
3592
{ "answer_end": [ 589 ], "answer_start": [ 587 ], "text": [ "20" ] }
510453
ลิงกังดำ ลิงกังดำ หรือ ลิงกังหงอนดำ (; ) เป็นลิงโลกเก่าชนิดหนึ่ง จำพวกลิงกัง ลิงกังดำ มีขนสีดำตลอดทั่วทั้งตัวรวมถึงใบหน้าที่ไม่มีขน มีจุดเด่นคือ กลางกระหม่อมมีขนเป็นแผงเหมือนหงอน ซึ่งจะตั้งขึ้นได้เมื่อขู่ศัตรู และที่ก้นจะมีแผ่นหนังสีขาวดูเด่นใช้สำหรับรองนั่ง นอกจากนี้แล้วยังเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการแสดงออกทางเพศ โดยเฉพาะในตัวผู้ มีหางขนาดสั้นยาวเพียง 2 เซนติเมตรเท่านั้น (1 นิ้ว) ทำให้แลดูคล้ายลิงไม่มีหาง ลำตัวมีความยาวประมาณ 44 เซนติเมตร (17 นิ้ว) จนถึง 60 เซนติเมตร (24 นิ้ว) น้ำหนักประมาณ 3.6 ถึง 10.4 กิโลกรัม นับเป็นลิงประเภทลิงกังที่มีขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 20 ปี อาศัยอยู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ ราว 5-25 ตัว กระจายพันธุ์เฉพาะบนเกาะสุลาเวสี ในประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น เป็นลิงที่กินส่วนต่าง ๆ ของพืชต่าง ๆ เป็นอาหารหลัก เป็นลิงที่ชาวพื้นเมืองบนเกาะสุลาเวสีใช้รับประทานเป็นอาหารเช่นเดียวกับทาร์เซีย ปัจจุบันมีจำนวนประชากรเหลือประมาณ 6,000 ตัวเท่านั้น เป็นลิงที่มีความเฉลียวฉลาด ในปี ค.ศ. 2011 ได้มีช่างภาพชาวตะวันตกผู้หนึ่งได้เข้าไปถ่ายรูปฝูงลิงกังดำในเขตป่าสงวนของเกาะสุลาเวสี ปรากฏว่าลิงไม่ได้มีท่าทีที่ก้าวร้าวเลย กลับกันกลับแสดงความเป็นมิตร และยังรู้จักที่จะถ่ายรูปตัวเองด้วยการยิ้มให้อีกต่างหาก
ลิงกังดำมีอายุขัยโดยเฉลี่ยกี่ปี
3593
{ "answer_end": [ 90 ], "answer_start": [ 85 ], "text": [ "หัวใจ" ] }
720205
พลูแก พลูแก หรือ พลูกะตอย () เป็นพืชในวงศ์ Piperaceae เป็นไม้เถา ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปหัวใจ เมื่อเลื้อยไปกับดินหรือโคนต้น ใบเปลี่ยนเป็นรูปไข่หรือรีแคบเมื่อเกาะติดกับต้นไม้อื่น ช่อดอกออกตรงข้ามกับใบ ช่อดอกเพศผู้ยาวกว่าใบ ริ้วประดับรูปวงกลม ก้านช่อดอกเพศเมียมีขน ใบมีรสเผ็ดร้อนเล็กน้อย ใช้แก้น้ำเหลืองเสีย กามโรค
ใบของต้นพลูแกมีลักษณะเป็นรูปอะไร
3594
{ "answer_end": [ 476 ], "answer_start": [ 473 ], "text": [ "ไทย" ] }
278737
เกล็ดแก้ว เกล็ดแก้ว (; ; โรมะจิ: chinshurin) เป็นปลาทองสายพันธุ์หนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันในปัจจุบัน มีรูปร่างลักษณะ ตัวอ้วนกลมคล้ายลูกกอล์ฟ มีลักษณะเด่นคือ เกล็ดทุกเกล็ดจะปูดนูนออกมา จึงเป็นที่มาของชื่อเกล็ดแก้ว หัวมีขนาดเล็กมาก จนอาจนับได้ว่าเป็นปลาทองสายพันธุ์ที่มีหัวเล็กที่สุด ครีบหางแผ่กางออกแลดูสวยงาม สีสันของลำตัวมีมากมายหลากหลาย ทั้ง ขาว, น้ำตาล, เหลืองและส้ม และหลากหลายสีในตัวเดียวกัน แต่ไม่พบปลาที่มีสีดำทั้งตัว และมีทั้งหัววุ้นและหัวมงกุฎ เกล็ดแก้วเป็นปลาทองที่ชาวไทยเป็นผู้เพาะพันธุ์ขึ้นมาเป็นครั้งแรก แต่ทว่าไม่ปรากฏหลักฐานว่าผู้ใดเป็นผู้คิดค้นและทำไว้ตั้งแต่เมื่อไหร่
คนประเทศใดเป็นผู้เริ่มเพาะพันธุ์ปลาทองสายพันธุ์เกล็ดแก้ว
3595
{ "answer_end": [ 222 ], "answer_start": [ 215 ], "text": [ "ยูเอชที" ] }
246344
รัฐศาสตร์ กรสูต รัฐศาสตร์ กรสูต (ชื่อเล่น: เปปเปอร์) ปัจจุบันมีชื่อเสียงด้านวิชาการ และ การบริหารด้าน IT/ Digital จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เคยเป็นนักร้อง นักแสดง และนายแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นสมาชิกบอยแบนด์ ยูเอชที เมื่อปี พ.ศ. 2537 และจากการเป็นนักแสดงสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้าน Internet Technology เป็นอาจารย์สอนอยู่ที่ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สาขาวิชา Computer Business หลักสูตรบริหารธุรกิจภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, และเป็นผู้อำนวยการเว็บไซต์ sanook.com ให้บริษัท Sanook Online Limited จำกัด และปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้จัดการประจำประเทศไทย (Country Manager) ของบริษัท LINE Corporationประวัติ ประวัติ. รัฐศาสตร์ กรสูต หรือ ดร.รัฐศาสตร์ กรสูต มีชื่อเล่นว่า เปปเปอร์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2519 เคยเป็นสมาชิกบอยแบนด์ ยูเอชที เมื่อปี พ.ศ. 2537 และนักแสดงสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และเป็นอาจารย์สอนอยู่ที่ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สาขาวิชา Computer Business หลักสูตรบริหารธุรกิจภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รวมถึงเป็นผู้บริหารบริษัทไอทีการศึกษา การศึกษา. ดร.รัฐศาสตร์ กรสูต จบการศึกษาระดับมัธยม จากโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ระดับ ปริญญาตรี สาขา บริหารรัฐกิจ จาก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระดับปริญญาโท คณะระบบข้อมูลสารสนเทศ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Master of Information System - Software Engineering) (เกียรตินิยม - Graduated with honors) จากมหาวิทยาลัยเดอพอล เมืองชิคาโก, รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ. 2543-2545, และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร์ สาขา Curriculum and Instruction (C&I) จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ผลงานเพลงผลงานเพลง. - พ.ศ. 2537 - ยูเอชที อัลบั้ม ดูดีดีนะเพื่อน - พ.ศ. 2538 - อัลบั้มพิเศษ 6.2.12 - พ.ศ. 2539 - ยูเอชที อัลบั้ม ซัมเมอร์ ไทม์ - พ.ศ. 2546 - ยูเอชที อัลบั้ม ทูยู (2U) - พ.ศ. 2547 - ยูเอชที อัลบั้ม เรด เมสเสจผลงานการแสดงละครโทรทัศน์ซิทคอมผลงานการแสดง. ซิทคอม. - หกตกไม่แตก (ช่อง 7) รับบทเป็น กัน - บ้านนี้มีรัก (รับบทเป็น แทน แฟนใหม่ของเบญ) - เป็นต่อ (รับบทเป็น ต๊ะ เพื่อนและคู่ปรับของเป็นต่อ) - ผู้กองเจ้าเสน่ห์ (รับบทเป็น "ผู้กองเพชร" ผู้กองหนุ่มผู้มีความลับปิดบังอยู่) - ร็อกมือขวา (รับบทเป็น "พสุธา,สุ" เพื่อนของสายชล น้องของอำพล)อื่นๆอื่นๆ. - ผู้จัดการประจำประเทศไทย คนแรกของ LINE Corporation
รัฐศาสตร์ กรสูต เคยเป็นสมาชิกวงดนตรีชายล้วนวงใด
3596
{ "answer_end": [ 51 ], "answer_start": [ 43 ], "text": [ "เปปเปอร์" ] }
246344
รัฐศาสตร์ กรสูต รัฐศาสตร์ กรสูต (ชื่อเล่น: เปปเปอร์) ปัจจุบันมีชื่อเสียงด้านวิชาการ และ การบริหารด้าน IT/ Digital จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เคยเป็นนักร้อง นักแสดง และนายแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นสมาชิกบอยแบนด์ ยูเอชที เมื่อปี พ.ศ. 2537 และจากการเป็นนักแสดงสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้าน Internet Technology เป็นอาจารย์สอนอยู่ที่ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สาขาวิชา Computer Business หลักสูตรบริหารธุรกิจภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, และเป็นผู้อำนวยการเว็บไซต์ sanook.com ให้บริษัท Sanook Online Limited จำกัด และปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้จัดการประจำประเทศไทย (Country Manager) ของบริษัท LINE Corporationประวัติ ประวัติ. รัฐศาสตร์ กรสูต หรือ ดร.รัฐศาสตร์ กรสูต มีชื่อเล่นว่า เปปเปอร์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2519 เคยเป็นสมาชิกบอยแบนด์ ยูเอชที เมื่อปี พ.ศ. 2537 และนักแสดงสังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และเป็นอาจารย์สอนอยู่ที่ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สาขาวิชา Computer Business หลักสูตรบริหารธุรกิจภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รวมถึงเป็นผู้บริหารบริษัทไอทีการศึกษา การศึกษา. ดร.รัฐศาสตร์ กรสูต จบการศึกษาระดับมัธยม จากโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ระดับ ปริญญาตรี สาขา บริหารรัฐกิจ จาก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระดับปริญญาโท คณะระบบข้อมูลสารสนเทศ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Master of Information System - Software Engineering) (เกียรตินิยม - Graduated with honors) จากมหาวิทยาลัยเดอพอล เมืองชิคาโก, รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ. 2543-2545, และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร์ สาขา Curriculum and Instruction (C&I) จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ผลงานเพลงผลงานเพลง. - พ.ศ. 2537 - ยูเอชที อัลบั้ม ดูดีดีนะเพื่อน - พ.ศ. 2538 - อัลบั้มพิเศษ 6.2.12 - พ.ศ. 2539 - ยูเอชที อัลบั้ม ซัมเมอร์ ไทม์ - พ.ศ. 2546 - ยูเอชที อัลบั้ม ทูยู (2U) - พ.ศ. 2547 - ยูเอชที อัลบั้ม เรด เมสเสจผลงานการแสดงละครโทรทัศน์ซิทคอมผลงานการแสดง. ซิทคอม. - หกตกไม่แตก (ช่อง 7) รับบทเป็น กัน - บ้านนี้มีรัก (รับบทเป็น แทน แฟนใหม่ของเบญ) - เป็นต่อ (รับบทเป็น ต๊ะ เพื่อนและคู่ปรับของเป็นต่อ) - ผู้กองเจ้าเสน่ห์ (รับบทเป็น "ผู้กองเพชร" ผู้กองหนุ่มผู้มีความลับปิดบังอยู่) - ร็อกมือขวา (รับบทเป็น "พสุธา,สุ" เพื่อนของสายชล น้องของอำพล)อื่นๆอื่นๆ. - ผู้จัดการประจำประเทศไทย คนแรกของ LINE Corporation
รัฐศาสตร์ กรสูต มีชื่อเล่นว่าอะไร
3597
{ "answer_end": [ 92 ], "answer_start": [ 85 ], "text": [ "เยอรมัน" ] }
356591
ทันน์ฮอยเซอร์ ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก (; ) เป็นอุปรากรภาษาเยอรมันข้อมูล ข้อมูล. ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก เป็นอุปรากรภาษาเยอรมันความยาว 3 องก์ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดยริชาร์ด วากเนอร์ โดยนำเค้าโครงมาจากบทกวี Elementargeister ของไฮน์ริก ไฮน์ (ค.ศ. 1797 – 1856) ที่ดัดแปลงมาจากตำนานพื้นบ้านเยอรมนี และเรื่อง The Singer's Contest ของอี. ที. เอ. ฮอฟแมนน์ และเรื่องอื่นๆ อีกหลายเรื่อง เกี่ยวกับตำนานของวีนัสเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง. เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 13 ชายหนุ่มรูปงามชื่อไฮน์ริก ทันน์ฮอยเซอร์ ถูกเทพี วีนัส กักขังไว้ในหุบเขาลึกลับชื่อ วีนัสเบิร์ก วีนัสพยายามยั่วยวนและขอความรักจากทันน์ฮอยเซอร์ แต่ตัวเขาปฏิเสธและเรียกร้องหาอิสรภาพ เขาประกาศว่าจิตวิญญาณของเขานั้นมั่นคงต่อพระแม่มารี ด้วยคำประกาศนั้น ทำให้วีนัสเบิร์กและเหล่าบริวารของวีนัสมลายหายไปในทันที ทันน์ฮอยเซอร์พบตัวเองอยู่ในแคว้นทูรินเกีย ขณะนั้นลอร์ดแฮร์มันน์ เจ้าของปราสาทวาร์ทบูร์กแห่งทูรินเกีย ได้จัดการประกวดประชันร้องเพลง โดยผู้ชนะเลิศจะได้รับพรหนึ่งประการจากเอลิซาเบท หลานสาวของลอร์ดแฮร์มันน์การประพันธ์ การประพันธ์. วากเนอร์เริ่มร่างเค้าโครงเรื่องทันน์ฮอยเซอร์ ระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ค.ศ. 1842 และเขียนบทร้องเสร็จในเดือนเมษายนปีถัดมา จากนั้นจึงเริ่มประพันธ์ดนตรีจนแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1845 โดยท่อนโอเวอร์เชอร์ที่มีชื่อเสียง ถูกประพันธ์แยกต่างหาก แล้วเสร็จหลังสุด รอบปฐมทัศน์จัดแสดงเป็นครั้งแรกที่เมืองเดรสเดนในวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1845 แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าเรื่อง รีนซี ผลงานชิ้นก่อนหน้าของวากเนอร์ วากเนอร์ได้ปรับปรุงผลงานชิ้นนี้ตลอดมาจนถึงปี ค.ศ. 1860 และได้รับการร้องขอจากจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ให้ดัดแปลงเป็นพิเศษสำหรับจัดแสดงโดยคณะอุปรากรปารีส ที่โรงอุปรากร Salle Le Peletier ปารีส เพื่อเป็นเกียรติแก่พอลีน ฟอน เมทเทอร์นิก ภริยาของเอกอัครราชทูตออสเตรียประจำกรุงปารีส การแสดงครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 1861รายการอ้างอิง
ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์กเป็นอุปรากรภาษาใด
3598
{ "answer_end": [ 236 ], "answer_start": [ 220 ], "text": [ "ริชาร์ด วากเนอร์" ] }
356591
ทันน์ฮอยเซอร์ ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก (; ) เป็นอุปรากรภาษาเยอรมันข้อมูล ข้อมูล. ทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก เป็นอุปรากรภาษาเยอรมันความยาว 3 องก์ ประพันธ์ทำนองและคำร้องโดยริชาร์ด วากเนอร์ โดยนำเค้าโครงมาจากบทกวี Elementargeister ของไฮน์ริก ไฮน์ (ค.ศ. 1797 – 1856) ที่ดัดแปลงมาจากตำนานพื้นบ้านเยอรมนี และเรื่อง The Singer's Contest ของอี. ที. เอ. ฮอฟแมนน์ และเรื่องอื่นๆ อีกหลายเรื่อง เกี่ยวกับตำนานของวีนัสเนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง. เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 13 ชายหนุ่มรูปงามชื่อไฮน์ริก ทันน์ฮอยเซอร์ ถูกเทพี วีนัส กักขังไว้ในหุบเขาลึกลับชื่อ วีนัสเบิร์ก วีนัสพยายามยั่วยวนและขอความรักจากทันน์ฮอยเซอร์ แต่ตัวเขาปฏิเสธและเรียกร้องหาอิสรภาพ เขาประกาศว่าจิตวิญญาณของเขานั้นมั่นคงต่อพระแม่มารี ด้วยคำประกาศนั้น ทำให้วีนัสเบิร์กและเหล่าบริวารของวีนัสมลายหายไปในทันที ทันน์ฮอยเซอร์พบตัวเองอยู่ในแคว้นทูรินเกีย ขณะนั้นลอร์ดแฮร์มันน์ เจ้าของปราสาทวาร์ทบูร์กแห่งทูรินเกีย ได้จัดการประกวดประชันร้องเพลง โดยผู้ชนะเลิศจะได้รับพรหนึ่งประการจากเอลิซาเบท หลานสาวของลอร์ดแฮร์มันน์การประพันธ์ การประพันธ์. วากเนอร์เริ่มร่างเค้าโครงเรื่องทันน์ฮอยเซอร์ ระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ค.ศ. 1842 และเขียนบทร้องเสร็จในเดือนเมษายนปีถัดมา จากนั้นจึงเริ่มประพันธ์ดนตรีจนแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1845 โดยท่อนโอเวอร์เชอร์ที่มีชื่อเสียง ถูกประพันธ์แยกต่างหาก แล้วเสร็จหลังสุด รอบปฐมทัศน์จัดแสดงเป็นครั้งแรกที่เมืองเดรสเดนในวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1845 แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าเรื่อง รีนซี ผลงานชิ้นก่อนหน้าของวากเนอร์ วากเนอร์ได้ปรับปรุงผลงานชิ้นนี้ตลอดมาจนถึงปี ค.ศ. 1860 และได้รับการร้องขอจากจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ให้ดัดแปลงเป็นพิเศษสำหรับจัดแสดงโดยคณะอุปรากรปารีส ที่โรงอุปรากร Salle Le Peletier ปารีส เพื่อเป็นเกียรติแก่พอลีน ฟอน เมทเทอร์นิก ภริยาของเอกอัครราชทูตออสเตรียประจำกรุงปารีส การแสดงครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 1861รายการอ้างอิง
ใครคือผู้ประพันธ์ทำนองและคำร้องอุปรากรภาษาเยอรมันเรื่องทันน์ฮอยเซอร์ อุนท์เดอร์ซังเงอร์ครีก อัฟวาร์ทบูร์ก
3599
{ "answer_end": [ 140 ], "answer_start": [ 133 ], "text": [ "แอฟริกา" ] }
415558
งูแมมบา งูแมมบา () เป็นงูพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dendroaspis จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา งูในสกุลงูแมมบานั้น เป็นงูที่มีลำตัวเรียวยาว มีส่วนหัวขนาดเล็ก มีตากลมโต มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5-2 เมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 4 เมตร และเป็นงูที่มีความว่องไวมาก สามารถเลื้อยคลานได้เร็วถึง 12-20 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนพื้นดิน จนถูกจัดให้เป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดบนโลกมาแล้ว งูแมมบานั้น จะมีสีเดียวตลอดทั้งลำตัว โดยจะมีทั้งสีน้ำตาล, สีเขียว หรือเหลือบสีต่าง ๆ บนเกล็ด รวมถึงสีขาวอมเทาหรือเทาตุ่น ๆ ด้วย ในบางชนิด มีเกล็ดเรียบลื่น เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่ มุมปากยาว ดวงตามีขนาดกลมโต มีความแตกต่างกันมากระหว่างเพศ โดยงูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย เป็นงูที่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ดำรงชีวิตทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้งงูด้วยกันเองด้วย งูแมมบานั้นได้ถูกอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ 4 ชนิด คือ- งูกรีนแมมบาตะวันออก (Dendroaspis angusticeps) พบในแอฟริกาตอนใต้ทางทิศตะวันออก จัดเป็นงูในสกุลนี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด และเป็นชนิดต้นแบบ- งูแมมบาเจมส์สัน (Dendroaspis jamesoni) พบในแอฟริกาตอนกลาง มี 2 ชนิดย่อย- งูแบล็คแมมบา (Dendroaspis polylepis) เป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่และยาวที่สุด รวมทั้งมีอุปนิสัยก้าวร้าวมากที่สุด พบในแอฟริกากลางและตะวันออก- งูกรีนแมมบาตะวันตก (Dendroaspis viridis) มีลักษณะคล้ายกับงูกรีนแมมบาตะวันออก แต่มีสีที่แตกต่างออกไป และมีความยาวกว่า พบในแอฟริกาตะวันตก และพบในพื้นที่ ๆ จำกัดกว่า โดยงูแมมบาทุกชนิดนั้น เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงมาก สามารถฆ่ามนุษย์ให้เสียชีวิตได้ ในเวลาเพียงไม่กี่นาที โดยมีผลต่อระบบประสาท ผู้ที่ถูกกัดจะเสียชีวิตด้วยอาการหัวใจวาย จนได้ชื่อว่า "แมมบา" อันหมายถึง "โลงศพ" เพราะมีส่วนหัวที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ได้ชื่อว่าเป็นงูที่อันตรายที่สุดในทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในงูแบล็คแมมบาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และอาศัยหากินบนพื้นดิน ไม่ขึ้นไปบนต้นไม้ ที่สำคัญมีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าว ไม่เกรงกลัวมนุษย์เหมือนงูชนิดอื่น ๆ อีกทั้งยังสามารถฉกกัดได้ด้วยความรวดเร็วและฉกในมุมที่ไม่มีงูสกุลใดทำได้ด้วย เนื่องจากกระดูกพาลาทีนไม่มีก้านกระดูกโคเอนัล ซ้ำยังสามารถฉกได้ไกลและสูงกว่า 2 เมตรอีกด้วย และสามารถแผ่แม่เบี้ยหรือพังพานได้ แม้จะไม่ใหญ่เท่าของงูเห่า (Naja spp.) และงูจงอาง (Ophiophagus hannah) ที่ถูกวงศ์เดียวกันก็ตาม นอกจากนี้เล้ว มีการวิจัยพบว่า พิษของงูแมมบานั้น โดยเฉพาะงูแบล็คแมมบา มีสารระงับความเจ็บปวดเหมือนกับมอร์ฟีน แต่มีผลข้างเคียงน้อยกว่า โดยที่คำว่า Dendroaspis ที่ใช้เป็นชื่อสกุลนั้น หมายถึง "งูต้นไม้"
งูแมมบามีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปอะไร
3600
{ "answer_end": [ 15 ], "answer_start": [ 8 ], "text": [ "งูแมมบา" ] }
415558
งูแมมบา งูแมมบา () เป็นงูพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dendroaspis จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา งูในสกุลงูแมมบานั้น เป็นงูที่มีลำตัวเรียวยาว มีส่วนหัวขนาดเล็ก มีตากลมโต มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5-2 เมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 4 เมตร และเป็นงูที่มีความว่องไวมาก สามารถเลื้อยคลานได้เร็วถึง 12-20 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนพื้นดิน จนถูกจัดให้เป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดบนโลกมาแล้ว งูแมมบานั้น จะมีสีเดียวตลอดทั้งลำตัว โดยจะมีทั้งสีน้ำตาล, สีเขียว หรือเหลือบสีต่าง ๆ บนเกล็ด รวมถึงสีขาวอมเทาหรือเทาตุ่น ๆ ด้วย ในบางชนิด มีเกล็ดเรียบลื่น เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่ มุมปากยาว ดวงตามีขนาดกลมโต มีความแตกต่างกันมากระหว่างเพศ โดยงูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย เป็นงูที่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ดำรงชีวิตทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้งงูด้วยกันเองด้วย งูแมมบานั้นได้ถูกอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ 4 ชนิด คือ- งูกรีนแมมบาตะวันออก (Dendroaspis angusticeps) พบในแอฟริกาตอนใต้ทางทิศตะวันออก จัดเป็นงูในสกุลนี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด และเป็นชนิดต้นแบบ- งูแมมบาเจมส์สัน (Dendroaspis jamesoni) พบในแอฟริกาตอนกลาง มี 2 ชนิดย่อย- งูแบล็คแมมบา (Dendroaspis polylepis) เป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่และยาวที่สุด รวมทั้งมีอุปนิสัยก้าวร้าวมากที่สุด พบในแอฟริกากลางและตะวันออก- งูกรีนแมมบาตะวันตก (Dendroaspis viridis) มีลักษณะคล้ายกับงูกรีนแมมบาตะวันออก แต่มีสีที่แตกต่างออกไป และมีความยาวกว่า พบในแอฟริกาตะวันตก และพบในพื้นที่ ๆ จำกัดกว่า โดยงูแมมบาทุกชนิดนั้น เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงมาก สามารถฆ่ามนุษย์ให้เสียชีวิตได้ ในเวลาเพียงไม่กี่นาที โดยมีผลต่อระบบประสาท ผู้ที่ถูกกัดจะเสียชีวิตด้วยอาการหัวใจวาย จนได้ชื่อว่า "แมมบา" อันหมายถึง "โลงศพ" เพราะมีส่วนหัวที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ได้ชื่อว่าเป็นงูที่อันตรายที่สุดในทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในงูแบล็คแมมบาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และอาศัยหากินบนพื้นดิน ไม่ขึ้นไปบนต้นไม้ ที่สำคัญมีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าว ไม่เกรงกลัวมนุษย์เหมือนงูชนิดอื่น ๆ อีกทั้งยังสามารถฉกกัดได้ด้วยความรวดเร็วและฉกในมุมที่ไม่มีงูสกุลใดทำได้ด้วย เนื่องจากกระดูกพาลาทีนไม่มีก้านกระดูกโคเอนัล ซ้ำยังสามารถฉกได้ไกลและสูงกว่า 2 เมตรอีกด้วย และสามารถแผ่แม่เบี้ยหรือพังพานได้ แม้จะไม่ใหญ่เท่าของงูเห่า (Naja spp.) และงูจงอาง (Ophiophagus hannah) ที่ถูกวงศ์เดียวกันก็ตาม นอกจากนี้เล้ว มีการวิจัยพบว่า พิษของงูแมมบานั้น โดยเฉพาะงูแบล็คแมมบา มีสารระงับความเจ็บปวดเหมือนกับมอร์ฟีน แต่มีผลข้างเคียงน้อยกว่า โดยที่คำว่า Dendroaspis ที่ใช้เป็นชื่อสกุลนั้น หมายถึง "งูต้นไม้"
งูชนิดใดเป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดในโลก
3601
{ "answer_end": [ 512 ], "answer_start": [ 493 ], "text": [ "สงครามโลกครั้งที่ 2" ] }
22995
สะพานข้ามแม่น้ำแคว สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นสะพานข้ามแม่น้ำแควใหญ่โครงสร้างเหล็กครึ่งวงกลม สลับโครงสร้างถัก ตอม่อคอนกรีตเสริมเหล็ก ตั้งอยู่ที่ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศเหนือ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 ประมาณ 4 กิโลเมตร แยกซ้ายประมาณ 400 เมตร ปัจจุบันใช้เป็นทางสัญจรของรถไฟสาย - หรือ ทางรถไฟสายมรณะ ในอดีตประวัติ ประวัติ. สะพานข้ามแม่น้ำแควเป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่ง เป็นสะพานที่สำคัญที่สุดของเส้นทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทัพญี่ปุ่นได้เกณฑ์เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ ทหารอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดา และนิวซีแลนด์ประมาณ 61,700 คน สมทบด้วยกรรมกรชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า และอินเดีย อีกจำนวนมาก มาก่อสร้างทางรถไฟสายยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นเส้นทางผ่านไปสู่ประเทศพม่า ซึ่งเส้นทางช่วงหนึ่งจะต้องข้ามแม่น้ำแควใหญ่ จึงต้องมีการสร้างสะพานขึ้น การสร้างสะพานและทางรถไฟสายนี้ เต็มไปด้วยความยากลำบาก ความทารุณของสงครามและโรคภัย ตลอดจนการขาดแคลนอาหาร ทำให้เชลยศึกหลายหมื่นคนต้องเสียชีวิตลง สะพานข้ามแม่น้ำแควใช้เวลาสร้างเพียง 1 เดือน โดยนำเหล็กจากมลายูมาประกอบเป็นชิ้น ๆ ตอนกลางทำเป็นสะพานเหล็ก 11 ช่วง หัวและโครงสะพานเป็นไม้ มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2486 ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2487 ได้ถูกทิ้งระเบิดหลายครั้งจนสะพานหักท่อนกลาง ภายหลังสงครามสิ้นสุดลง รัฐบาลไทยได้ซ่อมแซมใหม่ด้วยเหล็กรูปเหลี่ยม เมื่อปี พ.ศ. 2489 จนสามารถใช้งานได้ ปัจจุบัน มีการยกย่องให้เป็น สัญลักษณ์แห่งสันติภาพการเดินทางทางรถยนต์การเดินทาง. ทางรถยนต์. - จากกรุงเทพฯ ใช้ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข 4) มุ่งหน้าสู่จังหวัดนครปฐม จากนั้นขับตรงไปมุ่งหน้าสู่จังหวัดราชบุรี - จากกรุงเทพฯ ใช้ถนนสายปิ่นเกล้า - นครชัยศรี (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338) มุ่งหน้าสู่นครปฐม จากนั้นขับตรงไปมุ่งหน้าสู่จังหวัดราชบุรี - ทั้งสองเส้นทางด้านบนจะต้องผ่านแยกนครชัยศรี - จากแยกนครชัยศรี ขับตรงไป โดยจะผ่านสะพานไปบ้านแพ้ว ประมาณ 8.5 กิโลเมตร ผ่านสะพานไปตัวเมืองนครปฐม ประมาณ 0.5 กิโลเมตร ผ่านแยกไปจังหวัดสุพรรณบุรี ประมาณ 6.4 กิโลเมตร จากนั้นจะถึงสะพานไปจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 9 กิโลเมตร รวมระยะทางประมาณ 24.4 กิโลเมตรทางรถโดยสารประจำทางทางรถโดยสารประจำทาง. - จากสถานีขนส่งสายใต้ใหม่ กรุงเทพฯ - กาญจนบุรี ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง โดยสามารถนั่งรถปรับอากาศสายกรุงเทพฯ-กาญจนบุรี แล้วไปลงที่สถานีขนส่งจังหวัดกาญจนบุรี - จากขนส่งกาญจนบุรีนั่งรถสายกาญจนบุรี - เอราวัณ หรือรถสายกาญจนบุรี - ทองผาภูมิ - สังขละบุรี ไปลงตรงแยกซ้ายมือเข้าสะพานข้ามแม่น้ำแคว จากนั้นนั่งมอเตอร์ไซต์รับจ้างเข้าไปประมาณ 700 เมตรทางรถไฟ ทางรถไฟ. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ป้ายหยุดรถไฟสะพานแควใหญ่ โดยสารขบวนรถไฟประจำ - หรือขบวนรถนำเที่ยวพิเศษ - (เฉพาะเสาร์ - อาทิตย์) ลงที่ ซึ่งอยู่ที่เชิงสะพานข้ามแม่น้ำแควพอดี
สะพานข้ามแม่น้ำแคว ในจังหวัดกาญจนบุรี สร้างขึ้นในสมัยใด
3602
{ "answer_end": [ 47 ], "answer_start": [ 24 ], "text": [ "เอลฟ์จิฟูแห่งนอร์แธมตัน" ] }
884640
เอลฟ์จิฟูแห่งนอร์แธมตัน เอลฟ์จิฟูแห่งนอร์แธมตัน [ภาษาอังกฤษ Ælfgifu of Northampton] (ค.ศ.990-หลังค.ศ.1036) เป็นมเหสีพระองค์แรกของพระเจ้าคนุตแห่งอังกฤษและเดนมาร์ก และพระราชมารดาของพระเจ้าแฮโรลด์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ.1035-1040) ทรงเป็นราชินีผู้สำเร็จราชการแทนแห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปีค.ศ.1030-1035การเสด็จพระราชสมภพ และการอภิเษกสมรส การเสด็จพระราชสมภพ และการอภิเษกสมรส. เอลฟ์จิฟูเสด็จพระราชสมภพราวปีค.ศ.990 ในตระกูลที่ร่ำรวยและเป็นที่นับหน้าถือตาทางตอนเหนือของอังกฤษ ความจงรักภักดีที่พระบิดาของพระองค์มีต่อผู้รุกรานชาวเดนท์ทำให้เอลฟ์จิฟูได้อภิเษกสมรสกับพระโอรสของผู้นำไวกิ้ง ข้อมูลที่มีอยู่น้อยมากบอกว่าการจับคู่เป็นการอภิเษกสมรสทางการเมือง ในตอนที่มีการอภิเษกสมรส พระราชบิดาของคนุต สเวนเคราส้อม (พระราชนัดดาของฮารัลด์ฟันฟ้า) ได้ตัดสินพระทัยที่จะพิชิตอังกฤษ ส่วนหนึ่งเพื่อแก้แค้นให้กับการสิ้นพระชนม์ของพระขนิษฐาในการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1002 ตามพระราชบัญชาของพระเจ้าเอเธลเร็ด คานุตต่อสู้เคียงข้างพระราชบิดาที่ชนะในท้ายที่สุด แต่กลับสวรรคตในอีก 5 อาทิตย์ต่อมา เอเธลเร็ดที่หนีไปบ้านเกิดของพระมเหสี เอ็มม่า ได้รับการอัญเชิญจากสภาวิทันให้กลับมาปกครองอังกฤษ คานุตหนีไปเดนมาร์กพร้อมกับเอลฟ์จิฟูเพื่อสั่งสมเงินและกองกำลัง และปีต่อมาพระองค์เสด็จกลับมาพิชิตประเทศ ปราบทั้งเอเธลเร็ดที่สวรรคตและพระโอรสองค์โต เอ็ดมุนด์จอมพลัง แต่ในฐานะผู้ปกครองชาติที่คนส่วนใหญ่เป็นชาวคริสต์ (มีกลุ่มเล็กๆที่เป็นเพแกน ส่วนใหญ่อยู่ในเดนลอว์) สภาของคานุตประกาศว่ากษัตริย์ควรอภิเษกสมรสกับมเหสีชาวคริสต์และทอดทิ้งเอลฟ์จิฟู ผู้ที่พระองค์ได้ทำพิธีผูกข้อมือตามธรรมเนียมของเพแกน สตรีที่สภาวิทันเลือกคือเอ็มม่าแห่งนอร์ม็องดี มเหสีม่ายของเอเธลเร็ด เพื่อป้องกันไม่ให้พระโอรสของเอเธลเร็ด เอ็ดเวิร์ดกับอัลเฟรด ช่วงชิงอำนาจของพระองค์ คานุตจึงอภิเษกสมรสกับพระมารดาของทั้งสองพระองค์ เอ็มม่า ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1017 การอภิเษกสมรสกับเอ็มม่าก็เพื่อรักษาราชวงศ์ดั้งเดิมไว้ต่อไป และพระองค์ได้อาศัยประสบการณ์และความเฉียบแหลมของพระนาง ทว่าพระองค์ไม่ได้ทอดทิ้งมเหสีพระองค์แรก บางทีเอลฟ์จิฟูอาจเป็นพระสนมหรือไม่ก็มเหสีที่ผูกข้อมือด้วยตามธรรมเนียมของชาวสแกนดิเนเวีย สันนิษฐานกันว่าพระราชบุตรที่มีกับเอลฟ์จิฟูเป็นรัชทายาทแห่งบัลลังก์เดนมาร์กและนอร์เวย์ ขณะที่พระราชบุตรของเอ็มม่าที่มีกับคานุตจะได้เป็นรัชทายาทแห่งบัลลังก์อังกฤษ เอ็มม่ามีพระราชบุตรที่มีชีวิตรอดกับคานุตสองพระองค์ พระโอรส ฮาร์ธาคนุต และพระธิดา กุนฮิลด้าการเป็นราชินีผู้สำเร็จราชการแทนแห่งนอร์เวย์ และพระมารดาของกษัตริย์แห่งอังกฤษ การเป็นราชินีผู้สำเร็จราชการแทนแห่งนอร์เวย์ และพระมารดาของกษัตริย์แห่งอังกฤษ. ในปีค.ศ.1028 คานุตพิชิตนอร์เวย์ และในปีค.ศ.1030 พระองค์วางตำแหน่งให้พระโอรส สเวน และพระมเหสี เอลฟ์จิฟู เป็นกษัตริย์และผู้สำเร็จราชการแทนแห่งนอร์เวย์ ทว่าเอลฟ์จิฟูบริหารราชการได้ย่ำแย่และเมื่อคานุตสวรรคตในปีค.ศ.1035 พระองค์และพระโอรสถูกขับไล่ออกจากนอร์เวย์โดยพระเจ้ามักนุส หลังคานุตสวรรคต ฮาร์ธาคนุต พระโอรสที่พระองค์ตั้งใจจะให้สืบสัตติวงศ์พัวพันอยู่กับการสู้รบกับมักนุสแห่งนอร์เวย์และไม่สามารถทิ้งอาณาจักรของพระองค์ไปได้ เอ็มม่าและเอิร์ลก็อดวินต้องการให้ฮาร์ธาคนุตขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษ ขณะที่เอลฟ์จิฟูและเอิร์ลลีโอฟริคสนับสนุนแฮโรลด์ผู้เท้าไว โอรสสองพระองค์ของเอเธลเร็ด เอ็ดเวิร์ดและอัลเฟรด ก็ได้อ้างสิทธิ์ในบัลลังก์เช่นกัน เนื่องจากฮาร์ธาคนุตล่าช้าและเอ็ดเวิร์ดกับอัลเฟรดถูกขับไล่ออกจากประเทศไปนอร์ม็องดี ชาวอังกฤษจึงเลือกแฮโรลด์ผู้เท้าไวเป็นกษัตริย์ เอ็มม่าได้ส่งพระราชหัตถเลขาไปขอร้องฮาร์ธาคนุตให้กลับมายึดประเทศ ฮาร์ธาคนุตปฏิเสธ พระองค์เลือกที่จะอยู่ในเดนมาร์กและปล่อยให้แฮโรลด์เป็นผู้ปกครองของอังกฤษโดยไร้การโต้แย้ง แต่เอ็มม่าไม่อยู่เฉย พระองค์อัญเชิญพระราชโอรสด้วยการส่งพระศพของสวามีพระองค์แรก (เอเธลเร็ด) กลับมาจากนอร์ม็องดีที่พระราชโอรสของพระองค์อาศัยอยู่นับตั้งแต่พระราชบิดาสวรรคต น่าเศร้าที่แผนการล้มเหลว จบลงด้วยการสิ้นพระชนม์ของพระโอรส อัลเฟรด ภายใต้สถานการณ์ที่ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันมาจนถึงทุกวันนี้ เอ็มม่าถึงขั้นพยายามทำลายชื่อเสียงของแฮโรลด์ผู้เท้าไว ในหนังสือที่เขียนถึงชีวประวัติของพระองค์ Encomium Emmae Reginae พระองค์กล่าวหาแฮโรลด์ว่าเป็นลูกนอกกฎหมาย ไม่ใช่เพราะเป็นพระโอรส "ที่ประสูติจากพระสนม" ของคนุต (พระองค์หมายถึงเอลฟ์จิฟู) แต่ "ถูกเอาตัวมาอย่างลับๆจากข้ารับใช้ที่คลอดลูก และนำมาวางไว้ในห้องบรรทมของพระสนมที่ป่วย" แหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูล. - Aelfgifu of Northampton & Emma of Normandy: Strong Women in a Man’s World - Aelfgifu of Northampton - Ælfgifu of Northampton
มเหสีพระองค์แรกของพระเจ้าคนุตแห่งอังกฤษและเดนมาร์กมีพระนามว่าอะไร
3603
{ "answer_end": [ 23 ], "answer_start": [ 12 ], "text": [ "ช่องเขามานา" ] }
746947
ช่องเขามานา ช่องเขามานา (; ) หรือ มานาลา, ชีร์บิตยา, ชีร์บิตยา-ลา และ ดังกรี-ลา เป็นช่องเขาระหว่างเทือกเขาหิมาลัย ตั้งอยู่ระหว่างพรมแดนทิเบตกับอินเดีย อยู่ที่ความสูง 5,545 เมตร (18,192 ฟุต) เป็นช่องที่เดินทางด้วยพาหนะที่สูงที่สุดในโลก ถนนที่ใช้สัญจรสร้างในช่วงปี ค.ศ. 2005–2010 สำหรับปฏิบัติการทางทหารโดยองค์การถนนพรมแดน (Border Roads Organisation) ของอินเดีย สามารถมองเห็นถนนเหล่านี้ได้บนกูเกิล เอิร์ธ ช่องเขามานาตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาตินันทาเทวี (Nanda Devi National Park) ห่างจากตอนเหนือของเมืองมานา 24 กิโลเมตร และ 27 กิโลเมตรจากเมืองพัทรีนาถ (Badrinath) เมืองที่มีความสำคัญของศาสนาฮินดูในรัฐอุตตราขัณฑ์ ช่องเขาแห่งนี้เป็นแหล่งต้นน้ำของแม่น้ำสรัสวตี แม่น้ำสาขาของแม่น้ำอลกนันทา (Alaknanda River) ซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาที่ยาวที่สุดของแม่น้ำคงคา นอกจากนี้ยังเป็นจุดที่เหมาะสำหรับการปีนยอดเขาชอคามบา (Chaukhamba) ช่องเขามานาเป็นเส้นทางสัญจรและค้าขายระหว่างรัฐอุตตราขัณฑ์กับทิเบตมาตั้งแต่โบราณ คำว่า "มานา" มาจาก "มณีภัทรอาศรม" (Manibhadra Ashram) ซึ่งเป็นเมืองโบราณในเขตเมืองมานา ในปี ค.ศ. 1624 นักบวชชาวโปรตุเกสจากคณะเยสุอิต 2 รูปคือ อังตอนีอู ดือ อังดราดือ (António de Andrade) และมานูแอล มาร์กึช (Manuel Marques) เป็นชาวยุโรป 2 คนแรกที่เดินทางเข้าทิเบตผ่านช่องเขาแห่งนี้ มีการใช้ช่องเขามานาเรื่อยมาจนประเทศจีนประกาศปิดเส้นทางในปี ค.ศ. 1951 ต่อมาในวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1954 ประเทศจีนและประเทศอินเดียได้ร่วมกันลงนามในข้อตกลงยินยอมให้ชนพื้นเมืองและผู้แสวงบุญมีสิทธิ์ในการเดินทางเข้าออกสองประเทศผ่านช่องเขาแห่งนี้
ช่องเขาระหว่างเทือกเขาหิมาลัยที่ตั้งอยู่ระหว่างพรมแดนทิเบตกับอินเดียมีชื่อว่าอะไร
3604
{ "answer_end": [ 42 ], "answer_start": [ 16 ], "text": [ "พลตำรวจเอก สันต์ ศรุตานนท์" ] }
184658
สันต์ ศรุตานนท์ พลตำรวจเอก สันต์ ศรุตานนท์ นายกสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์,ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมขี่ม้าโปโลแห่งประเทศไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติประวัติ ประวัติ. สันต์ ศรุตานนท์ เกิดวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายกระสันต์ กับนางประยงค์ ศรุตานนท์ สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยในปี 2505 และโรงเรียนนายร้อยตำรวจในปี 2510 เขาเคยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 - 30 กันยายน พ.ศ. 2547 สันต์สมรสกับคุณหญิงเกิดศิริ ศรุตานนท์ (สกุลเดิม เศรษฐบุตร) ธิดาของสำเนา และอารินทร์ เศรษฐบุตร แต่ไม่มีบุตร-ธิดาด้วยกัน นอกจากนี้สันต์ยังมีความสัมพันธ์กับยุวเรต กังสถาน ที่ต่อมาได้ใช้นามสกุลศรุตานนท์ด้วย เธออ้างว่าได้รับอนุญาตจากสันต์ เพื่อตอบแทนการที่เธอปรนนิบัติพัดวีเขา และมักปรากฏตัวออกงานร่วมกันบ่อยครั้งจนมีเสียงเล่าลือกันว่าสันต์หย่าจากภริยาเดิม ซึ่งในเวลาต่อมาเกิดศิริ ภริยาในสมรสจึงส่งจดหมายชี้แจงสื่อมวลชนว่าตนยังคงสภาพสมรสกับสันต์อยู่ อันส่งผลให้มีผู้ใช้อินสตาแกรมบางส่วนไม่พอใจพฤติกรรมดังกล่าวของยุวเรตได้โจมตีด้วยการแสดงความเห็นต่าง ๆ ในอินสตาแกรมส่วนตัวของยุวเรต จนเธอออกมาโต้ตอบว่า "ค่ะ ไปดราม่าที่อื่นนะคะ" ที่เวลาต่อมายุวเรตลบภาพที่มีปัญหานั้นออกประสบการณ์ประสบการณ์. - พ.ศ. 2528 คณะอนุกรรมการของคณะกรรมการ ป.ป.ป. - พ.ศ. 2539 กรรมการอำนวยการปรับปรุงการบริหารพัสดุ สำนักงบประมาณ - พ.ศ. 2541 กรรมการว่าด้วยพัสดุ - พ.ศ. 2541 กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน - พ.ศ. 2542 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค - พ.ศ. 2544 กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค - พ.ศ. 2544 กรรมการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - พ.ศ. 2544 กรรมการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) - พ.ศ. 2544 กรรมการ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยการกีฬา การกีฬา. พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ เป็นกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย วาระปี พ.ศ. 2552-2556 นายกสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมขี่ม้าโปโลแห่งประเทศไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2540 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2537 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นปฐมดิเรกคุณาภรณ์ (ป.ภ.) - เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)
ใครคืออดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ถึง 2547
3605
{ "answer_end": [ 17 ], "answer_start": [ 9 ], "text": [ "แบร์กฮอฟ" ] }
836185
แบร์กฮอฟ แบร์กฮอฟ () เป็นบ้านพักตากอากาศส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในภูเขาโอเบอร์ซัลซแบร์ก (Obersalzberg) ของเทือกเขาไบเอิร์นแอลป์ ใกล้กับแบร์ชเทิสกาเดินในรัฐบาวาเรีย เป็นบ้านพักตากอากาศอีกแหน่งหนึ่งนอกจากรังหมาป่า ถือเป็นฐานบัญชาการของฮิตเลอร์เพื่อรุกรานสหภาพโซเวียต ฮิตเลอร์ได้ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในแบร์กฮอฟมากกว่าที่ใดในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ที่แห่งนี้เป็นฐานบัญชาการของฮิตเลอร์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งในฐานบัญชาการหลายแห่ง ถูกสร้างขึ้นและปรับปรุงขยายห้องจำนวนมากและเปลี่ยนชื่อในปี 1935,แบร์กฮอฟเป็นบ้านพักที่ฮิตเลอร์ชอบเข้ามาพักผ่อนในช่วงวันหยุดมาเป็นเวลาสิบปี.ในช่วงเดือนเมษายน 1945 บ้านได้รับความเสียหายจากการทิ้งระเบิดของอังกฤษ,ถูกวางเพลิงโดยกองกำลังทหารเอสเอสที่กำลังล่าถอยในช่วงต้นเดือนพฤษภาคมและภายหลังก็ถูกรูทของโดยทหารสัมพันธมิตรที่ได้เข้ามาถึงพื้นที่. รัฐบาลบาวาเรียได้สั่งให้ทำลายเศษซากที่ถูกเผาในปี 1952
บ้านพักตากอากาศส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในภูเขาโอเบอร์ซัลซแบร์กของเทือกเขาไบเอิร์นแอลป์มีชื่อว่าอะไร
3608
{ "answer_end": [ 199 ], "answer_start": [ 184 ], "text": [ "ไตรภพ ลิมปพัทธ์" ] }
395046
ลับเฉพาะคนรู้ใจ ลับเฉพาะคนรู้ใจ เป็นรายการโทรทัศน์ ประเภท เกมโชว์ ผลิตรายการโดย บริษัท บอร์น แอนด์ แอสโซซิเอทด์ จำกัด เป็นรายการที่นำดารา 1 คน มาให้ผู้เข้าแข่งขัน 3 คน ทายใจดารา โดยมี ไตรภพ ลิมปพัทธ์ เป็นพิธีกร ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ระยะเวลาออกอากาศ 2540 - 2544กติกา กติกา. ผู้เข้าแข่งขันมีทั้งหมด 3 คน ต่อมาในปี 2544 ลดลงผู้เข้าแข่งขันเหลือ 2 คน ผู้แข่งขันจะต้องตอบคำถามทายใจดารารู้ใจทั้ง 3 ข้อ โดยจะมีคะแนนตามลำดับ ข้อที่ 1 มี 1 คะแนน ข้อที่ 2 มี 2 คะแนน และข้อที่ 3 มี 3 คะแนน เมื่อจบการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ทำคะแนนได้มากที่สุดจะเข้ารอบ Jackpot ไปพร้อมกับดารารับเชิญทันทีรอบตัดสิน รอบตัดสิน. รอบนี้จะเล่นเฉพาะผู้ที่มีคะแนนเสมอกัน โดยกติกาคือ ผู้แข่งขันที่มีคะแนนเสมอกัน จะต้องมาจับลูกแก้ว ใครจับลูกแก้วเข้ารอบ ได้เข้ารอบไปพร้อมกับดารารู้ใจทันที ส่วนดารารู้ใจรับรูปของตนเองจากทางรายการรอบสุดท้าย รอบสุดท้าย. รอบสุดท้าย (Jackpot) ของรายการลับเฉพาะคนรู้ใจ ปี 2540 - 2542 จะมีแผ่นป้ายของผู้สนับสนุนรายการทั้งหมด 20 แผ่นป้าย โดยแบ่งเป็นแผ่นป้ายลับเฉพาะคนรู้ใจ 10 แผ่นป้าย และแผ่นป้าย 5,000 บาทอีก 10 แผ่นป้าย (ผู้สนับสนุนหลักในการชิงโชค คือ รถจักรยานยนต์ยามาฮ่า) ผู้เข้าแข่งขันจะทำการเลือกทั้งหมด 10 แผ่นป้าย โดยการเลือกครั้งละ 2 แผ่นป้าย ถ้าหากจับคู่ได้ลับเฉพาะคนรู้ใจทั้ง 2 แผ่นป้ายจะได้รับเงินรางวัล 20,000 บาท ถ้าหากจับคู่ได้ 5,000 บาททั้ง 2 แผ่นป้ายจะได้รับเงินรางวัล 10,000 บาท แต่ถ้าจับคู่ไม่ถูกต้องจะได้รับเงินรางวัลแค่ 5,000 บาทเท่านั้น ทั้งนี้ถ้าหากเปิดแผ่นป้ายลับเฉพาะคนรู้ใจได้ครบ 5 คู่ (10 แผ่นป้าย) จะได้รับเงินรางวัล 100,000 บาท และรถจักรยานยนต์ ยามาฮ่า วีโอก้า มูลค่า 270,000 บาท รวมรางวัลมูลค่าทั้งหมด 370,000 บาท ถ้าเปิดเจอ 5,000 5 คู่ ได้เงิน 50,000 บาท แต่ในบางครั้งพิธีกรจะเปิดเพิ่มเพื่อแถมเงินรางวัลให้กับผู้เข้าแข่งขัน ต่อมาในปี 2543 ถูกปรับเปลี่ยนโดยมีแผ่นป้ายของผู้สนับสนุนรายการทั้งหมด 20 แผ่นป้ายเช่นเดิม แต่ปรับเปลี่ยนกติกาโดยแบ่งเป็นแผ่นป้ายลับเฉพาะคนรู้ใจ 10 แผ่นป้าย และแผ่นป้ายกุญแจหัก 10 แผ่นป้าย (ผู้สนับสนุนหลักในการชิงโชค คือ รถจักรยานยนต์ยามาฮ่า) ผู้เข้าแข่งขันจะทำการเลือกทั้งหมด 10 แผ่นป้าย โดยการเลือกครั้งละ 2 แผ่นป้าย ถ้าหากจับคู่ได้ลับเฉพาะคนรู้ใจทั้ง 2 แผ่นป้ายจะได้รับเงินรางวัลตามลำดับคู่ เช่น คู่ที่ 1 - 10,000 บาท คู่ที่ 2 - 20,000 บาท คู่ที่ 3 - 30,000 บาท คู่ที่ 4 - 40,000 บาท คู่ที่ 5 - 50,000 บาท ถ้าหากเจอแผ่นป้ายกุญแจหักในป้ายใดป้ายหนึ่งจะไม่ได้รับเงินรางวัลใดๆ ทั้งสิ้น (แต่คุณไตรภพ มักให้ราคาเพียงครึ่งหนึ่ง หรือตามใจผู้เล่น แลกกับการไม่ต้องเปิดแผ่นป้าย เช่น 10,000 ให้ 5,000 ไม่ต้องเปิด ส่วนใหญ่จะไม่เอาและไม่ได้เงินเพราะเจอกุญแจหัก แต่มีคู่คุณ ชาคริต แย้มนาม - ศรีพรรณ ชื่นชมบูรณ์ 4 คู่ไม่ได้เงินรางวัลเลยแม้แต่บาทเดียว พอถึงคู่สุดท้ายคุณไตรภพให้ราคา 49,999 บาท และทั้งคู่ก็เอาเงินจำนวนนั้น และแผ่นป้ายทั้ง 2 เป็นลับเฉพาะคนรู้ใจทั้งคู่ ก็ได้เงินจำนวนนั้นไป) ทั้งนี้ถ้าหากเปิดแผ่นป้ายลับเฉพาะคนรู้ใจได้ครบ 5 คู่ (10 แผ่นป้าย) จะได้รับเงิน 150,000 บาท และมอเตอร์ไซค์ยามาฮ่า วีโอก้า มูลค่า 270,000 บาท รวมรางวัลมูลค่าทั้งหมด 420,000 บาท ต่อมาในปี 2544 ถูกปรับเปลี่ยนโดยมีแผ่นป้ายของทางรายการทั้งหมด 8 แผ่นป้าย แบ่งเป็น 2 ฝั่ง คือฝั่งสีฟ้า และสีชมพู แต่ละฝั่งจะมีแผ่นป้ายลับเฉพาะคนรู้ใจ 1 แผ่นป้าย และแผ่นป้ายกุญแจหัก 3 แผ่นป้าย ผู้เข้าแข่งขันจะทำการเลือกแผ่นป้ายโดยเลือกมาเพียงคู่เดียวเท่านั้น (เลือกได้ 1 แผ่นป้ายต่อ 1 ฝั่ง) ทั้งนี้ ผู้เข้าแข่งขันที่เข้ารอบมาจะมีเงินรางวัลตั้งต้น 55,000 บาท ถ้าหากจับคู่ได้ลับเฉพาะคนรู้ใจทั้ง 2 แผ่นป้าย จะได้รับแหวนเพชรมูลค่า 30,000 บาท รถจักรยานยนต์ยามาฮ่า เฟรช มูลค่า 38,000 บาท และรางวัลอื่นๆ รวมกับเงินสดที่มีอยู่ก่อนหน้านี้แล้วรวมมูลค่ารางวัลทั้งสิ้น 350,000 บาท ถ้าหากจับคู่ได้ลับเฉพาะคนรู้ใจและกุญแจหักอย่างละ 1 แผ่นป้าย จะได้รับแหวนเพชร และรถจักรยานยนต์ยามาฮ่า เฟรช รวมกับเงินสดที่มีอยู่ก่อนหน้านี้แล้วรวมมูลค่ารางวัลทั้งสิ้น 123,000 บาท แต่ถ้าหากจับคู่ได้กุญแจหักทั้งคู่จะไม่ได้รับรางวัลเพิ่มจากที่มีอยู่แล้วใดๆ ทั้งสิ้น
ใครคือพิธีกรรายการลับเฉพาะคนรู้ใจ
3609
{ "answer_end": [ 41 ], "answer_start": [ 35 ], "text": [ "อิสลาม" ] }
74867
ซุนนี ซุนนี () คือนิกายหนึ่งในศาสนาอิสลาม มีชื่อเต็มในภาษาอาหรับว่า อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วะอัลญะมาอะฮ์ (, นิยมอ่านว่า อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์) เป็นนิกายที่ใหญ่ที่สุดในอิสลาม แบ่งเป็นสำนักหรือมัซฮับย่อย ๆ ออกเป็นหลายมัซฮับ แต่ปัจจุบันเหลือแค่เพียง 4 มัซฮับ นอกจากนี้ยังมีมัซฮับมุสลิมซุนนีที่ไม่ยึดถือมัซฮับ เรียกตนเองว่า พวกซะละฟีที่มาของคำ ที่มาของคำ. คำว่า ซุนนี มาจาก อัสซุนนะฮ์ (السنة) แปลว่า คำพูดและการกระทำหรือแบบอย่างของศาสดามุฮัมมัด (ศ) คำว่า "ญะมาอะฮ์" คือ การอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ผู้ที่บัญญัติศัพท์นี้ขึ้นมาคือ อะฮ์มัด บินฮันบัล (ฮ.ศ. 164-241 / ค.ศ. 780-855) คำว่า อัสซุนนะฮ์ เป็นคำที่นบีมุฮัมมัดมักจะใช้บ่อยครั้งในคำสั่งสอนของท่าน เช่น ในฮะดีษศอฮีฮ์ฟิกฮ์ที่บันทึกโดยอิมามอะฮ์มัด, อัตติรมีซี, อะบูดาวูด และอิบนุมาญะฮ์ ซึ่งท่านนบีได้กล่าวว่า “พวกท่านทั้งหลายจงยึดมั่นใน "แนวทางของฉัน" (سُنَّتِي) และแนวทางของผู้นำที่อยู่ในแนวทางอันเที่ยงธรรมของฉัน (อัลคุละฟาอ์อัรรอชิดูน) ที่จะมาหลังฉัน จงเคร่งครัดในการยึดมั่นบนแนวทางนั้น จงกัดมันด้วยฟันกราม (คืออย่าละทิ้งเป็นอันขาด) และจงหลีกให้พ้นจากอุตริกรรมในกิจการของศาสนา เพราะทุกอุตริกรรมในกิจการศาสนานั้นเป็นการหลงผิด” อะฮ์ลุสซุนนะฮ์ วะ อัลญะมาอะฮ์ (أَهْلُ السُّنَّةِ وَالْجَمَاعَةِ) ก็คือ ผู้ที่ยึดมั่นในซุนนะฮ์ (แนวทางของท่านนบีมุฮัมมัด) และยึดมั่นในสิ่งที่บรรดากลุ่มชนมุสลิมรุ่นแรกยึดมั่น (บุคคลเหล่านั้นคือบรรดาศ่อฮาบะหฟิกฮ์และบรรดาตาบิอีน) และพวกเขารวมตัวกัน (เป็นญะมาอะฮ์) บนพื้นฐานของซุนนะฮ์ ซึ่งชนกลุ่มนี้อัลลอฮ์ได้กล่าวถึงความประเสริฐของพวกเขาไว้ว่า บรรดาบรรพชนรุ่นแรกในหมู่ผู้อพยพ (ชาวมุฮาญิรีนจากนครมักกะฮ์) และในหมู่ผู้ให้ความช่วยเหลือ (ชาวอันศอรจากนครมะดีนะฮ์) และบรรดาผู้ดำเนินตามพวกเขาด้วยการทำดีนั้น อัลลอฮ์ทรงพอพระทัยในพวกเขา และพวกเขาก็พอใจในพระองค์ด้วย และพระองค์ทรงเตรียมไว้ให้พวกเขาแล้ว ซึ่งสวนสวรรค์อันหลากหลายที่มีแม่น้ำหลายสายไหลผ่านเบื้องล่าง พวกเขาจะพำนักอยู่ในนั้นตลอดกาล นั่นคือชัยชนะอันใหญ่หลวง (ซูเราะหฟิกฮ์อัตเตาบะหฟิกฮ์ : 100) ประวัติ ประวัติ. ในสมัยการปกครองของยะซีด บินมุอาวิยะหฟิกฮ์ คำสั่งสอนแห่งอัลกุรอานและแห่งศาสนทูตถูกละทิ้ง ชาวมะดีนะฮ์ผู้เคร่งครัดถูกได้รับความกดดันจากตระกูลอุมัยยะฮ์ผู้ปกครองอาณาจักรอิสลาม และภายใต้ความกดดันนั้นได้เกิดหล่อหลอมเป็นกลุ่มผู้ยึดมั่นในแนวทางอิสลามแบบเดิม เพื่อต่อต้านตระกูลอุมัยยะฮ์ โดยเฉพาะหลังจากที่กองทัพจากชาม ในสมัยการปกครองของยะซีด บินมุอาวิยะฮ์ฟิกฮ์ ได้สังหารฮุเซน หลานตาศาสนทูตมุฮัมมัด พร้อมกับญาติพี่น้อง ที่กัรบะลาอ์ 73 คนในปี ค.ศ. 680 และต่อมาในปี ค.ศ. 683 ยะซีดส่งกองทัพเพื่อโจมตีพระนครมะดีนะฮ์ที่อับดุลลอฮ์ บินอุมัร อิบนุลคอฏฏอบ เป็นผู้นำในการต่อต้านการปกครองของยะซีด และโจมตีมักกะฮ์ ที่อับดุลลอฮ์ อินนุซซุเบรสถาปนาตนเองเป็นเคาะลีฟะฮ์แห่งอาณาจักรอิสลาม ชาวเมืองมะดีนะฮ์ร่วมกันออกต้านทัพของยะซีด ที่นำโดยอุกบะหฟิกฮ์ ณ สถานที่ที่มืชื่อว่า อัลฮัรเราะฮ์ แต่ก็ต้องพ่ายแพ้ จนกองทัพของยะซีดสามารถเข้าปล้นสะดมเมืองมะดีนะฮ์ เป็นเวลาสามวันสามคืนตามคำสั่งของยะซีด ทหารชาม เข่นฆ่าผู้คน และข่มขืนสตรี จนกระทั่งมีผู้คนล้มตายประมาณ 10,000 คน ในจำนวนนั้นมีบุคคลสำคัญ 700 คน นอกจากนั้นมีผู้หญิงตั้งท้องเนื่องจากถูกข่มขืนชำเราอีก 500 คน หลังจากนั้นกองทัพชามก็มุ่งสู่มักกะฮ์เพื่อปราบปรามอิบนุซซุเบร โดยเข้าเผากะอ์บะฮ์ และเข่นฆ่าผู้คน ประชาชนชาวมุสลิมต่อต้านการปกครองตลอดมา แต่แล้วในปี ค.ศ. 692 อับดุลมะลิก บินมัรวานก็ส่ง ฮัจญาจญ์ บินยูสุฟ อัษษะกอฟี มาโจมตีมักกะฮ์อีกครั้ง ครั้งนี้อับดุลลอฮ์ อิบนุซซุเบร ถูกสังหารและศพถูกตรึงที่ไม้ ปักไว้หน้ากะอ์บะฮ์ ส่วนกะอ์บะฮ์ก็ถูกทำลาย ตั้งแต่นั้นมา ผู้คนในอาณาจักรอิสลามแบ่งออกเป็นหลายกลุ่มชนใหญ่ ๆ พวกที่ฝักใฝ่ทางโลกก็สนับสนุนการปกครองของตระกูลอุมัยยะฮ์ พวกที่ต่อต้านการปกครองระบอบเคาะลีฟะฮ์ ยึดถือบุตรหลานศาสนทูตเป็นผู้นำก็คือพวกชีอะฮ์ พวกที่เชื่อว่าบรรดาสาวกคือผู้นำและสานต่อสาส์นแห่งอิสลามหลังจากนบีมุฮัมมัด พวกนี้คือ อะฮ์ลุสซุนนะฮ์ ซึ่งในสมัยนั้นยังไม่ได้มีการบัญญัติศัพท์นี้ เพราะคำว่า ซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์ ถูกบัญญัติขึ้นมาจริง ๆ โดยอะฮ์มัด บินฮันบัล (ค.ศ. 780-855 / ฮ.ศ.164-241) นอกจากนี้ยังมีพวกคอวาริจญ์ ที่เป็นกบฏและแยกตัวออกจากอำนาจการปกครองของอิมามอะลี เมื่อครั้งที่เป็นเคาะลีฟะฮ์ที่ 4 ในฮิจญ์เราะหฟิกฮ์ศตวรรษที่ 3 และที่ 4 ได้มีการรวบรวมฮะดีษขึ้นมา จัดเป็นอนุกรมและหมวดหมู่ เรียกในภาษาไทยว่า พระวจนานุกรม ในสายอะฮ์ลุสซุนนะฮ์ มีมากกว่า 10 พระวจนานุกรม ที่สำคัญคือ 6 พระวจนานุกรม ที่ผู้รวบรวมโดยอัลบุคอรี, มุสลิม, อัตตัรมีซี, อะบูดาวูด, อิบนุมาญะฮ์ และอันนะซาอี นอกจากนี้ยังมีพระวจนานุกรมที่รวบรวมโดย มาลิก บินอะนัส (เจ้าสำนักมาลิกีย์) , อะฮหมัด บินฮันบัล (เจ้าสำนักฮันบะลีย์), อิบนุคุซัยมะฮ์, อิบนุฮิบบาน และอับดุรรอซซาก ในยุคหลังนี้ได้มีการตรวจสอบสายรายงานอย่างถี่ถ้วน พระวจนานุกรมอัลบุคอรีและมุสลิมได้รับการยอมรับมากที่สุดในสังคมมุสลิมซุนนีสำนักหรือทัศนะนิติศาสตร์อิสลาม สำนักหรือทัศนะนิติศาสตร์อิสลาม. ชะรีอะฮ์ (شريعة) หรือนิติบัญญัติอิสลามตามทัศนะของซุนนีนั้น มีพื้นฐานมาจากอัลกุรอานและซุนนะฮ์ (อิจย์มาอ์) มติฉันท์ของเหล่าผู้รู้ และกิยาส (การเปรียบเทียบกับบทบัญญัติที่มีอยู่แล้ว) นิกายซุนนีมีในอดีตมี 17 สำนัก แต่ได้สูญหายไปกับกาลเวลา ในปัจจุบันนิกายซุนนีมี 4 สำนัก ที่เป็นสำนักเกี่ยวกับฟิกฮ์ (นิติศาสตร์อิสลาม) ได้แก่1. ฮะนะฟี (ทัศนะของอะบูฮะนีฟะหฟิกฮ์ นุอฟิกฮ์มาน บินษาบิต) - 2. มาลีกี (ทัศนะของมาลิก บินอะนัส) 3. ชาฟีอี (ทัศนะของมุฮัมมัดมัด บินอิดริส อัชชาฟิอีย์) - ผู้ที่ยึดถือทัศนะนี้คือ คนส่วนใหญ่ในไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย 4. ฮันบะลี (ทัศนะของท่านอะฮ์มัด บินฮันบัล) ปัจจุบันมีอีกกลุ่มที่สำคัญคือ กลุ่มที่ไม่ได้ยึดถือหรือสังกัดตนอยู่ใน 4 กลุ่มข้างต้น แต่การวินิจฉัยหลักการศาสนาจะใช้วิธีศึกษาทัศนะของทั้ง 4 กลุ่มแล้ววิเคราะห์ดูว่าทัศนะใดที่มีน้ำหนักน่าเชื่อถือมากที่สุด โดยยึดอัลกุรอานและซุนนะฮฟิกฮ์เป็นธรรมนูญสำคัญในการวินิจฉัยเรื่องต่าง ๆ ในศาสนาสำนัก หรือ ทัศนะ เกี่ยวกับอุศูลุดดีน (ปรัชญาศาสนา) สำนัก หรือ ทัศนะ เกี่ยวกับอุศูลุดดีน (ปรัชญาศาสนา). นอกจากนี้ยังมีสำนักเกี่ยวกับอุศูลุดดีน (ปรัชญาศาสนา) อีกหลายสำนัก ที่สำคัญได้แก่ 4 สำนักคือ1. สำนักมุอ์ตะซิละฮ์ (معتزلة) จัดตั้งขึ้นโดยวาศิล บินอะฏออ์ (ค.ศ. 699-749) ศิษย์ที่มีความคิดแตกต่างจากฮะซัน อัลบัศรี (ค.ศ. 642-728) ผู้เป็นอาจารย์ 2. สำนักอัชอะรี มาจากแนวคิดของอะบุลฮะซัน อัลอัชชะรี (ค.ศ. 873-935) แต่ผู้ที่พัฒนาแนวคิดนี้ คือ อัลฆอซาลี นักวิชาการศาสนาและปรมาจารย์ศูฟีย์ 3. สำนักมาตุรีดี เป็นทัศนะของอะบูมันศูร อัลมาตุรีดี (มรณะ ค.ศ. 944) ในตอนแรกเป็นสำนักปรัชญาของชนกลุ่มน้อย ต่อมาเมื่อเป็นที่ยอมรับของเผ่พันธุ์เติร์ก และพวกออตโตมานมีอำนาจ ก็ได้ทำให้สำนักนี้แพร่หลายในเอเชียกลาง 4. สำนักอะษะรี เป็นทัศนะของอะฮ์มัด บินฮันบัล ผู้เป็นเจ้าสำนักฟิกฮ์ดังกล่าวมาแล้ว หากมุอฟิกฮ์ตะซิละหฟิกฮ์แยกตัวออกจากสำนักของฮะซัน อัลบัศรี ย่อมแสดงว่าก่อนหน้านั้นต้องมีสำนักปรัชญามาก่อนแล้ว ฮะซัน อัลบัศรี เองก็มีแนวคิดของตนเช่นกัน นั่นก็เพราะ ฮะซัน อัลบัศรี เป็นปรมาจารย์ของสำนักศูฟีที่ภายหลังแตกขยายเป็นหลายสาย
ซุนนีเป็นนิกายหนึ่งในศาสนาใด
3610
{ "answer_end": [ 74 ], "answer_start": [ 65 ], "text": [ "นครสวรรค์" ] }
667716
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 การแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 44 หรือ "นครสวรรค์เกมส์" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11–21 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยชิงชัยกัน 43 ชนิดกีฬา แต่ถูกยกเลิกพิธีเปิดซึ่งเดิมจะมีขึ้นในวันที่ 11 ธันวาคม เนื่องจากมีกิจกรรม Bike for dad ปั่นเพื่อพ่อ ทำให้ต้องเลื่อนพิธีเปิดมาวันที่ 12 ธันวาคมแทน จังหวัดนครสวรรค์ ได้รับความอนุเคราะห์จากเทศบาลนครนครสวรรค์ ผันงบประมาณที่ไม่ต้องใช้ในการป้องกันอุทกภัยของจังหวัดในรอบ 3 ปี ที่น้ำไม่ท่วมตลาดปากน้ำโพ มาใช้ซ่อมแซมปรับปรุงสนามกีฬาต่างๆ เพื่อรองรับการเป็นเจ้าภาพในครั้งนี้ เป็นเงินประมาณ 99,000,000 บาท สำหรับเรื่องที่พักนักกีฬา ผู้ฝึกสอน และผู้ที่เกี่ยวข้องกว่า 14,000 คน จังหวัดได้เตรียมประสานงานขอใช้ค่ายจิรประวัติ จังหวัดทหารบกนครสวรรค์ มณฑลทหารบกที่ 31 จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อใช้เป็นหมู่บ้านนักกีฬา ในบางชนิดกีฬา เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2557 นายมนตรี ไชยพันธุ์ รักษาการแทนผู้ว่าการกีฬาแห่งประเทศไทย เป็นประธานแถลงข่าวความพร้อมการแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 44 “นครสวรรค์เกมส์” พร้อมด้วย นายธงชัย ลืออดุลย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา และ นายระพี ผ่องบุพกิจ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ ร่วมด้วย ดร.ภิญโญ นิโรจน์ นายกสมาคมกีฬาจังหวัดนครสวรรค์ พร้อมรองผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ ที่ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมราชพฤกษ์ จังหวัดนครราชสีมาสัญลักษณ์การแข่งขัน สัญลักษณ์การแข่งขัน. ประกอบกันขึ้นเป็นภาพของคน นักกีฬาที่กำลังเคลื่อนไหวในทุกกีฬา ภาพสัญลักษณ์ ได้สื่อความหมาย แสดงใบหน้าของ “เอ็งกอพะบู๊” ซึ่งเป็นหนึ่งในตำนานของคนชาวไทยเชื้อสายจีนที่ยังมีการสืบต่อเรื่องราว ในงานประเพณีตรุษจีนของชาวปากน้ำโพ โดยเอ็งกอพะบู๊ จะเป็นตัวแทนของความความมีพลัง มีคุณธรรม มีความสามัคคีกันดุจพี่น้อง ดังเช่นการแข่งขันกีฬาแห่งชาติที่ปากน้ำโพในครั้งนี้ สำหรับสัญลักษณ์ในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งนี้ มีความหมาย ดังนี้- รูปทรงเส้นโค้งสีแดง หมายถึง พลังแห่งความสำเร็จ - วงกลมสีแดงอยู่ส่วนบนของภาพ หมายถึง การใช้ความรู้ความสามารถทางการกีฬา - รูปทรงวงกลมรอบภาพ สีเหลืองทอง หมายถึง เหรียญแห่งชัยชนะในการแข่งขันกีฬา - รูปทรงเส้นโค้งสีน้ำเงิน หมายถึง ความเข้มแข็งของการกีฬา - พื้นขาว หมายถึง ความมีน้ำใจในการแข่งขันสัญลักษณ์นำโชค สัญลักษณ์นำโชค. "เสี่ยวหลง" มาสคอตประจำการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 "นครสวรรค์เกมส์" เสี่ยวหลง (小龙 : xiaolong) เป็นมาสคอตประจำการแข่งขัน ความหมายคือ มังกรจีนหรือ หลง มังกรได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างกฎแห่งความใจบุญ และเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความมั่นใจ แสดงถึงพลังอำนาจและคุณงามความดี ความองอาจกล้าหาญ ความเป็นวีรบุรุษและความอุตสาหะพยายาม ความมีคุณธรรมอันสูงส่งและยิ่งใหญ่ดุจดั่งเทพเจ้า มังกรจีนนั้นไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรคขวากหนามใด ๆ จนกว่าจะทำในสิ่งที่ต้องการได้สำเร็จ มีความขยันขันแข็ง เด็ดขาด เฉลียวฉลาด มองโลกในแง่ดี และมีความทะเยอทะยาน มีลักษณะสวยงาม เป็นมิตร และมีความเฉลียวฉลาดคำขวัญสนามที่ใช้ในการแข่งขันสนามที่ใช้ในการแข่งขัน. - หมายเหตุ : จักรยานบีเอ็มเอ็กซ์ ใช้สนามแข่งขันจังหวัดชัยนาทการแข่งขันชนิดกีฬาที่ใช้ในการแข่งขัน การแข่งขัน. ชนิดกีฬาที่ใช้ในการแข่งขัน. การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 จัดแข่งขันทั้งสิ้น 43 ชนิดกีฬา ประกอบด้วย 42 กีฬาหลัก และ 1 กีฬาสาธิต ได้แก่- กรีฑา - กีฬาทางอากาศ - กอล์ฟ - กาบัดดี - คาราเต้ - จักรยาน - เซปักตะกร้อ - ซอฟท์เทนนิส - เทควันโด - เทนนิส - เทเบิลเทนนิส - เนตบอล - บาสเกตบอล - แบดมินตัน - ปันจักสีลัต - เอ็กซ์ตรีม - เปตอง - ฟุตบอล และฟุตซอล - ฟันดาบสากล - มวยไทย - มวยปล้ำ - มวยสากลสมัครเล่น - ยกน้ำหนัก - ยิงปืน - ยิมนาสติก - ยูโด - รักบี้ฟุตบอล - เรือพาย - ลีลาศ - วอลเลย์บอล - ว่ายน้ำ - ฟันดาบไทย - โบว์ลิ่ง - ยิงธนู - วู้ดบอล - บิลเลียดและสนุกเกอร์ - หมากล้อม - ฮอกกี้ - แฮนด์บอล - ชักเย่อ - ซอฟท์บอล - เพาะกาย - หมากรุกไทย (กีฬาสาธิต)จังหวัดที่เข้าร่วมการแข่งขันสรุปเหรียญรางวัล
การแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 44 ของไทยจัดขึ้นที่จังหวัดใด
3611
{ "answer_end": [ 112 ], "answer_start": [ 103 ], "text": [ "แบดมินตัน" ] }
347900
สุดเขต ประภากมล ร้อยตำรวจตรี สุดเขต ประภากมล (ชื่อเล่น: เต่า; เกิด: 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523) เป็นนักกีฬาแบดมินตันชายจากประเทศไทยได้เข้าร่วมการแข่งขันแบดมินตันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ประเภทชายคู่กับภัททพล เงินศรีสุข ตกรอบใน 32 คู่สุดท้าย โดยเจอกับคู่ของแอนโทนี คลาร์ก และนาธาน โรเบิร์ตสัน จากสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ ยังได้ลงแข่งขันในประเภทคู่ผสมกับสราลีย์ ทุ่งทองคำ โดยชนะบายในรอบแรกแต่พ่ายให้แก่คู่ของเฟรดริก เบิร์กสเตริม และโจฮันนา เพียร์สสัน ในรอบ 16 ทีมสุดท้าย เขายังได้ลงแข่งขันในโทมัสคัพ 2008 คู่กับทรงพล อนุกฤตยาวรรณ แต่ไปพ่ายในรอบก่อนรองชนะเลิศเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2552 - จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)รางวัลที่ได้รับรางวัลที่ได้รับ. - พ.ศ. 2555 รางวัลนักกีฬาดีเด่น สยามกีฬาอวอร์ดส์ ครั้งที่ 6
สุดเขต ประภากมล เป็นนักกีฬาประเภทใด
3612
{ "answer_end": [ 179 ], "answer_start": [ 169 ], "text": [ "ออสเตรเลีย" ] }
678974
นางงามจักรวาล 1979 นางงามจักรวาล 1979 () เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 28 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 ณ Perth Entertainment Centre, เพิร์ธ, ประเทศออสเตรเลีย ในปีนี้มีผู้เข้าประกวด 75 คน จากทั่วโลก โดยมี มาร์กาเรต การ์ดิเนอร์ นางงามจักรวาลปี 1978 เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ มาริทซา ซายาเลโร สาวงามวัย 18 ปีจากประเทศเวเนซูเอลา เป็นผู้ครองตำแหน่งนางงามจักรวาลประจำปีนี้ผลการประกวดลำดับที่คะแนนในรอบตัดสินคะแนนในรอบชุดว่ายน้ำ(รอบก่อนวันตัดสิน)ผลการประกวด. คะแนนในรอบชุดว่ายน้ำ(รอบก่อนวันตัดสิน). - 8.673 เวเนซุเอลา - 8.382 อังกฤษ - 8.218 แอฟริกาใต้ - 7.936 เบลีซ - 7.899 สวีเดน - 7.791 เวลส์ - 7.773 บราซิล - 7.600 อุรุกวัย - 7.591 สิงคโปร์ - 7.582 ออสเตรีย - 7.564 สกอตแลนด์ - 7.536 เยอรมนี - 7.491 ฮอลแลนด์ - 7.455 โปรตุเกส - 7.445 เบอร์มิวดา - 7.418 เรอูว์นียง - 7.418 สเปน - 7.409 เปรู - 7.400 สวิตเซอร์แลนด์- 7.373 สหรัฐอเมริกา - 7.173 ฝรั่งเศส - 7.141 ฮ่องกง - 7.127 ออสเตรเลีย - 7.127 เซนต์วินเซนต์ - 7.077 ฟินแลนด์ - 6.991 เดนมาร์ก - 6.945 โคลอมเบีย - 6.936 อาร์เจนตินา - 6.873 คอสตาริกา - 6.845 เม็กซิโก - 6.818 แคนาดา - 6.809 โบพูทัตสวานา - 6.800 ญี่ปุ่น - 6.736 สาธารณรัฐโดมินิกัน - 6.727 นิวซีแลนด์ - 6.718 ไอร์แลนด์ - 6.718 ศรีลังกา - 6.655 มอลตา- 6.636 นอร์เวย์ - 6.627 ชิลี - 6.563 ตรินิแดดและโตเบโก - 6.555 บาร์เบโดส - 6.545 อิสราเอล - 6.545 เปอร์โตริโก - 6.536 ฮอนดูรัส - 6.518 มาเลเซีย - 6.473 ซูรินาม - 6.439 เกาหลีใต้ - 6.427 ฟิลิปปินส์ - 6.409 กัวเตมาลา - 6.309 ตุรกี - 6.291 ไทย - 6.286 ปารากวัย - 6.209 เบลเยียม - 6.155 โบลิเวีย - 6.127 กรีซ - 6.118 ไอซ์แลนด์- 6.109 กวม - 6.091 เอลซัลวาดอร์ - 6.082 อินเดีย - 6.068 อิตาลี - 6.064 อารูบา - 5.982 บาฮามาส - 5.882 ตาฮิตี - 5.791 เอกวาดอร์ - 5.727 ปานามา - 5.727 หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา - 5.641 หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา - 5.591 ทรานสไก - 5.582 แอนติกา - 5.582 ฟิจิ - 5.545 มอริเชียส - 5.364 หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน - 5.355 ปาปัวนิวกินีรางวัลพิเศษลำดับการประกาศชื่อ12 คนสุดท้ายลำดับการประกาศชื่อ. 12 คนสุดท้าย. 1. เวลส์ 2. เบอร์มิวดา 3. บราซิล 4. แอฟริกาใต้ 5. สหรัฐอเมริกา 6. เบลีซ 7. อาร์เจนตินา 8. อังกฤษ 9. เยอรมนี 10. สกอตแลนด์ 11. เวเนซุเอลา 12. สวีเดน5 คนสุดท้าย5 คนสุดท้าย. 1. เวเนซุเอลา 2. สวีเดน 3. เบอร์มิวดา 4. อังกฤษ 5. บราซิลคณะกรรมการ คณะกรรมการ. รายชื่อคณะกรรมการในวันตัดสิน ประกอบไปด้วย:- ไอตา บัททรอส - นักข่าว - ลานา แคนเทรลล์ - นักร้อง, นักแสดง - อีฟ คอร์นาสซิแอร์ - ศาสตราจารย์ทางด้านศิลปศาสตร์ - ดอน แกลโลเวย์ - นักแสดง - อาภัสรา หงสกุล - นางงามจักรวาล 1965 จากประเทศไทย - จูลีโอ อิเกลเซียส - นักร้อง, นักแต่งเพลง - โทนี มาร์ติน - นักร้อง, นักแสดง - โรบิน มัวร์ - นักเขียน - รอซซานา โพเดสตา - นักแสดง - แอนน์ มารี โพห์ทาโม - นางงามจักรวาล 1975 จากประเทศฟินแลนด์ - คอนแสตนซ์ ทาวเวอร์ส - นักแสดงผู้เข้าประกวด ผู้เข้าประกวด. ในปีนี้มีผู้เข้าประกวดทั้งหมด 75 คน ดังต่อไปนี้- – เอลซี เมย์นาร์ด - – เวอร์จีเนีย อัลวาเรซ - – ลูจีนา วิลเชส - – เคอร์รี ดันเดอร์เดล - – คาริน ซอร์น - – โลลิตา อัมบริสเตอร์ - – บาร์บารา แบรดชอว์ - – คริสติน เคลลิว - เบลีซ – ซารีตา อคอสตา - – จีนา สเวนสัน - – มาเรีน ลุยซา เรนดอน - โบพูทัตสวานา – อาลีนา เมเกตซี - – มาร์ธา ดา คอสตา - – เออร์ธา เฟอร์ดินานด์ - – ไฮดี ไควริง - – ซีซิเลีย เซอร์ราโน - – อนา มิเลนา พาร์รา เทอร์เบย์ - – คาร์ลา ฟาซิโอ - – โลเน จอร์เจนเซน - – อลิซาเบธ การ์เซีย - – มาร์กาเรตา พลาซา - – จูดิธ อีเวตต์ โลเปซ - – แคโรลีน ซีวอร์ด - – แทนยา ไวท์ไซด์ - – ไพวี อุอิตโต - – ซิลวี ปาเรรา - – แอนเดรีย ฮอนท์สชิค - – คาเทีย โควคิดูว - – มารี ครูซ - – มิเชล โดมิงเกวซ - – ยูนีซ บารัตซิงห์ - – จีนา มาเรีย เวดเนอร์ - – โอลีเวีย แชง - – ฮอลล์โดรา บยอร์ก ยอนส์ดอตตีร์ - – สวารูป ซัมปัต - – ลอร์เรนน์ โอ'คอนเนอร์ - – เวเรด โพลการ์ - – เอลวีรา พูกลิซี- – ยูริกะ คุโรดะ - – ซอ แจ-ฮวา - – ไอรีน หว่อง - – ไดแอน บอร์ก บาร์โตโล - – มารี อัลลาร์ด - – บลางกา มาเรีย ดิแอซ - – แอนเดรีย คาร์คี - – บาร์บารา ตอร์เรส - – อุนนี ออคแลนด์ - – ยาเฮล โดลานเด - – มอลลี มิสบุต - – แพทริเชีย ลอห์แมน - – แจกเกอรีน บราห์ม - – คริเซลดา ซีซิลิโอ - – มาร์ตา เดอ กูเวีย - – เทเรซา โลเปซ - – อิซาเบลล์ แจคมาร์ท - – เชอรีล ชาเดอร์ตัน - – จูน เดอ โนบรีกา - – ลอร์เรนน์ เดวิดสัน - – อีเลนน์ แทน - – เวโรนิกา วิลสัน - – กลอเรีย มาเรีย วาเลนเซียโน - – วิดยาฮารี วานิกาสุริยา - – เซอร์จีน ลิวอาเลน - – แอนเนตต์ เอคสตอร์ม - – เบอร์จิต คราห์ล - – ฟาเบียนน์ ตาปาเร - – วงเดือน เกิดพุ่ม - – ลินดิเว แบม - – มารี โนเอลล์ ดิแอซ - – ฟูซิน เดอร์มิแทน - – อลิซาเบธ บุสตี - – แมรี เทอรีส ฟรีเอล - – ลินดา ตอร์เรส - – มาริทซา ซายาเลโร - – เบเวอร์ลี ฮอบสันรายละเอียดของการประกวดรายละเอียดของการประกวด. - ได้รับตำแหน่งนางงามจักรวาลเป็นคนแรกของประเทศ- ประเทศที่ผ่านเข้ารอบในปีที่แล้วด้วย ได้แก่ , , และ - , , และ ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1977 - และ ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1976 - ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1975 - เบลีซ และ ผ่านเข้ารอบในการประกวดได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์- ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน - ได้ตำแหน่งรองอันดับ 4 เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน- ชนะรางวัล นางงามมิตรภาพ เป็นครั้งที่สาม - ชนะรางวัล ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม เป็นครั้งแรก - ชนะรางวัล ขวัญใจช่างภาพ เป็นครั้งที่สี่- ในปีนี้ได้เกิดอุบัติเหตุหลังจากการประกาศผลนางงามจักรวาลคนใหม่แล้ว บรรดาเพื่อนนางงามต่างร่วมกันขึ้นมาแสดงความยินดีกับนางงามจักรวาลคนใหม่ รวมไปถึงช่างภาพที่รุมกันขึ้นมาบนเวทีเพื่อถ่ายภาพทำให้เวทีนั้นเกิดพังถล่มลง ส่งผลให้นางงามและช่างภาพบางส่วนได้ตกลงไปและบาดเจ็บ อย่างไรก็ตามเนื่องจากทางสถานีโทรทัศน์ได้จบการถ่ายทอดการประกวดไปแล้ว ทำให้อุบัติเหตุในครั้งนี้ไม่ได้ถูกออกอากาศออกไป
การประกวดนางงามจักรวาลปี 1979 จัดขึ้นที่ประเทศใด
3613
{ "answer_end": [ 56 ], "answer_start": [ 53 ], "text": [ "แดง" ] }
314335
ธงชาติตูนีเซีย ธงชาติตูนิเซีย () มีลักษณะเป็นธงพื้นสีแดง ที่กลางธงเป็นรูปวงกลมสีขาว ภายในบรรจุรูปเดือนเสี้ยวสีแดงคร่อมดาวห้าแฉกสีแดงดวงหนึ่ง อัล-ฮุสเซนที่ 2 อิบน์ มาห์มุด เบย์แห่งตูนิส (Bey of Tunis) ได้ตัดสินพระทัยที่จะกำหนดธงชาติสำหรับดินแดนตูนิสขึ้นหลังสิ้นสุดการรบที่นาวาริโนในวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1827 และได้รับการยอมรับเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1831 หรือ ค.ศ. 1835 ธงดังกล่าวนี้ยังคงเป็นธงชาติของตูนีเซียสืบมาแม้ในยามที่ประเทศตกเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส และได้รับการยืนยันในฐานะธงชาติของสาธารณรัฐตูนีเซียเมื่อมีการลงนามในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1959 ทว่าแบบและสัดส่วนมาตรฐานของธงได้กำหนดอย่างชัดเจนในภายหลัง ตามกฎหมายธงซึ่งประกาศเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1999 รูปดาวและเดือนเสี้ยวเป็นเครื่องหมายระลึกถึงธงของออตโตมาน และเป็นเครื่องบ่งชี้ทางประวัติศาสตร์ว่าตูนีเซียเคยเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมาน
ธงชาติตูนิเซียมีลักษณะเป็นธงพื้นสีอะไร
3614
{ "answer_end": [ 202 ], "answer_start": [ 194 ], "text": [ "ฝรั่งเศส" ] }
767491
แคว้นนอร์ม็องดี นอร์ม็องดี (; นอร์มัน: ; มาจากคำภาษาฝรั่งเศสเก่าว่า รูปพหูพจน์ของ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำที่แปลว่า "คนจากทางเหนือ" ในภาษาแถบสแกนดิเนเวียหลายภาษา) เป็นหนึ่งในแคว้น 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส มีอาณาบริเวณสอดคล้องกับดัชชีนอร์ม็องดีในอดีต ในทางบริหาร แคว้นนอร์ม็องดีแบ่งออกเป็น 5 จังหวัด ได้แก่ กาลวาโดส, แซน-มารีตีม, ม็องช์, ออร์น และเออร์ ครอบคลุมเนื้อที่ 30,627 ตารางกิโลเมตร (11,825 ตารางไมล์) คิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของดินแดนฝรั่งเศสทั้งหมด จำนวนประชากรของแคว้น 3.3 ล้านคนคิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของประชากรฝรั่งเศสทั้งหมด ภูมิภาคนอร์ม็องดีตามประวัติศาสตร์ประกอบด้วยแคว้นนอร์ม็องดีในปัจจุบัน รวมกับพื้นที่เล็ก ๆ ซึ่งทุกวันนี้เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดมาแยนและจังหวัดซาร์ตในแคว้นเปอีเดอลาลัวร์ หมู่เกาะแชนเนล (ฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่เรียกว่า "หมู่เกาะอังกฤษ-นอร์ม็องดี") ในอดีตก็เป็นส่วนหนึ่งของนอร์ม็องดีเช่นกัน หมู่เกาะนี้มีเนื้อที่ 194 ตารางกิโลเมตร และประกอบด้วยเขตเจ้าพนักงานศาลสองแห่ง ได้แก่ เกิร์นซีย์และเจอร์ซีย์ ซึ่งเป็นเขตสังกัดราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ชื่อนอร์ม็องดีมีที่มาจากการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ของชาวไวกิงหรือ "คนเหนือ" จากนอร์เวย์และเดนมาร์กตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 (คริสต์ศตวรรษที่ 9) ซึ่งได้รับการยืนยันโดยสนธิสัญญาในพุทธศตวรรษที่ 15 (คริสต์ศตวรรษที่ 10) ระหว่างพระเจ้าชาร์ลที่ 3 แห่งฝรั่งเศส กับรอลโลแห่งอาณาจักรเมอเรอ (ในนอร์เวย์ปัจจุบัน) หลังจากการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันในปี พ.ศ. 1609 (ค.ศ. 1066) นอร์ม็องดีและอังกฤษก็มีความเกี่ยวดองกันผ่านทางผู้ปกครองชาวนอร์มันและชาวแฟรงก์อยู่หนึ่งศตวรรษครึ่ง ระหว่างปี พ.ศ. 2499–2558 นอร์ม็องดีถูกแบ่งออกเป็น 2 แคว้นการปกครอง ได้แก่ บัส-นอร์ม็องดี (นอร์ม็องดีตอนล่าง) และโอต-นอร์ม็องดี (นอร์ม็องดีตอนบน) แคว้นทั้งสองถูกยุบรวมเป็นแคว้นเดียวเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559
นอร์ม็องดีเป็นหนึ่งในแคว้นของประเทศใดในทวีปยุโรป
3615
{ "answer_end": [ 54 ], "answer_start": [ 35 ], "text": [ "บิวตีแอนด์เดอะบีสต์" ] }
306038
บิวตีแอนด์เดอะบีสต์ (เพลงดิสนีย์) "บิวตีแอนด์เดอะบีสต์" () คือบทเพลงที่ชนะเลิศรางวัลอะคาเดมีและเป็นเพลงนำของภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง โฉมงามกับเจ้าชายอสูร และเป็นซิงเกิลแรกของเซลีน ดิออนจากอัลบั้ม เซลีนดิออน ซึ่งฉบับการขับร้องในภาพยนตร์เป็นผลงานของแอนเจลา แลนส์บูรีและฉบับขับร้องใหม่ในรายชื่อเครดิตของตอนหลังในภาพยนตร์นั้นเป็นผลงานของเซลีน ดิออนและพีโบ ไบรสัน ซึ่งในฉบับของทั้งสองออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ในสหรัฐอเมริกาและในปีถัดไปทั่วโลก บทเพลงบัลลาดนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างเบลลาและเจ้าชายอสูร เป็นผลงานการประพันธ์ของอลัน เม็นเค็นในส่วนของการเรียบเรียงดนตรีและโฮวาร์ด แอชแมนในส่วนของเนื้อเพลง ซึ่งเป็นหนึ่งในเพลงสุดท้ายของแอชแมนก่อนเขาตายด้วยโรคเอดส์ในปี พ.ศ. 2534
บทเพลงใดที่ชนะเลิศรางวัลอะคาเดมีและเป็นเพลงนำของภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง โฉมงามกับเจ้าชายอสูร
3616
{ "answer_end": [ 2816 ], "answer_start": [ 2812 ], "text": [ "2550" ] }
106889
เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ชื่อเล่น พลอย (15 กันยายน พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย เป็นน้องสาวของดารัณ บุญยศักดิ์ อดีตนักแสดง มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงจากละครเรื่อง ระบำดวงดาว ขุนศึก มาดามดัน สามีตีตรา และภาพยนตร์เรื่อง บุปผาราตรี รักแห่งสยาม ชั่วฟ้าดินสลาย สี่แพร่ง และคิดถึงวิทยาชีวิตในวัยเด็ก ชีวิตในวัยเด็ก. เฌอมาลย์เป็นบุตรสาวของพลเรือตรี สิริศักดิ์ บุญยศักดิ์ กับธัญดา นิลภิรมย์ (ชื่อเดิม: จิราภรณ์) มีพี่สาวร่วมบิดามารดาคือดารัณ บุญยศักดิ์ (ชื่อเดิม: สินิทธา) เฌอมาลย์จบการศึกษาระดับประถมศึกษาโรงเรียนเซนต์โยเซฟระยอง จังหวัดระยอง ต่อมาได้ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนโยนออฟอาร์ค กรุงเทพมหานคร และมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ระดับปริญญาตรีคณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น จังหวัดตาก ในวัยเยาว์เธอเคยเปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ครั้นจำเริญวัยขึ้นจึงหันไปนับถือศาสนาพุทธ ซึ่งช่วงต้นปี พ.ศ. 2555 เธอกล่าวถึงทัศนคติที่มีต่อศาสนาว่า "พลอยเป็นคนที่นับถือศาสนาพุทธ แต่นับถือศาสนาคริสต์ด้วยครึ่งหนึ่ง ซึ่งพลอยจะขอเชื่อในสิ่งที่พระพุทธเจ้าสอนเท่านั้น พลอยไม่เชื่อเรื่องดวง พลอยเป็นคนที่เชื่อในตัวเองมากกว่า..." แต่ภายในปี พ.ศ. 2555 นั้นเองเธอได้หันไปนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์วงการบันเทิง วงการบันเทิง. เฌอมาลย์เริ่มเข้าวงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 23 ในละครเรื่อง เงาราหู รับบทเป็นนางเอกวัยเด็ก ซึ่งเรื่องนี้ ดารัณ บุญยศักดิ์พี่สาวแท้ ๆ ของเธอแสดงเป็นนางเอกคู่กับพีท ทองเจือ และลงนามสัญญาเป็นนักแสดงช่องสามในปี พ.ศ. 2549 ในปี พ.ศ. 2550 เฌอมาลย์แสดงในภาพยนตร์เรื่อง รักแห่งสยาม ในบท จูน และ แตง ซึ่งจากบทบาทนี้ทำให้เธอได้รับรางวัลผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากหลายเวทีอย่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17, รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 16 และ สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2007 ครั้งที่ 6 ในปี พ.ศ. 2551 เฌอมาลย์ได้เป็นส่วนหนึ่งของการแสดงภาพยนตร์สี่แพร่ง ในตอนเที่ยวบิน 224 ในบทพิม โดยได้รับรางวัลเฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 6 สาขานักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี ในปี พ.ศ. 2553 เฌอมาลย์แสดงในภาพยนตร์เรื่อง ชั่วฟ้าดินสลาย คู่กับ อนันดา เอเวอริ่งแฮม กำกับโดย หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล และในปีถัดมาก็แสดงในภาพยนตร์เรื่อง อุโมงค์ผาเมือง โดยแสดงคู่กับอนันดา และกำกับโดยหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพเช่นเดิม ในปี พ.ศ. 2557 เฌอมาลย์เป็นเมนเทอร์ 1 ใน 3 คนของรายการ เดอะเฟซไทยแลนด์ ซีซัน 1 ในปีเดียวกัน เธอยังได้รับบท กั้ง ในละครเรื่อง สามีตีตรา ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในขณะนั้น และรับบท ครูแอน ในภาพยนตร์โรแมนติกเรื่อง คิดถึงวิทยา ในปี พ.ศ. 2560 เฌอมาลย์หมดสัญญาการเป็นนักแสดงกับสถานีโทรทัศน์วิทยุไทยทีวีสีช่องสาม ในวันที่ 17 พฤษภาคม เธอให้สัมภาษณ์ว่าตนเองนั้นจะเป็นนักแสดงอิสระอย่างถาวรชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. เฌอมาลย์ได้เปลี่ยนชื่อจริงเป็นไลลา บุญยศักดิ์ จากความประสงค์ของมารดา และเคยใช้ชื่อดังกล่าวในวงการพักหนึ่งแต่ไม่ชอบ ภายหลังจึงใช้ชื่อในการแสดงว่าเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ส่วนชื่อในบัตรประชาชนยังคงชื่อไลลา บุญยศักดิ์ตามเดิม เฌอมาลย์เคยคบหาณัฐเศรษฐ์ พูนทรัพย์มณี ต่อมาได้คบกับปกรณ์ ลัม นานถึง 4 ปี แล้วเลิกราในปี พ.ศ. 2550 ต่อมาได้คบหากับนาวิน เยาวพลกุล ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2554-2556 และต่อมาได้คบหากับจอห์น ชาวจีน-อิตาลี และเลิกคบหาในปี พ.ศ. 2559การวิพากษ์วิจารณ์ การวิพากษ์วิจารณ์. ในปี พ.ศ. 2555 เฌอมาลย์ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากจากกรณีการหนีภาษี หลังจากที่ใช้บัตรประชาชนของผู้อื่นมารับค่าตอบแทนเพื่อเลี่ยงการจ่ายภาษีในส่วนเกิน จากข่าวฉาวเกี่ยวกับการพูดโดยไม่คิดและการหนีภาษี สื่อมวลชนจึงตั้งฉายาให้กับเธอสำหรับปีนั้นว่า "ปากปลาร้าหน้าเป๊ะ" เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เฌอมาลย์ได้อัปโหลดภาพบนอินสตาแกรมส่วนตัวของเธอ โดยเป็นรูปนิ้วกลางจิ้มเข้าไปในเค้ก บรรยายรูปว่า "สุขสันต์วันเกิดขอผลบุญให้ตาสว่าง เลิกหูเบา เลิกพูดจาให้ร้ายผู้อื่น ขอให้มีความสุขกับชีวิตที่เหลืออยู่อย่างมีความสุขความเจริญไร้ความริษยาอิจฉา รักษาคำพูด โชคดีนะ" ทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในสังคมออนไลน์ ต่อมาเธอได้ให้การสัมภาษณ์กับนักข่าวถึงเรื่องนี้ว่าเธอหมายถึงคุณยายข้างบ้าน ก่อนจะยอมรับโพสต์รูปดังกล่าวเพราะเสียใจที่คนที่เธอให้ความเคารพนั้นหูเบา แถมยังมาบอกกับคนที่เธอสนิทด้วยว่าให้ระวังเธอ เพราะเธอชอบแย่งแฟนของเพื่อนสนิท ในปี พ.ศ. 2557 สื่อมวลชนจำนวนหนึ่งรวมตัวไม่ทำข่าวเกี่ยวกับเธอ เนื่องจากเธอนั้นได้ดึงแขนนักข่าวบันเทิงรายหนึ่งระหว่างให้สัมภาษณ์ เพราะไม่พอใจกับคำถามที่ยุแยงให้เกิดความขัดแย้ง ทั้งยังยืนกรานว่าเธอไม่ใช่คนผิด และไม่ยอมขอโทษผลงานละครโทรทัศน์ละครโทรทัศน์ในฐานะนักแสดงอิสระภาพยนตร์เพลงผลงาน. เพลง. - ทะเลแห่งฝัน ร่วมกับ ดารัณ บุญยศักดิ์คอนเสิร์ตคอนเสิร์ต. - ซุปตาร์ ON STAGE 17TH POLYPLUS CONCERT (2555) - GTH DAY:PLAY IT FORWARD (2556)รายการรายการ. - The Face Thailand season 1- The Face Thailand season 4 All starsรางวัลรางวัล. - รางวัล "Thailand People Awards For International Film" จากงาน Thailand International Film Destination Festival 2014 (2557) - รางวัลดาราหญิงแห่งปี จากงาน Thailand Zocial Awards 2014 (2557) - รางวัลดาวเมขลา ครั้งที่ 2 สาขานางเอกสุดร้อนแรงแห่งปี (2557) - รางวัลนักแสดงนำหญิงยอดนิยม Popular Vote จากงาน รางวัลสยามดาราสตาร์อวอร์ด 2014- 1 ใน 5 ผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง คิดถึงวิทยา จากงาน รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่24 - 1 ใน 5 รางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากละคร สามีตีตรา จากงาน รางวัลสยามดาราสตาร์อวอร์ด 2014 - เข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 29 สาขาดารานำหญิงดีเด่น จากละคร สามีตีตรา - 1 ใน 5 รางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากละคร สามีตีตรา จากงาน คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12 - 1 ใน 5 รางวัลนักแสดงหญิงยอดนิยม จากละคร สามีตีตรา จากงาน คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12
เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ เลิกกับโดม ปกรณ์ ลัม เมื่อปี พ.ศ. ใด
3617
{ "answer_end": [ 32 ], "answer_start": [ 27 ], "text": [ "ดวงตา" ] }
133404
ต้อหิน ต้อหิน () เป็นโรคที่ดวงตามองไม่เห็น เกิดจากการคั่งของน้ำภายในตา จึงทำให้ความดันตาสูงขึ้นและกดทำลายประสาทตาทีละน้อย โดยที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บปวด พบมากในผู้สูงอายุ โดยปกติคนวัย 65 ปีขึ้นไป จะเกิดโรคต้อหินได้ประมาณ 1 ในทุก 20 คน โรคต้อหินเป็นสาเหตุตาบอดอันดับที่สองของโลก โรคต้อหินพบทั่วโลกถึง 70 ล้านคน และประมาณ 10% ของผู้ป่วยหรือประมาณ 6.7 ล้านคน ต้องตาบอด หรือสูญเสียการมองเห็นอย่างสิ้นเชิง ในประเทศไทยมีผู้ป่วยประมาณ 2.5-3.8% หรือคิดเป็นจำนวนผู้ป่วยประมาณ 1.7-2.4 ล้านคน เมื่อไปตรวจตาถ้าความดันลูกตาเกิน 20.0 มิลลิเมตรปรอท มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นต้อหิน
ต้อหินเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับอวัยวะใดในร่างกาย
3618
{ "answer_end": [ 155 ], "answer_start": [ 142 ], "text": [ "กำแพงเมืองจีน" ] }
488628
ถวัลย์ วงศ์เทเวศร์ ถวัลย์ วงศ์เทเวศร์ หรือนายนิด พุ่มไสว เกิดเมื่อ พ.ศ. 2461 ที่กรุงเทพฯ เป็นนักมวยที่มีชื่อเสียงด้านความทรหดอดทน จนได้ฉายาว่ากำแพงเมืองจีนประวัติ ประวัติ. ถวัลย์เป็นนักมวยไทยที่โด่งดังสมัยเวทีหลักเมืองและเวทีสวนเจ้าเชตุ เคยชกกับนักมวยดังในยุคนั้นมาแล้วหลายคน เช่น สุข ปราสาทหินพิมาย ผล พระประแดง ประเสริฐ ส.ส. ประยุทธ อุดมศักดิ์ จนเมื่อตั้งเวทีราชดำเนินขึ้น ถวัลย์ก็ได้ชกทั้งมวยไทยและมวยสากล เมื่อวีนที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2489 ถวัลย์ได้ขึ้นชกมวยสากลกับแดนนี่ บอย นักมวยสากลชาวอังกฤษ ซึ่งถวัลย์เป็นฝ่ายชนะน็อคในยกที่ 4 จากนั้นชกมวยไทยแพ้ประเสริฐ ส.ส. และชนะน็อคถวิล เทียมกำแหง ยก 4 จนกระทั่งในเดือนเมษายน พ.ศ. 2490 จึงขึ้นชกมวยไทยกับสุข ปราสาทหินพิมาย การชกเป็นไปอย่างดุเดือด ก่อนที่ถวัลย์จะเป็นฝ่ายแพ้คะแนนไป หลังจากนั้น ถวัลย์ขึ้นชกมวยสากลชนะน็อค จิมมี่ เบิร์ด ยก 3 แล้วชกแก้มือกับสุขอีกครั้ง แต่เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปอีก หลังจากชกแพ้สุขในครั้งนั้น ถวัลย์หยุดชกมวย ไปอุปสมบทเป็นพระภิกษุอยู่ช่วงหนึ่ง หลังจากลาสิกขาแล้วก็ขึ้นชกมวยสากลกับสมพงษ์ เวชสิทธิ์ การชกเป็นไปอย่างสูสี ก่อนที่ครบยกแล้วถวัลย์เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไป หลังจากการชกครั้งนี้ การชกของถวัลย์เริ่มแย่ลง ชกแพ้บ่อยครั้ง ไปชกมวยสากลที่สิงคโปร์ก็แพ้น็อค เฟรซซี่ เซบาสเตียน กลับมาชกมวยสากลในไทยก็แพ้คะแนนประเสริฐ ส.ส. และเมื่อสมเดช ยนตรกิจขึ้นชกมวยสากลเป็นครั้งแรก ก็เลือกชกกับถวัลย์ และเป็นฝ่ายชนะน็อคถวัลย์แค่ยก 2 ถวัลย์ขึ้นชกมวยสากลครั้งสุดท้ายเมื่อ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2494 ในแบบมวยไทย โดยเป็นฝ่ายแพ้น็อคประยุทธ อุดมศักดิ์ ยก 5 หลังจากนั้น ถวัลย์หันมาเป็นเทรนเนอร์ให้กับค่ายวงศ์เทเวศร์ จนค่ายปิดตัวไป จึงไปทำงานที่โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง จนเสียชีวิตด้วยโรคฝีในตับเมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2519 รวมอายุได้ 58 ปี
นักมวยชาวไทย ถวัลย์ วงศ์เทเวศร์ มีฉายาว่าอะไร
3619
{ "answer_end": [ 391 ], "answer_start": [ 390 ], "text": [ "3" ] }
749
ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และเป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 3 สมัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ อีกหลายสมัย เป็นผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง และเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบัน คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปรีดีเป็นผู้นำขบวนการเสรีไทยต่อต้านกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ทำให้ประเทศไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม นอกจากนี้เขายังได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในรัชกาลที่ 8 และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องในฐานะ "รัฐบุรุษอาวุโส" ปรีดีต้องยุติบทบาททางการเมืองหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล โดยถูกกล่าวหาจากพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ดังกล่าว ต่อมาเกิดการรัฐประหาร พ.ศ. 2490 เป็นเหตุให้เขาต้องลี้ภัยการเมืองไปยังประเทศจีนและฝรั่งเศสรวมระยะเวลากว่า 30 ปี และไม่ได้กลับสู่ประเทศไทยอีกเลยจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ระหว่างที่ลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ปรีดีได้ฟ้องร้องผู้ใส่ความหมิ่นประมาทต่อศาลยุติธรรม ผลปรากฏว่าศาลตัดสินให้ชนะทุกคดี และยังได้รับความรับรองจากทางราชการตลอดจนเงินบำนาญและหนังสือเดินทางของไทย ใน พ.ศ. 2542 ที่ประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 30 ขององค์การยูเนสโก ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ได้มีมติประกาศให้ปรีดี พนมยงค์ เป็น "บุคคลสำคัญของโลก" และได้ร่วมเฉลิมฉลองในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาลของเขา ระหว่าง พ.ศ. 2543–พ.ศ. 2544 นอกจากนี้นิตยสารเอเชียวีกยังได้เสนอชื่อของเขาเข้าชิงตำแหน่ง "Asian Of The Century" อีกด้วยประวัติ ประวัติ. ปรีดี พนมยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ณ เรือนแพหน้าวัดพนมยงค์ ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในครอบครัวชาวนาไทย เป็นบุตรคนที่ 2 จากจำนวนพี่น้อง 6 คน ของนายเสียง และนางลูกจันทน์ พนมยงค์ บรรพบุรุษของปรีดีตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้วัดพนมยงค์มาเป็นเวลาช้านาน โดยที่บรรพบุรุษข้างบิดานั้นสืบเชื้อสายมาจากพระนมในสมัยอาณาจักรอยุธยา ชื่อ "ประยงค์" พระนมประยงค์เป็นผู้สร้างวัดในที่สวนของตัวเอง โดยตั้งชื่อวัดตามผู้สร้างว่า วัดพระนมยงค์ หรือ วัดพนมยงค์ กาลเวลาล่วงเลยมาจนเมื่อมีการประกาศพระราชบัญญัติขนานนามสกุล พ.ศ. 2456 ทายาทจึงได้ใช้นามสกุลว่า "พนมยงค์" และได้อุปถัมภ์วัดนี้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน บรรพบุรุษรุ่นปู่-ย่าของปรีดีประกอบกิจการค้าขายมีฐานะเป็นคหบดีใหญ่ แต่นายเสียงบิดาของปรีดีเป็นคนชอบชีวิตอิสระไม่ชอบประกอบอาชีพค้าขายเจริญรอยตามบรรพบุรุษ จึงหันไปยึดอาชีพกสิกรรม เริ่มต้นด้วยการทำป่าไม้ และต่อมาได้ไปบุกเบิกถางพงร้างเพื่อจับจองที่ทำนาบริเวณทุ่งหลวง อำเภอวังน้อย แต่ก็ต้องประสบกับปัญหาภัยธรรมชาติ โขลงช้างป่า และแมลงที่มารบกวนทำลายต้นข้าวทำให้ผลผลิตออกมาไม่ดี ไม่สามารถขายข้าวได้ ซ้ำร้ายรัฐบาลได้ให้สัมปทานบริษัทขุดคลองแห่งหนึ่งขุดคลองผ่านที่ดินของนายเสียงและยังเรียกเก็บค่าขุดคลอง (ดูประวัติคลองรังสิต) ซึ่งบิดาของปรีดีต้องกู้เงินมาจ่ายเป็นค่ากรอกนาในอัตราไร่ละ 4 บาท แลกกับการได้ครอบครองที่ดินที่จับจองไว้จำนวน 200 ไร่ ทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวย่ำแย่ลงไปอีก ต้องอดทนเป็นหนี้สินอยู่หลายปี เหตุการณ์ครั้งนั้นยังทำให้ราษฎรผู้บุกเบิกจับจองที่ดินมาก่อนต้องสูญเสียที่ดินไปเป็นจำนวนมากและกลายเป็นชาวนาผู้เช่าที่ในที่สุด จากการเติบโตในครอบครัวชาวนานี้เอง ปรีดีจึงได้สัมผัสรับรู้เป็นอย่างดีถึงสภาพความเป็นอยู่และความทุกข์ยากของชนชั้นชาวนาทั้งหลายที่ฝากชีวิตไว้กับความไม่แน่นอนของดินฟ้าอากาศ ราคาพืชผลในตลาด และดอกเบี้ยของนายทุน นอกจากนี้ยังต้องพบกับการถูกเอารัดเอาเปรียบจากเจ้าที่ดินศักดินาที่กระทำผ่านการเก็บภาษีและการถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดิน ประสบการณ์เหล่านี้เป็นแรงกระตุ้นให้ปรีดีคิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศในเวลาต่อมา ปรีดีเมื่อครั้งเยาว์วัยเป็นเด็กหัวดี ช่างคิด ช่างสังเกตวิเคราะห์ และเริ่มมีความสนใจทางการเมืองมาตั้งแต่อายุเพียง 11 ปี จากเหตุการณ์ปฏิวัติในประเทศจีนที่นำโดย ซุน ยัตเซ็น และเหตุการณ์กบฏ ร.ศ. 130 ในสยาม ซึ่งปรีดีได้แสดงความเห็นอกเห็นใจอย่างมากต่อผู้ที่ถูกลงโทษในครั้งนั้น ถึงแม้ว่าปรีดีจะเกิดในครอบครัวชาวนา แต่บิดาของเขาก็เป็นผู้ใฝ่รู้และเล็งเห็นประโยชน์ของการศึกษา จึงสนับสนุนให้บุตรได้รับการศึกษาที่ดีมาโดยตลอด เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ซึ่งเป็นญาติผู้ใหญ่ฝ่ายภรรยาปรีดี ได้เคยกล่าวถึงนายเสียง พนมยงค์ ว่าการศึกษา การศึกษา. ปรีดีเริ่มเรียนหนังสือที่บ้านครูแสง ตำบลท่าวาสุกรี และสำเร็จการศึกษาในระดับประถมที่โรงเรียนวัดศาลาปูน อำเภอกรุงเก่า จากนั้นไปศึกษาชั้นมัธยมเตรียมที่โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร แล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลกรุงเก่า (ปัจจุบันคือ โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย) จนสอบไล่ได้ชั้นมัธยม 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดสำหรับหัวเมือง แล้วไปศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ใน พ.ศ. 2460 เข้าศึกษาที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม และศึกษาภาษาฝรั่งเศสที่เนติบัณฑิตยสภา กับอาจารย์เลเดแกร์ (E.Ladeker) ที่ปรึกษาศาลต่างประเทศกระทรวงยุติธรรม ต่อมาสอบไล่วิชากฎหมายชั้นเนติบัณฑิตได้ในขณะมีอายุ 19 ปี แต่ตามข้อบังคับสมัยนั้นยังเป็นเนติบัณฑิตไม่ได้เพราะอายุยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ ต้องรอจนอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์จึงได้เป็นสมาชิกสามัญแห่งเนติบัณฑิตยสภา ต่อมาได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงยุติธรรมให้ทุนไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส ใน พ.ศ. 2463 โดยเข้าศึกษาวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยกอง (Université de Caen) จนสอบไล่ได้ปริญญารัฐเป็น "บาเชอลิเอร์" กฎหมาย (bachelier en droit) และได้ปริญญารัฐเป็น "ลิซองซิเอ" กฎหมาย (Licencié en Droit) ตามลำดับ ปรีดีสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปารีส พ.ศ. 2469 ด้วยคะแนนเกียรตินิยมดีมาก (trés bien) นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ปริญญาเอกแห่งรัฐ (doctorat d'état) เป็น "ดุษฎีบัณฑิตกฎหมาย" (docteur en droit) ฝ่ายนิติศาสตร์ (sciences juridiques) นอกจากนี้เขายังสอบไล่ได้ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูงในสาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง (diplôme d'études supérieures d'économie politique) อีกด้วยการสมรสและครอบครัว การสมรสและครอบครัว. ปรีดีสมรสกับ พูนศุข ณ ป้อมเพชร์ ธิดา มหาอำมาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร) กับ คุณหญิงเพ็ง ชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (สุวรรณศร) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 มีบุตร-ธิดาด้วยกันทั้งหมด 6 คน คือ1. นางสาวลลิตา พนมยงค์ (ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) 2. นายปาล พนมยงค์ สมรสกับ นางเลิศศรี พนมยงค์ (จตุรพฤกษ์) 3. นางสาวสุดา พนมยงค์ 4. นายศุขปรีดา พนมยงค์ สมรสกับ นางจีรวรรณ พนมยงค์ (วรดิลก) 5. นางดุษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล สมรสกับ นายชาญ บุญทัศนกุล 6. นางวาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ สมรสกับ นายสุรพันธ์ สายประดิษฐ์หน้าที่การงานก่อนเข้าสู่การเมือง หน้าที่การงานก่อนเข้าสู่การเมือง. เมื่อกลับถึงกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2470 ปรีดีเริ่มทำงานในตำแหน่งผู้พิพากษาประจำกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเลขานุการกรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา) และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงประดิษฐ์มนูธรรม" เมื่อ พ.ศ. 2471 ขณะมีอายุ 28 ปี ต่อมาใน พ.ศ. 2475 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกรมร่างกฎหมาย (ต่อมาได้ลาออกจากบรรดาศักดิ์พร้อมกับคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 ใน พ.ศ. 2485 และกลับไปใช้ชื่อเดิมคือ นายปรีดี พนมยงค์) ในช่วงที่รับราชการในกระทรวงยุติธรรมนี้ ปรีดีได้รวบรวมกฎหมายไทยตั้งแต่แรกจนถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ในสภาพกระจัดกระจายให้มารวมเป็นเล่มเดียว ใช้ชื่อว่า “ประชุมกฎหมายไทย” และได้รับการตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2473 ที่โรงพิมพ์นิติสาสน์ซึ่งเป็นกิจการส่วนตัวของเขาเอง หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยมและสร้างรายได้ให้แก่ปรีดีเป็นอย่างมาก นอกจากงานที่กรมร่างกฎหมายแล้ว ปรีดียังเป็นอาจารย์ผู้สอนที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ในชั้นแรกได้สอนวิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ว่าด้วยลักษณะหุ้นส่วน บริษัทและสมาคม ต่อมาได้สอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล ลูกศิษย์ของเขาในช่วงดังกล่าวนี้ได้แก่ สัญญา ธรรมศักดิ์ จิตติ ติงศภัทิย์ ดิเรก ชัยนาม เสริม วินิจฉัยกุล เสวต เปี่ยมพงศ์สานต์ ไพโรจน์ ชัยนาม จินดา ชัยรัตน์ โชติ สุวรรณโพธิ์ศรี และศิริ สันตะบุตร ใน พ.ศ. 2474 ปรีดีเป็นคนแรกที่เริ่มสอนวิชากฎหมายปกครอง (Droit Administratif) กล่าวกันว่าวิชากฎหมายปกครองนี้ เป็นวิชาที่สร้างชื่อเสียงแก่ปรีดีเป็นอย่างมาก เพราะสาระของวิชานี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชากฎหมายมหาชน ซึ่งอธิบายถึงหลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยอันเป็นหัวใจของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในขณะที่ประเทศไทยยังคงปกครองอยู่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในขณะเดียวกัน ก็ได้อาศัยการสอนที่โรงเรียนดังกล่าว ปลุกจิตสำนึกนักศึกษาให้สนใจเป็นขั้น ๆ ถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนระบบการปกครองจากระบบเดิมให้เป็นระบบราชาธิปไตยภายใต้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินประชาธิปไตย นอกจากนี้ยังได้เปิดอบรมทบทวนวิชากฎหมายที่บ้านถนนสีลมเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์กับนักศึกษาให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น จึงมีลูกศิษย์ลูกหาเข้าร่วมเป็นสมาชิกและผู้สนับสนุนคณะราษฎรในเวลาต่อมาหลายคนบทบาททางการเมืองก่อนสงครามโลกครั้งที่สองการเปลี่ยนแปลงการปกครอง บทบาททางการเมืองก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง. ในขณะที่อยู่ในประเทศฝรั่งเศส ปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับเพื่อนอีก 6 คน ประชุมอย่างเป็นทางการครั้งแรกเพื่อก่อตั้ง "คณะราษฎร" เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 ณ หอพักแห่งหนึ่งย่าน "Rue Du Sommerard" กรุงปารีส ผู้ร่วมประชุมประกอบด้วย ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี, ร.ท.แปลก ขิตตะสังคะ, ร.ต.ทัศนัย มิตรภักดี, ภก.ตั้ว ลพานุกรม, หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี), นายแนบ พหลโยธิน โดยมีวัตถุประสงค์คือ เปลี่ยนการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และการดำเนินเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการ คือ1. จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในทางการเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศไว้ให้มั่นคง 2. จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก 3. จะต้องบำรุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะจัดหางานให้ราษฎรทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก 4. จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน ไม่ใช่ให้พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที่เป็นอยู่ 5. จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการดังกล่าวข้างต้น 6. จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ปรีดีร่วมกับสมาชิกคณะราษฎรที่ประกอบด้วยกลุ่มทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน ยึดอำนาจการปกครองประเทศจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองได้สำเร็จโดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อ หลังจากนั้นคณะราษฎรโดยปรีดี พนมยงค์ ได้จัดให้มีการประชุมระหว่างคณะราษฎร และเสนาบดี ปลัดทูลฉลอง ขึ้น ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อชี้แจงจุดประสงค์ หลักการระบอบใหม่ กฎหมายพระธรรมนูญการปกครองแผ่นดินโดยย่อ และขอความร่วมมือในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไปการวางรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย การวางรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปรีดี พนมยงค์ ถือเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่ เป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศ โดยเป็นผู้ร่างพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ที่ประกาศใช้เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พร้อมกันนั้นยังมีบทบาทสำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของสยาม ที่ใช้เป็นบรรทัดฐานของการปกครองในระบอบใหม่ ในขณะเดียวกัน ปรีดีก็ได้รับแต่งตั้งจากสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นเลขาธิการคนแรกของสภาผู้แทนราษฎรสยาม ด้วยตำแหน่งดังกล่าว ทำให้เขามีบทบาทด้านนิติบัญญัติในการวางหลักสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคให้แก่ราษฎร โดยเป็นผู้ยกร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งฉบับแรก และเป็นผู้ริเริ่มให้สตรีมีสิทธิ์ในการออกเสียงเลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้งผู้แทนราษฎรได้เช่นเดียวกับเพศชาย และจากการที่ได้ไปศึกษาในประเทศฝรั่งเศส ปรีดีจึงสนับสนุนแนวคิดเรื่องศาลปกครอง และก็เป็นผู้นำเอาวิชา "กฎหมายปกครอง" (droit administratif) มาสอนเป็นคนแรก ณ โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม แนวคิดดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความต้องการให้ราษฎรสามารถตรวจสอบฝ่ายปกครองได้ และมีสิทธิในทางการเมืองเท่าเทียมกับข้าราชการอย่างแท้จริง เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วเขาจึงผลักดันให้รัฐบาลยกฐานะกรมร่างกฎหมายและสถาปนาขึ้นเป็น "คณะกรรมการกฤษฎีกา" ทำหน้าที่ยกร่างกฎหมายและเป็นที่ปรึกษากฎหมายของแผ่นดิน ทั้งยังพยายามผลักดันให้คณะกรรมการกฤษฎีกาทำหน้าที่ศาลปกครองอีกด้วย แต่ก็ทำไม่สำเร็จ เนื่องจากวัฒนธรรมในทางอำนาจนิยมของรัฐไทยยังมีอยู่หนาแน่น ความพยายามในการตั้งศาลปกครองของปรีดีจึงประสบอุปสรรคมาโดยตลอด ใน พ.ศ. 2476 ได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ หรือที่เรียกกันว่า "สมุดปกเหลือง" ต่อรัฐบาลเพื่อใช้เป็นนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร โดยดำเนินเศรษฐกิจแบบสหกรณ์ แต่ไม่ทำลายกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของเอกชน ซึ่งเขาได้ชี้แจงไว้ว่า ปรีดียังได้วางหลักการประกันสังคม คือ ให้การประกันแก่ราษฎรทั้งหลายตั้งแต่เกิดจนตาย ที่จะได้รับความอุปการะจากรัฐบาล หากไม่สามารถทำงานได้ ซึ่งระบุไว้อย่างชัดเจนในหมวดที่ 3 แห่งเค้าโครงการเศรษฐกิจ ในชื่อร่าง "พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร" แต่แนวความคิดดังกล่าวถูกมองว่าเป็นคอมมิวนิสต์ และถูกคัดค้านอย่างหนักจากกลุ่มอนุรักษนิยมการกระจายอำนาจการปกครอง การกระจายอำนาจการปกครอง. ปรีดีเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 เพื่อให้รูปแบบและระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการกระจายอำนาจการปกครองสู่ท้องถิ่น เมื่อเข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2476–พ.ศ. 2478) ก็ได้ริเริ่มให้มีการจัดตั้ง "เทศบาล" ทั่วราชอาณาจักรสยาม ตาม พระราชบัญญัติเทศบาล โดยมุ่งหวังให้การปกครองทัองถิ่นเป็นรากฐานสำคัญของระบอบประชาธิปไตย และได้กวดขันให้มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านและกำนันตาม พระราชบัญญัติปกครองท้องที่ และจัดตั้งกรมโยธาเทศบาลเพื่อสอดคล้องกับการปกครองเทศบาลและสร้างทางท้องที่หลายจังหวัด นอกจากนี้เขายังได้สร้างโรงพยาบาลหลายแห่ง รวมทั้งจัดให้มีเรือพยาบาลตามลำน้ำโขงโดยใช้สลากกินแบ่งของท้องที่ สร้างฝายและพนังหลายแห่งเพื่อช่วยชาวนาและเกษตรกร สร้างทัณฑนิคมเพื่อให้ผู้พ้นโทษแล้วมีที่ดินของตน ฯลฯด้านพระพุทธศาสนา ด้านพระพุทธศาสนา. ปรีดีเป็นผู้มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลง พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ จากฉบับ ร.ศ. 121 (พ.ศ. 2445) มาเป็น พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2484 ทำให้การปกครองสงฆ์เป็นประชาธิปไตย อนุวัตรคล้อยตามการปกครองของบ้านเมืองไปด้วย แต่ พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2484 ใช้ได้เพียง 20 ปี ก็มีเหตุการณ์ไม่ราบรื่นเกิดขึ้นในสังฆมณฑลอย่างจงใจ จนนำคณะสงฆ์กลับไปสู่การปกครองระบอบเผด็จการโดยคณะเดียว ภายใต้ พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2505ด้านการศึกษา ด้านการศึกษา. ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปรีดี พนมยงค์ ได้สถาปนา "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" (มธก.) ขึ้นเมื่อ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477] และได้รับแต่งตั้งเป็น "ผู้ประศาสน์การ" (พ.ศ. 2477–พ.ศ. 2490) คนแรกและคนเดียวของมหาวิทยาลัย เพื่อสนองเจตนารมณ์ของคณะราษฎรที่ว่า "จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร" ด้วยเห็นว่าในขณะนั้น สถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มีอยู่มิได้เปิดกว้างเพื่อชนส่วนใหญ่ ดังนั้นมหาวิทยาลัยใหม่ตามแนวความคิดของเขา จึงเป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดกว้างเพื่อราษฎร เป็นตลาดวิชา ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการศึกษาเล่าเรียนเท่าเทียมกัน ปรีดีกล่าวไว้ในวันสถาปนามหาวิทยาลัยว่า มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในระยะแรกมิได้ใช้งบประมาณแผ่นดิน หากอาศัยเงินที่มาจากค่าสมัครเข้าเรียนของนักศึกษาทั่วราชอาณาจักรและดอกผลที่ได้มาจากธนาคารแห่งเอเชียเพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งปรีดีเป็นผู้ก่อตั้ง โดยให้มหาวิทยาลัยถือหุ้นถึง 80% นอกจากนี้ปรีดียังได้ยกกิจการโรงพิมพ์นิติสาส์นของเขาให้แก่มหาวิทยาลัยเพื่อพิมพ์เอกสารตำราคำสอนแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยดังกล่าวได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย ยิ่งไปกว่านั้นยังมีบทบาทสำคัญในการต่อต้านสงครามและต่อสู้เพื่อสันติภาพ โดยมหาวิทยาลัยเป็นที่ตั้งศูนย์บัญชาการใหญ่ของขบวนการเสรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากที่ปรีดีต้องลี้ภัยทางการเมือง รัฐบาลได้เปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัย โดยตัดคำว่า "วิชา" และ "การเมือง" ออก เหลือเพียงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อไม่ให้นักศึกษายุ่งเกี่ยวกับการเมือง ทั้งยังขายหุ้นทั้งหมดของมหาวิทยาลัย จนไม่มีความสามารถที่จะเลี้ยงตัวเองได้ กลายเป็นมหาวิทยาลัยปิดที่ต้องอาศัยงบประมาณจากรัฐบาลด้านการต่างประเทศ ด้านการต่างประเทศ. เมื่อภารกิจด้านการปกครองในกระทรวงมหาดไทยเข้ารูปเข้ารอยแล้ว ปรีดี พนมยงค์ ได้ก้าวเข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ. 2478–พ.ศ. 2481) ในเวลานั้นสยามยังอยู่ภายใต้บังคับของสนธิสัญญาระหว่างประเทศอันไม่เป็นธรรม ที่รัฐบาลสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้ถูกบังคับให้ทำไว้กับประเทศต่าง ๆ 13 ประเทศ ในนามของ "สนธิสัญญาทางไมตรีพาณิชย์และการเดินเรือ" ใน พ.ศ. 2478 หลังจากได้ประกาศใช้ประมวลกฎหมายแล้ว รัฐบาลเห็นว่าถึงเวลาแล้วที่ควรจะหาทางยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค และทวงอำนาจอธิปไตยของประเทศกลับคืนมา โดยยึดหลักเอกราชทั้งในทางการเมือง การศาล และเศรษฐกิจ ตลอดจนหาทางลดอัตราดอกเบี้ยในการกู้ยืมเงินที่รัฐบาลเก่าได้ทำสัญญาไว้ ปรีดี พนมยงค์ และคณะจึงออกเดินทางไปพบปะเจรจากับผู้นำประเทศมหาอำนาจต่าง ๆ ในยุโรป อเมริกา และเอเชีย อาทิ เบนิโต มุสโสลินี ผู้นำฟาสซิสต์แห่งอิตาลี ปีแอร์ ลาวาล นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส ฮจาล์ มาร์ ซาคท์ตัวแทนของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำนาซีเยอรมัน เซอร์ แซมมวล ฮอร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษ คอร์เดล ฮัลล์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา จักรพรรดิฮิโรฮิโตแห่งญี่ปุ่น และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ในหลายประเทศ ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ดำรงตำแหน่ง ปรีดีได้ใช้ความพยายามทางการทูตเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคที่สยามได้ทำไว้กับประเทศมหาอำนาจ 13 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ สเปน โปรตุเกส เดนมาร์ก สวีเดน อิตาลี เบลเยียม และนอร์เวย์ ตามลำดับ ซึ่งประเด็นหลักในการแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคมีอยู่ 2 ประเด็น คือ1. สิทธิสภาพนอกอาณาเขต คือคนในบังคับของต่างประเทศไม่ต้องขึ้นต่อศาลสยาม ทำให้สยามสูญเสียเอกราชในทางศาล 2. ภาษีร้อยชักสาม คือรัฐบาลสยามสามารถเรียกเก็บภาษีศุลกากรขาเข้าได้เพียงไม่เกินร้อยละ 3 ทำให้สยามขาดรายได้เข้าประเทศเท่าที่ควรจะได้ นับเป็นการสูญเสียเอกราชในทางเศรษฐกิจ โดยใช้ยุทธวิธีบอกเลิกสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับประเทศคู่สัญญาเหล่านั้น และได้ยื่นร่างสนธิสัญญาฉบับใหม่โดยอาศัยหลัก "ดุลยภาพแห่งอำนาจ" จนสามารถยกเลิกสนธิสัญญาดังกล่าวเป็นผลสำเร็จ ทำให้สยามได้เอกราชทางศาลและเอกราชทางเศรษฐกิจกลับคืนมา และมีสิทธิเสมอภาคกับนานาประเทศทุกประการ หนังสือพิมพ์สเตรตไทม์ของสิงคโปร์ กล่าวยกย่องปรีดีไว้ในบทบรรณาธิการว่า "ดอกเตอร์ปรีดี พนมยงค์ เสมือนหนึ่งเป็น แอนโทนี อีเดน" ผู้เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศคนสำคัญของรัฐบาลอังกฤษด้านการคลัง ด้านการคลัง. เมื่อปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (พ.ศ. 2481–พ.ศ. 2484) ได้ตั้งปณิธานที่จะใช้เครื่องมือทางการคลังสร้างความมั่นคงให้แก่ชาติ สร้างความเป็นธรรมและความสุขสมบูรณ์แก่ราษฎร โดยแถลงต่อรัฐสภาว่าจะปรับปรุงระบบการเก็บภาษีให้เป็นธรรมแก่สังคม และได้บรรลุภารกิจในด้านการจัดเก็บภาษีอากรที่สำคัญ ดังนี้1. ช่วยเหลือราษฎรที่ต้องแบกรับภาษีที่ไม่เป็นธรรม ด้วยการยกเลิกเงินภาษีรัชชูปการ และอากรค่านา (เงินส่วย) ซึ่งชาวนาต้องเสียแก่เจ้าศักดินา เป็นต้น 2. จัดระบบเก็บภาษีอากรที่เป็นธรรมในระบอบประชาธิปไตยโดนสถาปนา "ประมวลรัษฎากร" เป็นแบบฉบับครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งรวมบทบัญญัติเกี่ยวกับภาษีอากรทางตรง 3. ออก พรบ.ภาษีเงินได้ ซึ่งเป็นภาษีก้าวหน้า กล่าวคือผู้ใดมีรายได้มากก็เสียภาษีมากหากมีรายได้น้อยก็เสียภาษีน้อย และผู้ใดบริโภคเครื่องบริโภคที่ไม่จำเป็นแก่การดำรงชีพก็ต้องเสียภาษีอากรมากตามลำดับ ในด้านการสร้างเสถียรภาพทางการเงินและการคลังของประเทศ ปรีดีคาดการณ์ว่าอาจเกิดสงครามโลกครั้งที่สองขึ้นในไม่ช้า เงินปอนด์สเตอร์ลิงซึ่งสยามประเทศใช้เป็นทุนสำรองเงินตราอาจจะลดค่าลงได้ เขาพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วเห็นว่าภายใต้สถานการณ์ของโลกที่มีความไม่แน่นอนนั้น การเก็บรักษาทุนสำรองของชาติเอาไว้เป็นทองคำแท่งน่าจะเป็นนโยบายที่เหมาะสม และเห็นว่าอังกฤษซึ่งอยู่ในสถานะสงครามกับเยอรมนีในยุโรปแล้วตั้งแต่ปี 2482 มีแนวโน้มว่าจะต้องเผชิญหน้ากับญี่ปุ่นในเอเชียแปซิฟิกด้วยในอนาคตอันใกล้ อันจะมีผลกระทบต่อสถานภาพของเงินปอนด์สเตอร์ลิงอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น จึงได้จัดการเอาเงินปอนด์ที่เป็นเงินทุนสำรองเงินตราจำนวนหนึ่งซื้อทองคำแท่งหนัก 1 ล้าน ออนซ์ ในราคาออนซ์ละ 35 ดอลลาร์สหรัฐ นำมาเก็บไว้ในห้องนิรภัยกระทรวงการคลัง นอกจากนี้ยังได้โอนเงินปอนด์เพื่อแลกซื้อเงินดอลลาร์และทองคำแท่งเก็บไว้ที่สหรัฐอเมริกาอีกส่วนหนึ่ง ทำให้เสถียรภาพของค่าเงินบาทในเวลานั้นมั่นคงที่สุดแม้ว่าเป็นระยะใกล้จะเกิดสงครามเต็มทีแล้ว ทองคำแท่งจำนวนดังกล่าวยังคงเก็บรักษาไว้เป็นทุนสำรองเงินบาทอยู่จนทุกวันนี้ เมื่อได้ปรับปรุงระบบภาษีอากรให้เกิดความเป็นธรรมแก่สังคมขึ้นในระดับหนึ่งแล้ว อีกทั้งระบบการเงินของประเทศก็มีความมั่นคงด้วยทุนสำรองเงินตราอันประกอบด้วยทองคำและเงินตราต่างประเทศในสกุลที่ทั่วโลกยอมรับ ปรีดีในฐานะผู้รับผิดชอบบริหารนโยบายการเงินการคลังของประเทศ ก็ได้รื้อฟื้นเรื่องการจัดตั้งธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งชาติ ซึ่งได้เคยปรารภไว้แล้วในเค้าโครงการเศรษฐกิจมาพิจารณาอย่างจริงจัง โดยจัดตั้งสำนักงานธนาคารชาติไทยขึ้นก่อน และเร่งฝึกพนักงานเจ้าหน้าที่ไว้ให้พร้อมในการบริหารธนาคารชาติ ต่อมาจึงได้จัดตั้ง "ธนาคารชาติไทย" ขึ้น ใน พ.ศ. 2483 ปัจจุบันคือ "ธนาคารแห่งประเทศไทย" เพื่อทำหน้าที่เป็นธนาคารชาติของรัฐโดยสมบูรณ์บทบาทในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง บทบาทในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง. ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองจะอุบัติขึ้น ปรีดี พนมยงค์ เล็งเห็นว่าลัทธิเผด็จการทหารกำลังจะจุดชนวนให้เกิดสงครามโลก จึงอำนวยการสร้างภาพยนตร์เรื่อง "พระเจ้าช้างเผือก" เพื่อสื่อทัศนะสันติภาพและคัดค้านการทำสงครามผ่านไปยังนานาประเทศ โดยแสดงจุดยืนอย่างแจ่มชัดด้วยพุทธภาษิตที่ปรากฏในภาพยนตร์ที่ว่า "นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ" (ไม่มีสุขใดเสมอด้วยความสงบสันติ) ยิ่งไปกว่านั้นเขายังสื่อให้เห็นว่าชาวสยามพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อต่อด้านสงครามรุกรานอย่างมีศักดิ์ศรีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์. วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สภาผู้แทนราษฎรมีมติแต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลขึ้นใหม่ แทนเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ซึ่งถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และปรีดี พนมยงค์ ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ทรงลาออกจากตำแหน่ง สภาผู้แทนราษฎรจึงมีมติแต่งตั้งปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แต่ผู้เดียว (1 สิงหาคม พ.ศ. 2487–20 กันยายน พ.ศ. 2488) และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อไปอีก เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไม่สามารถเสด็จนิวัติประเทศไทยได้หัวหน้าขบวนการเสรีไทย หัวหน้าขบวนการเสรีไทย. ปลาย พ.ศ. 2484 สงครามมหาเอเชียบูรพาปะทุขึ้นเมื่อกองทัพญี่ปุ่นเปิดฉากโจมตีฐานทัพเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ของสหรัฐอเมริกา และรวมไปถึงดินแดนในครอบครองของอังกฤษและเนเธอร์แลนด์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมา เช้ามืดวันที่ 8 ธันวาคม ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย และส่งกองกำลังภาคพื้นดินบุกเข้าประเทศไทยทางอินโดจีนฝรั่งเศส รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ตกลงทำสัญญาเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นเพื่อให้กองทัพญี่ปุ่นเดินทัพผ่านแผ่นดินไทย ในที่สุดก็ร่วมวงไพบูลย์กับญี่ปุ่น และประกาศสงครามต่อฝ่ายสัมพันธมิตรอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 อันเป็นการละเมิดต่อประกาศพระบรมราชโองการให้ปฏิบัติตามความเป็นกลาง พ.ศ. 2482 ปรีดี พนมยงค์ ไม่เห็นด้วยกับการให้ญี่ปุ่นละเมิดอธิปไตยและแสดงจุดยืนให้ปรากฏโดยเป็นผู้นำในการจัดตั้งองค์การต่อต้านญี่ปุ่น หรือต่อมาเรียกว่า "ขบวนการเสรีไทย" ประกอบด้วยคนไทยทุกชั้นวรรณะ ทั้งที่อยู่ในประเทศและอยู่ต่างประเทศ เขาไม่ยอมลงนามในประกาศสงครามนั้นด้วยเหตุผลสำคัญที่ว่า หากลงนามไปแล้วก็ยากที่จะให้ฝ่ายสัมพันธมิตรเชื่อถือการปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย กระแสความไม่พอใจต่อการตัดสินใจของรัฐบาลจอมพล ป. ได้พุ่งขึ้นอย่างรวดเร็วในหมู่ชนทุกเหล่า แต่รัฐบาลถือว่าตนเองมีความชอบธรรมในการปราบปรามผู้ที่ไม่เห็นด้วย อีกทั้งกองทัพญี่ปุ่นที่เข้ามาประจำการในประเทศ ก็ใช้ท่าทีที่แข็งกร้าวต่อผู้ที่ต้องสงสัยว่าดำเนินกิจกรรมต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น ดังนั้นปฏิบัติการต่อต้านรัฐบาลและญี่ปุ่นผู้รุกรานจึงต้องเป็นงาน "ใต้ดิน" ที่ปิดลับ ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในรหัสนามว่า "รู้ธ" (Ruth) ทำงานในสองบทบาทตลอดสงครามมหาเอเชียบูรพา โดยถือความลับสุดยอดเป็นหัวใจของการปฏิบัติงาน คณะผู้ก่อตั้งขบวนการเสรีไทยได้กำหนดภารกิจที่จะต้องปฏิบัติไว้ในชั้นแรกสองประการ คือ1. ต่อสู้กับญี่ปุ่นผู้รุกราน 2. ปฏิบัติการให้ฝ่ายสัมพันธมิตรรับรองเจตนารมณ์ที่แท้จริงของราษฎรไทย ต่อมาเมื่อรัฐบาลจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ได้ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกา จึงทำให้ภารกิจขององค์การเสรีไทยถูกได้เพิ่มขึ้นมาอีกประการหนึ่ง คือ 3. ให้สัมพันธมิตรรับรองว่าประเทศไทยไม่ตกเป็นฝ่ายแพ้สงครามร่วมกับญี่ปุ่น ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2488 ปรีดีแจ้งให้สัมพันธมิตรทราบว่า เสรีไทยจำนวน 8 หมื่นคนทั่วประเทศพร้อมที่จะลุกฮือขึ้นเพื่อทำสงครามกับทหารญี่ปุ่นอย่างเปิดเผย แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ร้องขอให้ชะลอแผนนี้ไว้ก่อน ด้วยเหตุผลทางแผนยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตร ในที่สุดฝ่ายญี่ปุ่นก็ยอมแพ้สงครามอย่างไม่มีเงื่อนไขเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 เมื่อญี่ปุ่นได้ยอมจำนน ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้แจ้งให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ซึ่งเป็นหัวหน้าขบวนการเสรีไทยว่า สัมพันธมิตรไม่ถือว่าประเทศไทยเป็นผู้แพ้สงคราม ประเทศไทยไม่ต้องถูกยึดครอง รัฐบาลไทยไม่ต้องยอมจำนน กองทัพไทยไม่ต้องวางอาวุธ และให้รีบออกแถลงการณ์ปฏิเสธการประกาศสงครามระหว่างไทยกับสัมพันธมิตร เพื่อลบล้างข้อผูกพันทั้งหลายที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ทำไว้กับญี่ปุ่นประกาศสันติภาพ ประกาศสันติภาพ. วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็น "โมฆะ" ไม่ผูกพันประชาชนชาวไทย และประเทศไทยพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับสหประชาชาติในการสถาปนาสันติภาพในโลกนี้ ต่อมารัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ 16 สิงหาคม ของทุกปีเป็น "วันสันติภาพไทย" ภายหลังจากการประกาศสันติภาพ ตัวแทนพลพรรคเสรีไทยจากทั่วประเทศกว่า 8, 000 นาย ได้เดินสวนสนามผ่านอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน โดยมีปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และหัวหน้าขบวนการเสรีไทยเป็นประธาน เมื่อสิ้นสุดภารกิจลงแล้ว เขาได้ประกาศยกเลิกขบวนการเสรีไทย โดยมีสุนทรพจน์บางตอนว่า เมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์ จึงขออัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป โดยได้เสด็จกลับถึงพระนครวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสตอบปรีดีที่ไปเฝ้ารับเสด็จดังนี้บทบาททางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สองรัฐบุรุษอาวุโส บทบาททางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง. รัฐบุรุษอาวุโส. ด้วยคุณูปการที่เป็นผู้นำในการกอบกู้บ้านเมืองในยามคับขัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องปรีดี พนมยงค์ ไว้ในฐานะ "รัฐบุรุษอาวุโส" ซึ่งถือได้ว่าเป็นตำแหน่งทางการเมืองอันทรงเกียรติสูงสุด ดังที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2488 ความว่า ในโอกาสนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงได้รับพระราชทาน แก่รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2488ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี. ปรีดี พนมยงค์ ได้รับเลือกจากสภาผู้แทนราษฎรให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาได้ใช้ความรู้ความสามารถเจรจาต่อรองกับฝ่ายสัมพันธมิตรในปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงกับอังกฤษ เรื่องสัญญาสมบูรณ์แบบ และการเจรจาให้รัฐบาลสหรัฐยกเลิกคำสั่งเพิกถอนเงินซึ่งได้ถูกกักกันไว้ในสหรัฐ ให้ประเทศไทยสามารถแก้ไขสถานะผู้แพ้สงครามได้สำเร็จอย่างละมุนละม่อม สามารถเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติลำดับที่ 55 วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดีที่เพิ่งชนะเลือกตั้งหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 จึงขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาให้อัญเชิญพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์ต่อไป เมื่อสภามีมติเห็นชอบแล้ว ปรีดีก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ทั้งที่เพิ่งได้รับโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2489 แต่สภาผู้แทนราษฎรก็สนับสนุนให้ปรีดีดำรงตำแหน่งตามเดิม กรณีสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้ทำให้ศัตรูทางการเมืองของปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารสาย จอมพล ป. พิบูลสงครามที่สูญเสียอำนาจหลังสงครามโลกครั้งที่สอง พรรคการเมืองฝ่ายค้านนำโดย พรรคประชาธิปัตย์ และกลุ่มอำนาจเก่า ฉวยโอกาสนำมาใช้ทำลายปรีดีทางการเมือง โดยการกระจายข่าวไปตามหนังสือพิมพ์ ร้านกาแฟ และสถานที่ต่าง ๆ รวมทั้งส่งคนไปตะโกนในศาลาเฉลิมกรุงว่า "ปรีดีฆ่าในหลวง" และนำไปสู่การลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของเขาในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2489 โดยหลังจากนั้น หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มปรีดี ให้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ต้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2489 ภายหลังจากที่ปรีดีลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแล้ว ก็ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น รัฐบาลไทยจึงมอบหมายให้เขาเป็นหัวหน้าคณะทูตสันถวไมตรีเดินทางรอบโลกเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีและพบปะกับผู้นำนานาประเทศ โดยได้ไปเยือนประเทศจีนเป็นแห่งแรก จากนั้นก็ไปฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และนอร์เวย์ รวมทั้งสิ้นเก้าประเทศ และกลับมาถึงกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 รวมเวลาที่ออกไปปฏิบัติภารกิจในต่างประเทศ 3 เดือนเต็มลี้ภัยรัฐประหาร ลี้ภัยรัฐประหาร. ต่อมาในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 คณะรัฐประหาร ประกอบด้วย พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ พ.อ.กาจ กาจสงคราม พ.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ พ.อ.สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ.อ.ถนอม กิตติขจร พ.ท.ประภาส จารุเสถียร และ ร.อ.สมบูรณ์ (ชาติชาย) ชุณหะวัณ ได้ยึดอำนาจการปกครองประเทศ จากรัฐบาลหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ ด้วยสาเหตุที่รัฐบาลไม่สามารถคลี่คลายคดีสวรรคตลงได้ ประกอบกับการลดบทบาทของกองทัพ และปัญหาทางเศรษฐกิจ หลังจากยึดอำนาจสำเร็จ คณะรัฐประหารได้นำกำลังทหารพร้อมรถถังบุกยิงทำเนียบท่าช้างวังหน้าซึ่งปรีดีและครอบครัวอาศัยอยู่ แล้วพยายามจะจับกุมตัวปรีดี แต่เขาก็หลบหนีไปได้ภายใต้การอารักขาของทหารเรือและได้อาศัยฐานทัพเรือสัตหีบเป็นที่หลบภัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง เมื่อพิจารณาเห็นว่ายังไม่พร้อมที่จะต่อต้านคณะรัฐประหาร จึงได้ลี้ภัยการเมืองไปยังประเทศสิงคโปร์ จนถึงปลายเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2491 จึงออกเดินทางต่อไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน ต่อมา ใน พ.ศ. 2492 ปรีดี พนมยงค์ กลับมาประเทศไทยเพื่อยึดอำนาจคืนจากรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเหตุการณ์ "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 แต่กระทำไม่สำเร็จ (เรียกกันว่า "กบฏวังหลวง") ทำให้ปรีดี พนมยงค์ ต้องเดินทางออกจากประเทศไทยไปพำนักยังประเทศสิงคโปร์เพื่อจะไปสู่สหรัฐอเมริกา แต่ด้วยเหตุที่มีปัญหาเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง ทำให้ปรีดีต้องเดินทางไปยังประเทศจีนซึ่งขณะนั้นยังอยู่ภายใต้รัฐบาลก๊กมินตั๋งแทน ต่อมา พ.ศ. 2513 จึงได้เดินทางต่อไปยังกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และได้พำนักอยู่ที่นั่นตลอดมาจนเสียชีวิตปัจฉิมวัย ปัจฉิมวัย. หลายปีที่ปรีดีลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ยังมีการกล่าวหาว่าปรีดีสมคบการปลงพระชนม์ในหลวงอยู่เป็นระยะ ๆ เขาจึงต้องฟ้องร้องผู้ใส่ความหมิ่นประมาทต่อศาลยุติธรรม ผลปรากฏว่าศาลตัดสินให้ชนะทุกคดี นอกจากนี้ โดยคำพิพากษาของศาลในกรณีฟ้องร้องรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีสกับพวก ในข้อหาร่วมกันละเมิดสิทธิของโจทก์ ปรีดีจึงได้รับความรับรองจากทางราชการในฐานะคนไทยโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายทุกประการ และได้รับเงินบำนาญตลอดจนได้รับหนังสือเดินทางของไทย ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ปรีดีได้มีโอกาสพบปะสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้นำพรรคและรัฐบาลจีนไม่ว่าจะเป็นประธานาธิบดีเหมา เจ๋อตง นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล จอมพลเฉินยี่ เติ้ง เสี่ยวผิง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน นอกจากนี้ยังได้พบปะสนทนากับผู้นำกอบกู้เอกราชของชาติในอินโดจีน อาทิ ประธานาธิบดีโฮจิมินห์และนายกรัฐมนตรีฝ่ามวันดง แห่งเวียดนาม เจ้าสุภานุวงศ์ ประธานประเทศลาว เจ้าสุวรรณภูมา และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กษัตริย์แห่งกัมพูชา โดยเฉพาะมิตรภาพระหว่างปรีดีกับประธานโฮจิมินห์นั้น ยืนยาวมาตั้งแต่สมัยที่เขาผู้นี้ต่อสู้กับฝรั่งเศส ต้นเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2513 โจวเอินไหลได้อำนวยความสะดวกให้ปรีดีเดินทางจากประเทศจีนไปยังกรุงปารีส ด้วยความช่วยเหลือจากนายกีโยม จอร์จ-ปีโก (Guillaume Georges- Picot) มิตรเก่าที่มีตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตถาวรของประเทศฝรั่งเศส และโดยได้รับความเห็นชอบจากประธานาธิบดี ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ปรีดีจึงได้พำนักอยู่ ณ ประเทศฝรั่งเศส ในช่วงปลายชีวิตอย่างสันติสุข ท่านเป็นผู้สนใจสนใจในพุทธศาสนา โดยเฉพาะหนังสือเรื่อง "กฎบัตรของพุทธบริษัท" ที่พุทธทาสภิกขุส่งไปให้นั้น ปรีดีจะพกในกระเป๋าเสื้อนอกติดตัวอยู่ตลอดเวลาตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต เวลา 11 นาฬิกาเศษ ของวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ณ บ้านอองโตนี ชานกรุงปารีส ปรีดี พนมยงค์ สิ้นใจด้วยอาการหัวใจวายขณะกำลังเขียนหนังสืออยู่ที่โต๊ะทำงานงานเขียน งานเขียน. ปรีดีเป็นผู้ใฝ่หาความรู้ทางด้านวิทยาการต่าง ๆ ทั้งสังคมศาสตร์ ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ได้ศึกษาค้นคว้าเพื่อรู้แจ้งเห็นจริงทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ รวมทั้งผลงานของเมธีทางด้านปรัชญาและสังคมศาสตร์ เช่น มาร์กซ์ เองเงิลส์ เลนิน สตาลิน และเหมา เจ๋อตุง ในเชิงเปรียบเทียบสภาพสังคมไทยทุกแง่ทุกมุม อาทิ ระบอบเศรษฐกิจ การเมือง ทัศนะสังคม ประวัติศาสตร์ ชนชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี แล้วได้เรียบเรียงเป็นบทความ ซึ่งได้ตีพิมพ์ในโอกาสต่อมา งานเขียนชิ้นสำคัญของเขาที่นำพุทธปรัชญามาวิเคราะห์วิวัฒนาการของมนุษยสังคมคือ "ความเป็นอนิจจังของสังคม" ซึ่งได้รับการตีพิมพ์หลายครั้งและเป็นที่สนใจของผู้ที่ต้องการศึกษาอยู่ตลอดมา เพราะข้อความที่เขียนอันเป็นสัจจะอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ทุกยุคทุกสมัย ผลงานงานเขียนบางส่วนของปรีดี ได้แก่- บันทึกข้อเสนอเรื่อง ขุดคอคอดกระ, กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 - ชีวิตผันผวนของข้าพเจ้าและ 21 ปีที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน (Ma vie mouvementee et mes 21 ans d' exil en Chine Populaire) - ความเป็นมาของชื่อ “ประเทศสยาม” กับ “ประเทศไทย” - จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม - ประชาธิปไตย เบื้องต้นสำหรับสามัญชน - ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญเบื้องต้นกับการร่างรัฐธรรมนูญ - ปรัชญาคืออะไร - “ความเป็นไปบางประการในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” ใน บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์… - บางเรื่องเกี่ยวกับการก่อตั้งคณะราษฎรและระบบประชาธิปไตย - ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับเอกภาพของชาติและประชาธิปไตย - ความเป็นเอกภาพกับปัญหาสามจังหวัดภาคใต้, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาชาวปักษ์ใต้แห่งประเทศไทย, 2517 - อนาคตของเมืองไทยกับสถานการณ์ของประเทศเพื่อนบ้าน, ประจักษ์การพิมพ์, 2518เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย. - พ.ศ. 2488 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (น.ร.) รับพระราชทาน 11 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2488 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นสูงสุด ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) รับพระราชทาน 9 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2484 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) รับพระราชทาน 19 มิถุนายน พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2480 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) รับพระราชทาน 13 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - พ.ศ. 2478 – เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ รับพระราชทาน 21 เมษายน พ.ศ. 2478 - พ.ศ. 2481 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มราชการแผ่นดิน (ร.ด.ม. (ผ)) รับพระราชทาน 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2481 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อปร.1) รับพระราชทาน 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศการเชิดชูเกียรติวันสำคัญ การเชิดชูเกียรติ. วันสำคัญ. ทุกวันที่ 11 พฤษภาคมของทุกปีเป็นวันปรีดี พนมยงค์ ซึ่งเป็นวันคล้ายวันเกิดของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล เมื่อ ค.ศ. 2000 ปรีดีได้รับการประกาศยกย่องจากยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก และได้มีการบรรจุชื่อไว้ในปฏิทินเฉลิมฉลองบุคคลสำคัญของยูเนสโกพันธุ์สัตว์ พันธุ์สัตว์. เมื่อ พ.ศ. 2546 ได้ค้นพบปลาปล้องทองปรีดี (Schistura pridii) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ โดยตั้งชื่อตามนามของปรีดี พนมยงค์ และ นายเอช.จี.ไดแนน (H.G.Deignan) ได้ค้นพบ นกปรีดี (Chloropsis aurifrons pridii) ที่ดอยอ่าง ดอยอินทนนท์ซึ่งนกปรีดีนั้นเป็นนกชนิดย่อยของนกเขียวก้านตองหน้าผากสีทอง ที่สถาบันสมิธโซเนียนแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะหัวหน้าขบวนการเสรีไทย และพบกระจายพันธุ์อยู่บริเวณภาคเหนือเรื่อยลงไปทางด้านตะวันตกจนถึงจังหวัดตาก เป็นนกประจำถิ่นที่มีสีสันสวยงาม กินผลไม้และแมลงเป็นอาหาร นอกจากนี้นายไดแนน ยังตั้งชื่อนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าอีกชนิดย่อยหนึ่ง ที่พบกระจายพันธุ์อยู่ทางภาคใต้ เพื่อเป็นเกียรติแก่ขบวนการเสรีไทยว่า Chloropsis cochinchinensis seri-thaiสถานที่ สถานที่. อนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ มีอยู่ 2 ที่คือ บริเวณที่ดินถิ่นกำเนิดของปรีดี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอนุสรณ์สถานรำลึกปรีดี พนมยงค์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเมือง ตรงข้ามวัดพนมยงค์ อนุสาวรีย์ปรีดีพนมยงค์เป็นรูปสัญลักษณ์ที่แสดงถึงอุดมการณ์อันสำคัญยิ่งของปรีดี 3 ประการคือ สันติภาพ เสรีไทยและประชาธิปไตย และห้องอนุสรณ์สถานบนตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอนุสรณ์แห่งแรกที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงปรีดี พนมยงค์ สถาบันปรีดี พนมยงค์ มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้จัดสร้างอาคารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ขึ้น ณ ซอยทองหล่อ ถนนสุขุมวิท 55 สำหรับใช้ดำเนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทย เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2538 คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ คณะนิติศาสตร์ในมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เพื่อเป็นการรำลึกถึงความผูกพันระหว่างศาสตราจารย์ ปรีดี พนมยงค์ กับศาสตราจารย์ ไสว สุทธิพิทักษ์ ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยและเป็นอธิการบดีคนแรก หอสมุดปรีดี พนมยงค์ เป็นหอสมุดกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีเนื้อที่รวมประมาณ 10, 000 ตารางเมตร แต่เดิมชื่อ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเปลี่ยนเป็น ห้องสมุดธรรมศาสตร์ ในเวลาต่อมา ก่อตั้งขึ้นพร้อม กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน พ.ศ. 2477 เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์เพื่อรองรับการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ โดยจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบ 100 ปี ชาตกาลเพลง เพลง. ปรีดีคีตานุสรณ์ คือ บทเพลงซิมโฟนีหมายเลข 4 ประพันธ์โดยคีตกวี สมเถา สุจริตกุล ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ซึ่งใน พ.ศ. 2543 ดุษฎี พนมยงค์ได้ขับร้องในการแสดงรอบปฐมทัศน์ "ปรีดีคีตานุสรณ์" ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย และใน พ.ศ. 2545 ดุษฎี พนมยงค์ ก็ได้แสดงขับร้องใน "ปรีดีคีตานุสรณ์" ร่วมกับวงดุริยางค์และคณะนักร้องประสานเสียงแห่งชาติเวียดนาม ณ ฮานอยอื่น ๆอื่น ๆ. - ถนนปรีดี พนมยงค์ มีอยู่ 3 สาย คือที่ถนนสุขุมวิท 71, ถนนใจกลางเมืองพระนครศรีอยุธยา และภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต - สะพานปรีดี-ธำรง สะพานข้ามแม่น้ำป่าสักอันเป็นทางเข้าออกหลักของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ตั้งตามชื่อปรีดี พนมยงค์ และหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ - ถนนประดิษฐ์มนูธรรม เป็นถนนเลียบทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายรามอินทรา-อาจณรงค์) มีความยาว 12 กิโลเมตร - แสตมป์ ชุดที่ระลึก 111 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ โดยบริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด วางจำหน่ายครั้งแรก 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยกี่สมัย
3620
{ "answer_end": [ 13 ], "answer_start": [ 0 ], "text": [ "ปรีดี พนมยงค์" ] }
749
ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และเป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 3 สมัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ อีกหลายสมัย เป็นผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง และเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบัน คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปรีดีเป็นผู้นำขบวนการเสรีไทยต่อต้านกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ทำให้ประเทศไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม นอกจากนี้เขายังได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในรัชกาลที่ 8 และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องในฐานะ "รัฐบุรุษอาวุโส" ปรีดีต้องยุติบทบาททางการเมืองหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล โดยถูกกล่าวหาจากพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ดังกล่าว ต่อมาเกิดการรัฐประหาร พ.ศ. 2490 เป็นเหตุให้เขาต้องลี้ภัยการเมืองไปยังประเทศจีนและฝรั่งเศสรวมระยะเวลากว่า 30 ปี และไม่ได้กลับสู่ประเทศไทยอีกเลยจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ระหว่างที่ลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ปรีดีได้ฟ้องร้องผู้ใส่ความหมิ่นประมาทต่อศาลยุติธรรม ผลปรากฏว่าศาลตัดสินให้ชนะทุกคดี และยังได้รับความรับรองจากทางราชการตลอดจนเงินบำนาญและหนังสือเดินทางของไทย ใน พ.ศ. 2542 ที่ประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 30 ขององค์การยูเนสโก ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ได้มีมติประกาศให้ปรีดี พนมยงค์ เป็น "บุคคลสำคัญของโลก" และได้ร่วมเฉลิมฉลองในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาลของเขา ระหว่าง พ.ศ. 2543–พ.ศ. 2544 นอกจากนี้นิตยสารเอเชียวีกยังได้เสนอชื่อของเขาเข้าชิงตำแหน่ง "Asian Of The Century" อีกด้วยประวัติ ประวัติ. ปรีดี พนมยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ณ เรือนแพหน้าวัดพนมยงค์ ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในครอบครัวชาวนาไทย เป็นบุตรคนที่ 2 จากจำนวนพี่น้อง 6 คน ของนายเสียง และนางลูกจันทน์ พนมยงค์ บรรพบุรุษของปรีดีตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้วัดพนมยงค์มาเป็นเวลาช้านาน โดยที่บรรพบุรุษข้างบิดานั้นสืบเชื้อสายมาจากพระนมในสมัยอาณาจักรอยุธยา ชื่อ "ประยงค์" พระนมประยงค์เป็นผู้สร้างวัดในที่สวนของตัวเอง โดยตั้งชื่อวัดตามผู้สร้างว่า วัดพระนมยงค์ หรือ วัดพนมยงค์ กาลเวลาล่วงเลยมาจนเมื่อมีการประกาศพระราชบัญญัติขนานนามสกุล พ.ศ. 2456 ทายาทจึงได้ใช้นามสกุลว่า "พนมยงค์" และได้อุปถัมภ์วัดนี้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน บรรพบุรุษรุ่นปู่-ย่าของปรีดีประกอบกิจการค้าขายมีฐานะเป็นคหบดีใหญ่ แต่นายเสียงบิดาของปรีดีเป็นคนชอบชีวิตอิสระไม่ชอบประกอบอาชีพค้าขายเจริญรอยตามบรรพบุรุษ จึงหันไปยึดอาชีพกสิกรรม เริ่มต้นด้วยการทำป่าไม้ และต่อมาได้ไปบุกเบิกถางพงร้างเพื่อจับจองที่ทำนาบริเวณทุ่งหลวง อำเภอวังน้อย แต่ก็ต้องประสบกับปัญหาภัยธรรมชาติ โขลงช้างป่า และแมลงที่มารบกวนทำลายต้นข้าวทำให้ผลผลิตออกมาไม่ดี ไม่สามารถขายข้าวได้ ซ้ำร้ายรัฐบาลได้ให้สัมปทานบริษัทขุดคลองแห่งหนึ่งขุดคลองผ่านที่ดินของนายเสียงและยังเรียกเก็บค่าขุดคลอง (ดูประวัติคลองรังสิต) ซึ่งบิดาของปรีดีต้องกู้เงินมาจ่ายเป็นค่ากรอกนาในอัตราไร่ละ 4 บาท แลกกับการได้ครอบครองที่ดินที่จับจองไว้จำนวน 200 ไร่ ทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวย่ำแย่ลงไปอีก ต้องอดทนเป็นหนี้สินอยู่หลายปี เหตุการณ์ครั้งนั้นยังทำให้ราษฎรผู้บุกเบิกจับจองที่ดินมาก่อนต้องสูญเสียที่ดินไปเป็นจำนวนมากและกลายเป็นชาวนาผู้เช่าที่ในที่สุด จากการเติบโตในครอบครัวชาวนานี้เอง ปรีดีจึงได้สัมผัสรับรู้เป็นอย่างดีถึงสภาพความเป็นอยู่และความทุกข์ยากของชนชั้นชาวนาทั้งหลายที่ฝากชีวิตไว้กับความไม่แน่นอนของดินฟ้าอากาศ ราคาพืชผลในตลาด และดอกเบี้ยของนายทุน นอกจากนี้ยังต้องพบกับการถูกเอารัดเอาเปรียบจากเจ้าที่ดินศักดินาที่กระทำผ่านการเก็บภาษีและการถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดิน ประสบการณ์เหล่านี้เป็นแรงกระตุ้นให้ปรีดีคิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศในเวลาต่อมา ปรีดีเมื่อครั้งเยาว์วัยเป็นเด็กหัวดี ช่างคิด ช่างสังเกตวิเคราะห์ และเริ่มมีความสนใจทางการเมืองมาตั้งแต่อายุเพียง 11 ปี จากเหตุการณ์ปฏิวัติในประเทศจีนที่นำโดย ซุน ยัตเซ็น และเหตุการณ์กบฏ ร.ศ. 130 ในสยาม ซึ่งปรีดีได้แสดงความเห็นอกเห็นใจอย่างมากต่อผู้ที่ถูกลงโทษในครั้งนั้น ถึงแม้ว่าปรีดีจะเกิดในครอบครัวชาวนา แต่บิดาของเขาก็เป็นผู้ใฝ่รู้และเล็งเห็นประโยชน์ของการศึกษา จึงสนับสนุนให้บุตรได้รับการศึกษาที่ดีมาโดยตลอด เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ซึ่งเป็นญาติผู้ใหญ่ฝ่ายภรรยาปรีดี ได้เคยกล่าวถึงนายเสียง พนมยงค์ ว่าการศึกษา การศึกษา. ปรีดีเริ่มเรียนหนังสือที่บ้านครูแสง ตำบลท่าวาสุกรี และสำเร็จการศึกษาในระดับประถมที่โรงเรียนวัดศาลาปูน อำเภอกรุงเก่า จากนั้นไปศึกษาชั้นมัธยมเตรียมที่โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร แล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลกรุงเก่า (ปัจจุบันคือ โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย) จนสอบไล่ได้ชั้นมัธยม 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดสำหรับหัวเมือง แล้วไปศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ใน พ.ศ. 2460 เข้าศึกษาที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม และศึกษาภาษาฝรั่งเศสที่เนติบัณฑิตยสภา กับอาจารย์เลเดแกร์ (E.Ladeker) ที่ปรึกษาศาลต่างประเทศกระทรวงยุติธรรม ต่อมาสอบไล่วิชากฎหมายชั้นเนติบัณฑิตได้ในขณะมีอายุ 19 ปี แต่ตามข้อบังคับสมัยนั้นยังเป็นเนติบัณฑิตไม่ได้เพราะอายุยังไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ ต้องรอจนอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์จึงได้เป็นสมาชิกสามัญแห่งเนติบัณฑิตยสภา ต่อมาได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงยุติธรรมให้ทุนไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส ใน พ.ศ. 2463 โดยเข้าศึกษาวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยกอง (Université de Caen) จนสอบไล่ได้ปริญญารัฐเป็น "บาเชอลิเอร์" กฎหมาย (bachelier en droit) และได้ปริญญารัฐเป็น "ลิซองซิเอ" กฎหมาย (Licencié en Droit) ตามลำดับ ปรีดีสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปารีส พ.ศ. 2469 ด้วยคะแนนเกียรตินิยมดีมาก (trés bien) นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ปริญญาเอกแห่งรัฐ (doctorat d'état) เป็น "ดุษฎีบัณฑิตกฎหมาย" (docteur en droit) ฝ่ายนิติศาสตร์ (sciences juridiques) นอกจากนี้เขายังสอบไล่ได้ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูงในสาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง (diplôme d'études supérieures d'économie politique) อีกด้วยการสมรสและครอบครัว การสมรสและครอบครัว. ปรีดีสมรสกับ พูนศุข ณ ป้อมเพชร์ ธิดา มหาอำมาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร) กับ คุณหญิงเพ็ง ชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (สุวรรณศร) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 มีบุตร-ธิดาด้วยกันทั้งหมด 6 คน คือ1. นางสาวลลิตา พนมยงค์ (ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) 2. นายปาล พนมยงค์ สมรสกับ นางเลิศศรี พนมยงค์ (จตุรพฤกษ์) 3. นางสาวสุดา พนมยงค์ 4. นายศุขปรีดา พนมยงค์ สมรสกับ นางจีรวรรณ พนมยงค์ (วรดิลก) 5. นางดุษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล สมรสกับ นายชาญ บุญทัศนกุล 6. นางวาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ สมรสกับ นายสุรพันธ์ สายประดิษฐ์หน้าที่การงานก่อนเข้าสู่การเมือง หน้าที่การงานก่อนเข้าสู่การเมือง. เมื่อกลับถึงกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2470 ปรีดีเริ่มทำงานในตำแหน่งผู้พิพากษาประจำกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้ช่วยเลขานุการกรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา) และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงประดิษฐ์มนูธรรม" เมื่อ พ.ศ. 2471 ขณะมีอายุ 28 ปี ต่อมาใน พ.ศ. 2475 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกรมร่างกฎหมาย (ต่อมาได้ลาออกจากบรรดาศักดิ์พร้อมกับคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 ใน พ.ศ. 2485 และกลับไปใช้ชื่อเดิมคือ นายปรีดี พนมยงค์) ในช่วงที่รับราชการในกระทรวงยุติธรรมนี้ ปรีดีได้รวบรวมกฎหมายไทยตั้งแต่แรกจนถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ในสภาพกระจัดกระจายให้มารวมเป็นเล่มเดียว ใช้ชื่อว่า “ประชุมกฎหมายไทย” และได้รับการตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2473 ที่โรงพิมพ์นิติสาสน์ซึ่งเป็นกิจการส่วนตัวของเขาเอง หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยมและสร้างรายได้ให้แก่ปรีดีเป็นอย่างมาก นอกจากงานที่กรมร่างกฎหมายแล้ว ปรีดียังเป็นอาจารย์ผู้สอนที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ในชั้นแรกได้สอนวิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ว่าด้วยลักษณะหุ้นส่วน บริษัทและสมาคม ต่อมาได้สอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล ลูกศิษย์ของเขาในช่วงดังกล่าวนี้ได้แก่ สัญญา ธรรมศักดิ์ จิตติ ติงศภัทิย์ ดิเรก ชัยนาม เสริม วินิจฉัยกุล เสวต เปี่ยมพงศ์สานต์ ไพโรจน์ ชัยนาม จินดา ชัยรัตน์ โชติ สุวรรณโพธิ์ศรี และศิริ สันตะบุตร ใน พ.ศ. 2474 ปรีดีเป็นคนแรกที่เริ่มสอนวิชากฎหมายปกครอง (Droit Administratif) กล่าวกันว่าวิชากฎหมายปกครองนี้ เป็นวิชาที่สร้างชื่อเสียงแก่ปรีดีเป็นอย่างมาก เพราะสาระของวิชานี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชากฎหมายมหาชน ซึ่งอธิบายถึงหลักการแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยอันเป็นหัวใจของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในขณะที่ประเทศไทยยังคงปกครองอยู่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในขณะเดียวกัน ก็ได้อาศัยการสอนที่โรงเรียนดังกล่าว ปลุกจิตสำนึกนักศึกษาให้สนใจเป็นขั้น ๆ ถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนระบบการปกครองจากระบบเดิมให้เป็นระบบราชาธิปไตยภายใต้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินประชาธิปไตย นอกจากนี้ยังได้เปิดอบรมทบทวนวิชากฎหมายที่บ้านถนนสีลมเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์กับนักศึกษาให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น จึงมีลูกศิษย์ลูกหาเข้าร่วมเป็นสมาชิกและผู้สนับสนุนคณะราษฎรในเวลาต่อมาหลายคนบทบาททางการเมืองก่อนสงครามโลกครั้งที่สองการเปลี่ยนแปลงการปกครอง บทบาททางการเมืองก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง. ในขณะที่อยู่ในประเทศฝรั่งเศส ปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับเพื่อนอีก 6 คน ประชุมอย่างเป็นทางการครั้งแรกเพื่อก่อตั้ง "คณะราษฎร" เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 ณ หอพักแห่งหนึ่งย่าน "Rue Du Sommerard" กรุงปารีส ผู้ร่วมประชุมประกอบด้วย ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี, ร.ท.แปลก ขิตตะสังคะ, ร.ต.ทัศนัย มิตรภักดี, ภก.ตั้ว ลพานุกรม, หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี), นายแนบ พหลโยธิน โดยมีวัตถุประสงค์คือ เปลี่ยนการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และการดำเนินเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการ คือ1. จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในทางการเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศไว้ให้มั่นคง 2. จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก 3. จะต้องบำรุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะจัดหางานให้ราษฎรทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก 4. จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน ไม่ใช่ให้พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที่เป็นอยู่ 5. จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการดังกล่าวข้างต้น 6. จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ปรีดีร่วมกับสมาชิกคณะราษฎรที่ประกอบด้วยกลุ่มทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน ยึดอำนาจการปกครองประเทศจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองได้สำเร็จโดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อ หลังจากนั้นคณะราษฎรโดยปรีดี พนมยงค์ ได้จัดให้มีการประชุมระหว่างคณะราษฎร และเสนาบดี ปลัดทูลฉลอง ขึ้น ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อชี้แจงจุดประสงค์ หลักการระบอบใหม่ กฎหมายพระธรรมนูญการปกครองแผ่นดินโดยย่อ และขอความร่วมมือในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไปการวางรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย การวางรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปรีดี พนมยงค์ ถือเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่ เป็นผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศ โดยเป็นผู้ร่างพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ที่ประกาศใช้เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พร้อมกันนั้นยังมีบทบาทสำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของสยาม ที่ใช้เป็นบรรทัดฐานของการปกครองในระบอบใหม่ ในขณะเดียวกัน ปรีดีก็ได้รับแต่งตั้งจากสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นเลขาธิการคนแรกของสภาผู้แทนราษฎรสยาม ด้วยตำแหน่งดังกล่าว ทำให้เขามีบทบาทด้านนิติบัญญัติในการวางหลักสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคให้แก่ราษฎร โดยเป็นผู้ยกร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งฉบับแรก และเป็นผู้ริเริ่มให้สตรีมีสิทธิ์ในการออกเสียงเลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้งผู้แทนราษฎรได้เช่นเดียวกับเพศชาย และจากการที่ได้ไปศึกษาในประเทศฝรั่งเศส ปรีดีจึงสนับสนุนแนวคิดเรื่องศาลปกครอง และก็เป็นผู้นำเอาวิชา "กฎหมายปกครอง" (droit administratif) มาสอนเป็นคนแรก ณ โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม แนวคิดดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความต้องการให้ราษฎรสามารถตรวจสอบฝ่ายปกครองได้ และมีสิทธิในทางการเมืองเท่าเทียมกับข้าราชการอย่างแท้จริง เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วเขาจึงผลักดันให้รัฐบาลยกฐานะกรมร่างกฎหมายและสถาปนาขึ้นเป็น "คณะกรรมการกฤษฎีกา" ทำหน้าที่ยกร่างกฎหมายและเป็นที่ปรึกษากฎหมายของแผ่นดิน ทั้งยังพยายามผลักดันให้คณะกรรมการกฤษฎีกาทำหน้าที่ศาลปกครองอีกด้วย แต่ก็ทำไม่สำเร็จ เนื่องจากวัฒนธรรมในทางอำนาจนิยมของรัฐไทยยังมีอยู่หนาแน่น ความพยายามในการตั้งศาลปกครองของปรีดีจึงประสบอุปสรรคมาโดยตลอด ใน พ.ศ. 2476 ได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ หรือที่เรียกกันว่า "สมุดปกเหลือง" ต่อรัฐบาลเพื่อใช้เป็นนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร โดยดำเนินเศรษฐกิจแบบสหกรณ์ แต่ไม่ทำลายกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของเอกชน ซึ่งเขาได้ชี้แจงไว้ว่า ปรีดียังได้วางหลักการประกันสังคม คือ ให้การประกันแก่ราษฎรทั้งหลายตั้งแต่เกิดจนตาย ที่จะได้รับความอุปการะจากรัฐบาล หากไม่สามารถทำงานได้ ซึ่งระบุไว้อย่างชัดเจนในหมวดที่ 3 แห่งเค้าโครงการเศรษฐกิจ ในชื่อร่าง "พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร" แต่แนวความคิดดังกล่าวถูกมองว่าเป็นคอมมิวนิสต์ และถูกคัดค้านอย่างหนักจากกลุ่มอนุรักษนิยมการกระจายอำนาจการปกครอง การกระจายอำนาจการปกครอง. ปรีดีเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 เพื่อให้รูปแบบและระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการกระจายอำนาจการปกครองสู่ท้องถิ่น เมื่อเข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2476–พ.ศ. 2478) ก็ได้ริเริ่มให้มีการจัดตั้ง "เทศบาล" ทั่วราชอาณาจักรสยาม ตาม พระราชบัญญัติเทศบาล โดยมุ่งหวังให้การปกครองทัองถิ่นเป็นรากฐานสำคัญของระบอบประชาธิปไตย และได้กวดขันให้มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านและกำนันตาม พระราชบัญญัติปกครองท้องที่ และจัดตั้งกรมโยธาเทศบาลเพื่อสอดคล้องกับการปกครองเทศบาลและสร้างทางท้องที่หลายจังหวัด นอกจากนี้เขายังได้สร้างโรงพยาบาลหลายแห่ง รวมทั้งจัดให้มีเรือพยาบาลตามลำน้ำโขงโดยใช้สลากกินแบ่งของท้องที่ สร้างฝายและพนังหลายแห่งเพื่อช่วยชาวนาและเกษตรกร สร้างทัณฑนิคมเพื่อให้ผู้พ้นโทษแล้วมีที่ดินของตน ฯลฯด้านพระพุทธศาสนา ด้านพระพุทธศาสนา. ปรีดีเป็นผู้มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลง พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ จากฉบับ ร.ศ. 121 (พ.ศ. 2445) มาเป็น พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2484 ทำให้การปกครองสงฆ์เป็นประชาธิปไตย อนุวัตรคล้อยตามการปกครองของบ้านเมืองไปด้วย แต่ พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2484 ใช้ได้เพียง 20 ปี ก็มีเหตุการณ์ไม่ราบรื่นเกิดขึ้นในสังฆมณฑลอย่างจงใจ จนนำคณะสงฆ์กลับไปสู่การปกครองระบอบเผด็จการโดยคณะเดียว ภายใต้ พระราชบัญญัติสงฆ์ พ.ศ. 2505ด้านการศึกษา ด้านการศึกษา. ในขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปรีดี พนมยงค์ ได้สถาปนา "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" (มธก.) ขึ้นเมื่อ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477] และได้รับแต่งตั้งเป็น "ผู้ประศาสน์การ" (พ.ศ. 2477–พ.ศ. 2490) คนแรกและคนเดียวของมหาวิทยาลัย เพื่อสนองเจตนารมณ์ของคณะราษฎรที่ว่า "จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร" ด้วยเห็นว่าในขณะนั้น สถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มีอยู่มิได้เปิดกว้างเพื่อชนส่วนใหญ่ ดังนั้นมหาวิทยาลัยใหม่ตามแนวความคิดของเขา จึงเป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดกว้างเพื่อราษฎร เป็นตลาดวิชา ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการศึกษาเล่าเรียนเท่าเทียมกัน ปรีดีกล่าวไว้ในวันสถาปนามหาวิทยาลัยว่า มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในระยะแรกมิได้ใช้งบประมาณแผ่นดิน หากอาศัยเงินที่มาจากค่าสมัครเข้าเรียนของนักศึกษาทั่วราชอาณาจักรและดอกผลที่ได้มาจากธนาคารแห่งเอเชียเพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งปรีดีเป็นผู้ก่อตั้ง โดยให้มหาวิทยาลัยถือหุ้นถึง 80% นอกจากนี้ปรีดียังได้ยกกิจการโรงพิมพ์นิติสาส์นของเขาให้แก่มหาวิทยาลัยเพื่อพิมพ์เอกสารตำราคำสอนแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยดังกล่าวได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย ยิ่งไปกว่านั้นยังมีบทบาทสำคัญในการต่อต้านสงครามและต่อสู้เพื่อสันติภาพ โดยมหาวิทยาลัยเป็นที่ตั้งศูนย์บัญชาการใหญ่ของขบวนการเสรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากที่ปรีดีต้องลี้ภัยทางการเมือง รัฐบาลได้เปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัย โดยตัดคำว่า "วิชา" และ "การเมือง" ออก เหลือเพียงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อไม่ให้นักศึกษายุ่งเกี่ยวกับการเมือง ทั้งยังขายหุ้นทั้งหมดของมหาวิทยาลัย จนไม่มีความสามารถที่จะเลี้ยงตัวเองได้ กลายเป็นมหาวิทยาลัยปิดที่ต้องอาศัยงบประมาณจากรัฐบาลด้านการต่างประเทศ ด้านการต่างประเทศ. เมื่อภารกิจด้านการปกครองในกระทรวงมหาดไทยเข้ารูปเข้ารอยแล้ว ปรีดี พนมยงค์ ได้ก้าวเข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ. 2478–พ.ศ. 2481) ในเวลานั้นสยามยังอยู่ภายใต้บังคับของสนธิสัญญาระหว่างประเทศอันไม่เป็นธรรม ที่รัฐบาลสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้ถูกบังคับให้ทำไว้กับประเทศต่าง ๆ 13 ประเทศ ในนามของ "สนธิสัญญาทางไมตรีพาณิชย์และการเดินเรือ" ใน พ.ศ. 2478 หลังจากได้ประกาศใช้ประมวลกฎหมายแล้ว รัฐบาลเห็นว่าถึงเวลาแล้วที่ควรจะหาทางยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค และทวงอำนาจอธิปไตยของประเทศกลับคืนมา โดยยึดหลักเอกราชทั้งในทางการเมือง การศาล และเศรษฐกิจ ตลอดจนหาทางลดอัตราดอกเบี้ยในการกู้ยืมเงินที่รัฐบาลเก่าได้ทำสัญญาไว้ ปรีดี พนมยงค์ และคณะจึงออกเดินทางไปพบปะเจรจากับผู้นำประเทศมหาอำนาจต่าง ๆ ในยุโรป อเมริกา และเอเชีย อาทิ เบนิโต มุสโสลินี ผู้นำฟาสซิสต์แห่งอิตาลี ปีแอร์ ลาวาล นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส ฮจาล์ มาร์ ซาคท์ตัวแทนของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำนาซีเยอรมัน เซอร์ แซมมวล ฮอร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษ คอร์เดล ฮัลล์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา จักรพรรดิฮิโรฮิโตแห่งญี่ปุ่น และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ในหลายประเทศ ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ดำรงตำแหน่ง ปรีดีได้ใช้ความพยายามทางการทูตเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคที่สยามได้ทำไว้กับประเทศมหาอำนาจ 13 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ สเปน โปรตุเกส เดนมาร์ก สวีเดน อิตาลี เบลเยียม และนอร์เวย์ ตามลำดับ ซึ่งประเด็นหลักในการแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคมีอยู่ 2 ประเด็น คือ1. สิทธิสภาพนอกอาณาเขต คือคนในบังคับของต่างประเทศไม่ต้องขึ้นต่อศาลสยาม ทำให้สยามสูญเสียเอกราชในทางศาล 2. ภาษีร้อยชักสาม คือรัฐบาลสยามสามารถเรียกเก็บภาษีศุลกากรขาเข้าได้เพียงไม่เกินร้อยละ 3 ทำให้สยามขาดรายได้เข้าประเทศเท่าที่ควรจะได้ นับเป็นการสูญเสียเอกราชในทางเศรษฐกิจ โดยใช้ยุทธวิธีบอกเลิกสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับประเทศคู่สัญญาเหล่านั้น และได้ยื่นร่างสนธิสัญญาฉบับใหม่โดยอาศัยหลัก "ดุลยภาพแห่งอำนาจ" จนสามารถยกเลิกสนธิสัญญาดังกล่าวเป็นผลสำเร็จ ทำให้สยามได้เอกราชทางศาลและเอกราชทางเศรษฐกิจกลับคืนมา และมีสิทธิเสมอภาคกับนานาประเทศทุกประการ หนังสือพิมพ์สเตรตไทม์ของสิงคโปร์ กล่าวยกย่องปรีดีไว้ในบทบรรณาธิการว่า "ดอกเตอร์ปรีดี พนมยงค์ เสมือนหนึ่งเป็น แอนโทนี อีเดน" ผู้เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศคนสำคัญของรัฐบาลอังกฤษด้านการคลัง ด้านการคลัง. เมื่อปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (พ.ศ. 2481–พ.ศ. 2484) ได้ตั้งปณิธานที่จะใช้เครื่องมือทางการคลังสร้างความมั่นคงให้แก่ชาติ สร้างความเป็นธรรมและความสุขสมบูรณ์แก่ราษฎร โดยแถลงต่อรัฐสภาว่าจะปรับปรุงระบบการเก็บภาษีให้เป็นธรรมแก่สังคม และได้บรรลุภารกิจในด้านการจัดเก็บภาษีอากรที่สำคัญ ดังนี้1. ช่วยเหลือราษฎรที่ต้องแบกรับภาษีที่ไม่เป็นธรรม ด้วยการยกเลิกเงินภาษีรัชชูปการ และอากรค่านา (เงินส่วย) ซึ่งชาวนาต้องเสียแก่เจ้าศักดินา เป็นต้น 2. จัดระบบเก็บภาษีอากรที่เป็นธรรมในระบอบประชาธิปไตยโดนสถาปนา "ประมวลรัษฎากร" เป็นแบบฉบับครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งรวมบทบัญญัติเกี่ยวกับภาษีอากรทางตรง 3. ออก พรบ.ภาษีเงินได้ ซึ่งเป็นภาษีก้าวหน้า กล่าวคือผู้ใดมีรายได้มากก็เสียภาษีมากหากมีรายได้น้อยก็เสียภาษีน้อย และผู้ใดบริโภคเครื่องบริโภคที่ไม่จำเป็นแก่การดำรงชีพก็ต้องเสียภาษีอากรมากตามลำดับ ในด้านการสร้างเสถียรภาพทางการเงินและการคลังของประเทศ ปรีดีคาดการณ์ว่าอาจเกิดสงครามโลกครั้งที่สองขึ้นในไม่ช้า เงินปอนด์สเตอร์ลิงซึ่งสยามประเทศใช้เป็นทุนสำรองเงินตราอาจจะลดค่าลงได้ เขาพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วเห็นว่าภายใต้สถานการณ์ของโลกที่มีความไม่แน่นอนนั้น การเก็บรักษาทุนสำรองของชาติเอาไว้เป็นทองคำแท่งน่าจะเป็นนโยบายที่เหมาะสม และเห็นว่าอังกฤษซึ่งอยู่ในสถานะสงครามกับเยอรมนีในยุโรปแล้วตั้งแต่ปี 2482 มีแนวโน้มว่าจะต้องเผชิญหน้ากับญี่ปุ่นในเอเชียแปซิฟิกด้วยในอนาคตอันใกล้ อันจะมีผลกระทบต่อสถานภาพของเงินปอนด์สเตอร์ลิงอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น จึงได้จัดการเอาเงินปอนด์ที่เป็นเงินทุนสำรองเงินตราจำนวนหนึ่งซื้อทองคำแท่งหนัก 1 ล้าน ออนซ์ ในราคาออนซ์ละ 35 ดอลลาร์สหรัฐ นำมาเก็บไว้ในห้องนิรภัยกระทรวงการคลัง นอกจากนี้ยังได้โอนเงินปอนด์เพื่อแลกซื้อเงินดอลลาร์และทองคำแท่งเก็บไว้ที่สหรัฐอเมริกาอีกส่วนหนึ่ง ทำให้เสถียรภาพของค่าเงินบาทในเวลานั้นมั่นคงที่สุดแม้ว่าเป็นระยะใกล้จะเกิดสงครามเต็มทีแล้ว ทองคำแท่งจำนวนดังกล่าวยังคงเก็บรักษาไว้เป็นทุนสำรองเงินบาทอยู่จนทุกวันนี้ เมื่อได้ปรับปรุงระบบภาษีอากรให้เกิดความเป็นธรรมแก่สังคมขึ้นในระดับหนึ่งแล้ว อีกทั้งระบบการเงินของประเทศก็มีความมั่นคงด้วยทุนสำรองเงินตราอันประกอบด้วยทองคำและเงินตราต่างประเทศในสกุลที่ทั่วโลกยอมรับ ปรีดีในฐานะผู้รับผิดชอบบริหารนโยบายการเงินการคลังของประเทศ ก็ได้รื้อฟื้นเรื่องการจัดตั้งธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งชาติ ซึ่งได้เคยปรารภไว้แล้วในเค้าโครงการเศรษฐกิจมาพิจารณาอย่างจริงจัง โดยจัดตั้งสำนักงานธนาคารชาติไทยขึ้นก่อน และเร่งฝึกพนักงานเจ้าหน้าที่ไว้ให้พร้อมในการบริหารธนาคารชาติ ต่อมาจึงได้จัดตั้ง "ธนาคารชาติไทย" ขึ้น ใน พ.ศ. 2483 ปัจจุบันคือ "ธนาคารแห่งประเทศไทย" เพื่อทำหน้าที่เป็นธนาคารชาติของรัฐโดยสมบูรณ์บทบาทในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง บทบาทในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง. ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองจะอุบัติขึ้น ปรีดี พนมยงค์ เล็งเห็นว่าลัทธิเผด็จการทหารกำลังจะจุดชนวนให้เกิดสงครามโลก จึงอำนวยการสร้างภาพยนตร์เรื่อง "พระเจ้าช้างเผือก" เพื่อสื่อทัศนะสันติภาพและคัดค้านการทำสงครามผ่านไปยังนานาประเทศ โดยแสดงจุดยืนอย่างแจ่มชัดด้วยพุทธภาษิตที่ปรากฏในภาพยนตร์ที่ว่า "นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ" (ไม่มีสุขใดเสมอด้วยความสงบสันติ) ยิ่งไปกว่านั้นเขายังสื่อให้เห็นว่าชาวสยามพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อต่อด้านสงครามรุกรานอย่างมีศักดิ์ศรีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์. วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สภาผู้แทนราษฎรมีมติแต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลขึ้นใหม่ แทนเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ซึ่งถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และปรีดี พนมยงค์ ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ทรงลาออกจากตำแหน่ง สภาผู้แทนราษฎรจึงมีมติแต่งตั้งปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แต่ผู้เดียว (1 สิงหาคม พ.ศ. 2487–20 กันยายน พ.ศ. 2488) และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อไปอีก เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไม่สามารถเสด็จนิวัติประเทศไทยได้หัวหน้าขบวนการเสรีไทย หัวหน้าขบวนการเสรีไทย. ปลาย พ.ศ. 2484 สงครามมหาเอเชียบูรพาปะทุขึ้นเมื่อกองทัพญี่ปุ่นเปิดฉากโจมตีฐานทัพเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์ของสหรัฐอเมริกา และรวมไปถึงดินแดนในครอบครองของอังกฤษและเนเธอร์แลนด์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมา เช้ามืดวันที่ 8 ธันวาคม ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกตามแนวชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย และส่งกองกำลังภาคพื้นดินบุกเข้าประเทศไทยทางอินโดจีนฝรั่งเศส รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ตกลงทำสัญญาเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นเพื่อให้กองทัพญี่ปุ่นเดินทัพผ่านแผ่นดินไทย ในที่สุดก็ร่วมวงไพบูลย์กับญี่ปุ่น และประกาศสงครามต่อฝ่ายสัมพันธมิตรอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 อันเป็นการละเมิดต่อประกาศพระบรมราชโองการให้ปฏิบัติตามความเป็นกลาง พ.ศ. 2482 ปรีดี พนมยงค์ ไม่เห็นด้วยกับการให้ญี่ปุ่นละเมิดอธิปไตยและแสดงจุดยืนให้ปรากฏโดยเป็นผู้นำในการจัดตั้งองค์การต่อต้านญี่ปุ่น หรือต่อมาเรียกว่า "ขบวนการเสรีไทย" ประกอบด้วยคนไทยทุกชั้นวรรณะ ทั้งที่อยู่ในประเทศและอยู่ต่างประเทศ เขาไม่ยอมลงนามในประกาศสงครามนั้นด้วยเหตุผลสำคัญที่ว่า หากลงนามไปแล้วก็ยากที่จะให้ฝ่ายสัมพันธมิตรเชื่อถือการปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย กระแสความไม่พอใจต่อการตัดสินใจของรัฐบาลจอมพล ป. ได้พุ่งขึ้นอย่างรวดเร็วในหมู่ชนทุกเหล่า แต่รัฐบาลถือว่าตนเองมีความชอบธรรมในการปราบปรามผู้ที่ไม่เห็นด้วย อีกทั้งกองทัพญี่ปุ่นที่เข้ามาประจำการในประเทศ ก็ใช้ท่าทีที่แข็งกร้าวต่อผู้ที่ต้องสงสัยว่าดำเนินกิจกรรมต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น ดังนั้นปฏิบัติการต่อต้านรัฐบาลและญี่ปุ่นผู้รุกรานจึงต้องเป็นงาน "ใต้ดิน" ที่ปิดลับ ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในรหัสนามว่า "รู้ธ" (Ruth) ทำงานในสองบทบาทตลอดสงครามมหาเอเชียบูรพา โดยถือความลับสุดยอดเป็นหัวใจของการปฏิบัติงาน คณะผู้ก่อตั้งขบวนการเสรีไทยได้กำหนดภารกิจที่จะต้องปฏิบัติไว้ในชั้นแรกสองประการ คือ1. ต่อสู้กับญี่ปุ่นผู้รุกราน 2. ปฏิบัติการให้ฝ่ายสัมพันธมิตรรับรองเจตนารมณ์ที่แท้จริงของราษฎรไทย ต่อมาเมื่อรัฐบาลจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ได้ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกา จึงทำให้ภารกิจขององค์การเสรีไทยถูกได้เพิ่มขึ้นมาอีกประการหนึ่ง คือ 3. ให้สัมพันธมิตรรับรองว่าประเทศไทยไม่ตกเป็นฝ่ายแพ้สงครามร่วมกับญี่ปุ่น ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2488 ปรีดีแจ้งให้สัมพันธมิตรทราบว่า เสรีไทยจำนวน 8 หมื่นคนทั่วประเทศพร้อมที่จะลุกฮือขึ้นเพื่อทำสงครามกับทหารญี่ปุ่นอย่างเปิดเผย แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ร้องขอให้ชะลอแผนนี้ไว้ก่อน ด้วยเหตุผลทางแผนยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตร ในที่สุดฝ่ายญี่ปุ่นก็ยอมแพ้สงครามอย่างไม่มีเงื่อนไขเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 เมื่อญี่ปุ่นได้ยอมจำนน ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้แจ้งให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ซึ่งเป็นหัวหน้าขบวนการเสรีไทยว่า สัมพันธมิตรไม่ถือว่าประเทศไทยเป็นผู้แพ้สงคราม ประเทศไทยไม่ต้องถูกยึดครอง รัฐบาลไทยไม่ต้องยอมจำนน กองทัพไทยไม่ต้องวางอาวุธ และให้รีบออกแถลงการณ์ปฏิเสธการประกาศสงครามระหว่างไทยกับสัมพันธมิตร เพื่อลบล้างข้อผูกพันทั้งหลายที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ทำไว้กับญี่ปุ่นประกาศสันติภาพ ประกาศสันติภาพ. วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ว่าการประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็น "โมฆะ" ไม่ผูกพันประชาชนชาวไทย และประเทศไทยพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับสหประชาชาติในการสถาปนาสันติภาพในโลกนี้ ต่อมารัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ 16 สิงหาคม ของทุกปีเป็น "วันสันติภาพไทย" ภายหลังจากการประกาศสันติภาพ ตัวแทนพลพรรคเสรีไทยจากทั่วประเทศกว่า 8, 000 นาย ได้เดินสวนสนามผ่านอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน โดยมีปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และหัวหน้าขบวนการเสรีไทยเป็นประธาน เมื่อสิ้นสุดภารกิจลงแล้ว เขาได้ประกาศยกเลิกขบวนการเสรีไทย โดยมีสุนทรพจน์บางตอนว่า เมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์ จึงขออัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป โดยได้เสด็จกลับถึงพระนครวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสตอบปรีดีที่ไปเฝ้ารับเสด็จดังนี้บทบาททางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สองรัฐบุรุษอาวุโส บทบาททางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง. รัฐบุรุษอาวุโส. ด้วยคุณูปการที่เป็นผู้นำในการกอบกู้บ้านเมืองในยามคับขัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องปรีดี พนมยงค์ ไว้ในฐานะ "รัฐบุรุษอาวุโส" ซึ่งถือได้ว่าเป็นตำแหน่งทางการเมืองอันทรงเกียรติสูงสุด ดังที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2488 ความว่า ในโอกาสนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงได้รับพระราชทาน แก่รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2488ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี. ปรีดี พนมยงค์ ได้รับเลือกจากสภาผู้แทนราษฎรให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาได้ใช้ความรู้ความสามารถเจรจาต่อรองกับฝ่ายสัมพันธมิตรในปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงกับอังกฤษ เรื่องสัญญาสมบูรณ์แบบ และการเจรจาให้รัฐบาลสหรัฐยกเลิกคำสั่งเพิกถอนเงินซึ่งได้ถูกกักกันไว้ในสหรัฐ ให้ประเทศไทยสามารถแก้ไขสถานะผู้แพ้สงครามได้สำเร็จอย่างละมุนละม่อม สามารถเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติลำดับที่ 55 วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดีที่เพิ่งชนะเลือกตั้งหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 จึงขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาให้อัญเชิญพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์ต่อไป เมื่อสภามีมติเห็นชอบแล้ว ปรีดีก็ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ทั้งที่เพิ่งได้รับโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2489 แต่สภาผู้แทนราษฎรก็สนับสนุนให้ปรีดีดำรงตำแหน่งตามเดิม กรณีสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้ทำให้ศัตรูทางการเมืองของปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารสาย จอมพล ป. พิบูลสงครามที่สูญเสียอำนาจหลังสงครามโลกครั้งที่สอง พรรคการเมืองฝ่ายค้านนำโดย พรรคประชาธิปัตย์ และกลุ่มอำนาจเก่า ฉวยโอกาสนำมาใช้ทำลายปรีดีทางการเมือง โดยการกระจายข่าวไปตามหนังสือพิมพ์ ร้านกาแฟ และสถานที่ต่าง ๆ รวมทั้งส่งคนไปตะโกนในศาลาเฉลิมกรุงว่า "ปรีดีฆ่าในหลวง" และนำไปสู่การลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของเขาในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2489 โดยหลังจากนั้น หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มปรีดี ให้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ต้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2489 ภายหลังจากที่ปรีดีลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแล้ว ก็ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น รัฐบาลไทยจึงมอบหมายให้เขาเป็นหัวหน้าคณะทูตสันถวไมตรีเดินทางรอบโลกเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีและพบปะกับผู้นำนานาประเทศ โดยได้ไปเยือนประเทศจีนเป็นแห่งแรก จากนั้นก็ไปฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และนอร์เวย์ รวมทั้งสิ้นเก้าประเทศ และกลับมาถึงกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 รวมเวลาที่ออกไปปฏิบัติภารกิจในต่างประเทศ 3 เดือนเต็มลี้ภัยรัฐประหาร ลี้ภัยรัฐประหาร. ต่อมาในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 คณะรัฐประหาร ประกอบด้วย พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ พ.อ.กาจ กาจสงคราม พ.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ พ.อ.สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ.อ.ถนอม กิตติขจร พ.ท.ประภาส จารุเสถียร และ ร.อ.สมบูรณ์ (ชาติชาย) ชุณหะวัณ ได้ยึดอำนาจการปกครองประเทศ จากรัฐบาลหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ ด้วยสาเหตุที่รัฐบาลไม่สามารถคลี่คลายคดีสวรรคตลงได้ ประกอบกับการลดบทบาทของกองทัพ และปัญหาทางเศรษฐกิจ หลังจากยึดอำนาจสำเร็จ คณะรัฐประหารได้นำกำลังทหารพร้อมรถถังบุกยิงทำเนียบท่าช้างวังหน้าซึ่งปรีดีและครอบครัวอาศัยอยู่ แล้วพยายามจะจับกุมตัวปรีดี แต่เขาก็หลบหนีไปได้ภายใต้การอารักขาของทหารเรือและได้อาศัยฐานทัพเรือสัตหีบเป็นที่หลบภัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง เมื่อพิจารณาเห็นว่ายังไม่พร้อมที่จะต่อต้านคณะรัฐประหาร จึงได้ลี้ภัยการเมืองไปยังประเทศสิงคโปร์ จนถึงปลายเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2491 จึงออกเดินทางต่อไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน ต่อมา ใน พ.ศ. 2492 ปรีดี พนมยงค์ กลับมาประเทศไทยเพื่อยึดอำนาจคืนจากรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเหตุการณ์ "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 แต่กระทำไม่สำเร็จ (เรียกกันว่า "กบฏวังหลวง") ทำให้ปรีดี พนมยงค์ ต้องเดินทางออกจากประเทศไทยไปพำนักยังประเทศสิงคโปร์เพื่อจะไปสู่สหรัฐอเมริกา แต่ด้วยเหตุที่มีปัญหาเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง ทำให้ปรีดีต้องเดินทางไปยังประเทศจีนซึ่งขณะนั้นยังอยู่ภายใต้รัฐบาลก๊กมินตั๋งแทน ต่อมา พ.ศ. 2513 จึงได้เดินทางต่อไปยังกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และได้พำนักอยู่ที่นั่นตลอดมาจนเสียชีวิตปัจฉิมวัย ปัจฉิมวัย. หลายปีที่ปรีดีลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ยังมีการกล่าวหาว่าปรีดีสมคบการปลงพระชนม์ในหลวงอยู่เป็นระยะ ๆ เขาจึงต้องฟ้องร้องผู้ใส่ความหมิ่นประมาทต่อศาลยุติธรรม ผลปรากฏว่าศาลตัดสินให้ชนะทุกคดี นอกจากนี้ โดยคำพิพากษาของศาลในกรณีฟ้องร้องรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีสกับพวก ในข้อหาร่วมกันละเมิดสิทธิของโจทก์ ปรีดีจึงได้รับความรับรองจากทางราชการในฐานะคนไทยโดยสมบูรณ์ตามกฎหมายทุกประการ และได้รับเงินบำนาญตลอดจนได้รับหนังสือเดินทางของไทย ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ปรีดีได้มีโอกาสพบปะสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้นำพรรคและรัฐบาลจีนไม่ว่าจะเป็นประธานาธิบดีเหมา เจ๋อตง นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล จอมพลเฉินยี่ เติ้ง เสี่ยวผิง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน นอกจากนี้ยังได้พบปะสนทนากับผู้นำกอบกู้เอกราชของชาติในอินโดจีน อาทิ ประธานาธิบดีโฮจิมินห์และนายกรัฐมนตรีฝ่ามวันดง แห่งเวียดนาม เจ้าสุภานุวงศ์ ประธานประเทศลาว เจ้าสุวรรณภูมา และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กษัตริย์แห่งกัมพูชา โดยเฉพาะมิตรภาพระหว่างปรีดีกับประธานโฮจิมินห์นั้น ยืนยาวมาตั้งแต่สมัยที่เขาผู้นี้ต่อสู้กับฝรั่งเศส ต้นเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2513 โจวเอินไหลได้อำนวยความสะดวกให้ปรีดีเดินทางจากประเทศจีนไปยังกรุงปารีส ด้วยความช่วยเหลือจากนายกีโยม จอร์จ-ปีโก (Guillaume Georges- Picot) มิตรเก่าที่มีตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตถาวรของประเทศฝรั่งเศส และโดยได้รับความเห็นชอบจากประธานาธิบดี ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ปรีดีจึงได้พำนักอยู่ ณ ประเทศฝรั่งเศส ในช่วงปลายชีวิตอย่างสันติสุข ท่านเป็นผู้สนใจสนใจในพุทธศาสนา โดยเฉพาะหนังสือเรื่อง "กฎบัตรของพุทธบริษัท" ที่พุทธทาสภิกขุส่งไปให้นั้น ปรีดีจะพกในกระเป๋าเสื้อนอกติดตัวอยู่ตลอดเวลาตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต เวลา 11 นาฬิกาเศษ ของวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ณ บ้านอองโตนี ชานกรุงปารีส ปรีดี พนมยงค์ สิ้นใจด้วยอาการหัวใจวายขณะกำลังเขียนหนังสืออยู่ที่โต๊ะทำงานงานเขียน งานเขียน. ปรีดีเป็นผู้ใฝ่หาความรู้ทางด้านวิทยาการต่าง ๆ ทั้งสังคมศาสตร์ ขณะพำนักอยู่ในประเทศจีน ได้ศึกษาค้นคว้าเพื่อรู้แจ้งเห็นจริงทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติ รวมทั้งผลงานของเมธีทางด้านปรัชญาและสังคมศาสตร์ เช่น มาร์กซ์ เองเงิลส์ เลนิน สตาลิน และเหมา เจ๋อตุง ในเชิงเปรียบเทียบสภาพสังคมไทยทุกแง่ทุกมุม อาทิ ระบอบเศรษฐกิจ การเมือง ทัศนะสังคม ประวัติศาสตร์ ชนชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี แล้วได้เรียบเรียงเป็นบทความ ซึ่งได้ตีพิมพ์ในโอกาสต่อมา งานเขียนชิ้นสำคัญของเขาที่นำพุทธปรัชญามาวิเคราะห์วิวัฒนาการของมนุษยสังคมคือ "ความเป็นอนิจจังของสังคม" ซึ่งได้รับการตีพิมพ์หลายครั้งและเป็นที่สนใจของผู้ที่ต้องการศึกษาอยู่ตลอดมา เพราะข้อความที่เขียนอันเป็นสัจจะอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ทุกยุคทุกสมัย ผลงานงานเขียนบางส่วนของปรีดี ได้แก่- บันทึกข้อเสนอเรื่อง ขุดคอคอดกระ, กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 - ชีวิตผันผวนของข้าพเจ้าและ 21 ปีที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน (Ma vie mouvementee et mes 21 ans d' exil en Chine Populaire) - ความเป็นมาของชื่อ “ประเทศสยาม” กับ “ประเทศไทย” - จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม - ประชาธิปไตย เบื้องต้นสำหรับสามัญชน - ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญเบื้องต้นกับการร่างรัฐธรรมนูญ - ปรัชญาคืออะไร - “ความเป็นไปบางประการในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” ใน บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์… - บางเรื่องเกี่ยวกับการก่อตั้งคณะราษฎรและระบบประชาธิปไตย - ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับเอกภาพของชาติและประชาธิปไตย - ความเป็นเอกภาพกับปัญหาสามจังหวัดภาคใต้, สหพันธ์นิสิตนักศึกษาชาวปักษ์ใต้แห่งประเทศไทย, 2517 - อนาคตของเมืองไทยกับสถานการณ์ของประเทศเพื่อนบ้าน, ประจักษ์การพิมพ์, 2518เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย. - พ.ศ. 2488 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ (น.ร.) รับพระราชทาน 11 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2488 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นสูงสุด ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) รับพระราชทาน 9 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - พ.ศ. 2484 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) รับพระราชทาน 19 มิถุนายน พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2480 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) รับพระราชทาน 13 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - พ.ศ. 2478 – เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ รับพระราชทาน 21 เมษายน พ.ศ. 2478 - พ.ศ. 2481 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มราชการแผ่นดิน (ร.ด.ม. (ผ)) รับพระราชทาน 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2481 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อปร.1) รับพระราชทาน 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศการเชิดชูเกียรติวันสำคัญ การเชิดชูเกียรติ. วันสำคัญ. ทุกวันที่ 11 พฤษภาคมของทุกปีเป็นวันปรีดี พนมยงค์ ซึ่งเป็นวันคล้ายวันเกิดของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล เมื่อ ค.ศ. 2000 ปรีดีได้รับการประกาศยกย่องจากยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก และได้มีการบรรจุชื่อไว้ในปฏิทินเฉลิมฉลองบุคคลสำคัญของยูเนสโกพันธุ์สัตว์ พันธุ์สัตว์. เมื่อ พ.ศ. 2546 ได้ค้นพบปลาปล้องทองปรีดี (Schistura pridii) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ โดยตั้งชื่อตามนามของปรีดี พนมยงค์ และ นายเอช.จี.ไดแนน (H.G.Deignan) ได้ค้นพบ นกปรีดี (Chloropsis aurifrons pridii) ที่ดอยอ่าง ดอยอินทนนท์ซึ่งนกปรีดีนั้นเป็นนกชนิดย่อยของนกเขียวก้านตองหน้าผากสีทอง ที่สถาบันสมิธโซเนียนแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะหัวหน้าขบวนการเสรีไทย และพบกระจายพันธุ์อยู่บริเวณภาคเหนือเรื่อยลงไปทางด้านตะวันตกจนถึงจังหวัดตาก เป็นนกประจำถิ่นที่มีสีสันสวยงาม กินผลไม้และแมลงเป็นอาหาร นอกจากนี้นายไดแนน ยังตั้งชื่อนกเขียวก้านตองปีกสีฟ้าอีกชนิดย่อยหนึ่ง ที่พบกระจายพันธุ์อยู่ทางภาคใต้ เพื่อเป็นเกียรติแก่ขบวนการเสรีไทยว่า Chloropsis cochinchinensis seri-thaiสถานที่ สถานที่. อนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ มีอยู่ 2 ที่คือ บริเวณที่ดินถิ่นกำเนิดของปรีดี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอนุสรณ์สถานรำลึกปรีดี พนมยงค์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเมือง ตรงข้ามวัดพนมยงค์ อนุสาวรีย์ปรีดีพนมยงค์เป็นรูปสัญลักษณ์ที่แสดงถึงอุดมการณ์อันสำคัญยิ่งของปรีดี 3 ประการคือ สันติภาพ เสรีไทยและประชาธิปไตย และห้องอนุสรณ์สถานบนตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอนุสรณ์แห่งแรกที่ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงปรีดี พนมยงค์ สถาบันปรีดี พนมยงค์ มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้จัดสร้างอาคารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ขึ้น ณ ซอยทองหล่อ ถนนสุขุมวิท 55 สำหรับใช้ดำเนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทย เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2538 คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ คณะนิติศาสตร์ในมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เพื่อเป็นการรำลึกถึงความผูกพันระหว่างศาสตราจารย์ ปรีดี พนมยงค์ กับศาสตราจารย์ ไสว สุทธิพิทักษ์ ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยและเป็นอธิการบดีคนแรก หอสมุดปรีดี พนมยงค์ เป็นหอสมุดกลางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีเนื้อที่รวมประมาณ 10, 000 ตารางเมตร แต่เดิมชื่อ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเปลี่ยนเป็น ห้องสมุดธรรมศาสตร์ ในเวลาต่อมา ก่อตั้งขึ้นพร้อม กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน พ.ศ. 2477 เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์เพื่อรองรับการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ โดยจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบ 100 ปี ชาตกาลเพลง เพลง. ปรีดีคีตานุสรณ์ คือ บทเพลงซิมโฟนีหมายเลข 4 ประพันธ์โดยคีตกวี สมเถา สุจริตกุล ในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ซึ่งใน พ.ศ. 2543 ดุษฎี พนมยงค์ได้ขับร้องในการแสดงรอบปฐมทัศน์ "ปรีดีคีตานุสรณ์" ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย และใน พ.ศ. 2545 ดุษฎี พนมยงค์ ก็ได้แสดงขับร้องใน "ปรีดีคีตานุสรณ์" ร่วมกับวงดุริยางค์และคณะนักร้องประสานเสียงแห่งชาติเวียดนาม ณ ฮานอยอื่น ๆอื่น ๆ. - ถนนปรีดี พนมยงค์ มีอยู่ 3 สาย คือที่ถนนสุขุมวิท 71, ถนนใจกลางเมืองพระนครศรีอยุธยา และภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต - สะพานปรีดี-ธำรง สะพานข้ามแม่น้ำป่าสักอันเป็นทางเข้าออกหลักของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ตั้งตามชื่อปรีดี พนมยงค์ และหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ - ถนนประดิษฐ์มนูธรรม เป็นถนนเลียบทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายรามอินทรา-อาจณรงค์) มีความยาว 12 กิโลเมตร - แสตมป์ ชุดที่ระลึก 111 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ โดยบริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด วางจำหน่ายครั้งแรก 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ใครคือผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองหรือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปัจจุบัน
3627
{ "answer_end": [ 55 ], "answer_start": [ 49 ], "text": [ "MMORPG" ] }
8248
แร็กนาร็อกออนไลน์ แร็กนาร็อกออนไลน์ (; ) เป็นเกม MMORPG มุมมองบุคคลที่สามจากด้านเฉียงบน ระบบกึ่งสามมิติ (ฉากเป็นภาพสามมิติ แต่ตัวละครและศัตรูเป็นภาพสองมิติ) ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท กราวิตี้ คอร์ปอเรชั่น ประเทศเกาหลีใต้ เริ่มทดสอบระบบเซิร์ฟเวอร์วันที่ 1 พฤศจิกายน 2544 เป็นระยะเวลา 9 เดือน ก่อนเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกในเกาหลีใต้เมื่อ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2545 โดยเนื้อหาส่วนใหญ่มาจากการ์ตูนเรื่อง RAGNAROK ภูตเทพวิบัติ ซึ่งประพันธ์โดยอี มย็อง-จิน สำหรับในประเทศไทยเปิดให้บริการวันที่ 16 กันยายน 2545 แบบโคลสเบต้าจำนวน 3 เซิร์ฟเวอร์ได้แก่ เคออส โลกิ และไอริส วันที่ 25 ตุลาคม 2545 เปิดบริการแบบโอเพ่นเบต้าทั้งหมด 6 เซิร์ฟเวอร์ได้แก่ เคออส โลกิ ไอริส ลิเดีย เฟนรีร์ และซาราห์ โดยบริษัทเอเชียซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์จนถึง พ.ศ. 2559 และเปลี่ยนผู้ถือลิขสิทธิ์เป็น บริษัท อิเลคทรอนิกส์ เอ็กซ์ตรีม จำกัด ตั้งแต่ พ.ศ. 2559ภาพรวม ภาพรวม. เกมแร็กนาร็อกเป็นเกมประเภท เกมออนไลน์แบบเล่นตามบทบาท ซึ่งทำให้ผู้เล่นสามารถพบปะ และมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เล่นอื่นได้หลากหลายอย่างอิสระ การเล่นเกมแร็กนาร็อก ผู้เล่นจะต้องเลือกที่จะเล่นเป็นตัวละครอาชีพต่างๆ (role-playing) ซึ่งตัวละครแต่ละอาชีพจะมีความสามารถ และจุดเด่นจุดด้อยแตกต่างกันไป มีทั้งสายอาชีพที่สามารถเอาตัวรอดด้วยตัวเองได้ และสายอาชีพที่มีความสามารถที่จะช่วยเหลือผู้เล่นอื่น พื้นฐานโดยทั่วไปของการเล่นเกมคือการกำจัดสัตว์ประหลาดเพื่อสะสมไอเทม และได้รับค่าประสบการณ์ เพื่อนำมาพัฒนาสกิล หรือพัฒนาความสามารถของตนให้สูงขึ้น ซึ่งผู้เล่นสามารถที่จะเลือกพัฒนาตัวละครของตัวเองได้อย่างอิสระ ทั้งความสามารถและลักษณะเด่นในตัวเองรวมทั้งการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายในการเล่นของตนเอง เช่น พัฒนาเพื่อสนับสนุนผู้เล่นอื่น พัฒนาเพื่อการต่อสู้ตัวต่อตัว หรือพัฒนาเพื่อต่อสู้ในสงครามระหว่าง Guild ซึ่งลักษณะของการพัฒนาความสามารถ และการใช้ ไอเทมได้อย่างอิสระนี้เอง รวมทั้งสัตว์ประหลาดต่างๆ ซึ่งมีความสามารถ และจุดเด่นจุดด้อยแตกต่างกัน ลักษณะในการโจมตี และการป้องกันที่แตกต่างกันไปในสัตว์ประหลาดแต่ละชนิด ทำให้ผู้เล่น สามารถที่จะเลือกใช้ความสามารถ และอุปกรณ์ต่างๆ ให้เหมาะสมกับการกำจัดสัตว์ประหลาดนั้น ผู้ที่เล่นเกมต้องทำการละทะเบียนเพื่อรับไอดีสำหรับการเล่นเกม ซึ่งสามารถทำได้ผ่านหน้าเว็บไซต์ของแร็กนาร็อกระบบเครื่องที่เล่นได้ ระบบเครื่องที่เล่นได้. รายชื่อ VGA Card ที่ใช้ได้- Chipset Nvidia Chipset MATROX Chipset ATI RADEON - GeForce 2 MX ขึ้นไป - MATROX G400 ขึ้นไป - RADEON ขึ้นไป รายชื่อ VGA Card ที่ไม่แนะนำ ชิพเซ็ตต่อไปนี้อาจจะมีปัญหากับเกม- NVidia Riva TNT - Voodoo3 - S3 Savage - ATI Rage128, Mobility rage/radeon การปรับเกมให้ทำงานได้เร็วขึ้น หากคุณพบว่าเกมมีอาการกระตุกหรือเล่นได้ไม่ราบรื่น อาจจะเป็นเพราะ PC ทำงานหนัก ให้ลองปรับแต่งดังนี้:- ใช้ความละเอียด 640 x 480 ในแบบเต็มจอ - ใช้ตัวเลือก 2D Sound - ตั้งคุณภาพของ Sprite และ Texture ไว้ที่ต่ำสุด - ปิดการใช้ Light Map และ Fogแร็กนาร็อก มังงะแร็กนาร็อก ดิแอนิเมชัน
แร็กนาร็อกออนไลน์เป็นเกมประเภทใด
3621