answers
sequence
article_id
stringlengths
3
20
context
stringlengths
52
87.2k
question
stringlengths
4
234
question_id
stringlengths
1
24
title
stringlengths
0
179
{ "answer_end": [ 101 ], "answer_start": [ 93 ], "text": [ "เบลเยียม" ] }
122707
เขตวัลลูน เขตวัลลูน (; ; ) เรียกอีกอย่างว่า "วาโลเนีย" เป็นเขตการปกครองตามรัฐธรรมนูญของประเทศเบลเยียม ร่วมกับเขตฟลามส์และเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ มีเนื้อที่ 55% ของเนื้อที่ประเทศ แต่มีประชากรเป็นอันดับที่ 3 แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส แต่เขตวัลลูนก็มิได้รวมเข้ากับชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียมเหมือนในกรณีของเขตฟลามส์ซึ่งรวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับชุมชนฟลามส์ นอกจากนี้ในเขตวัลลูนยังมีประชาคมผู้ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งอยู่ในทิศตะวันออกที่มีสภาแยกดูแลในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมโดยเฉพาะ เช่นเดียวกับเขตอื่น ๆ เขตวัลลูนมีสภาและรัฐบาลดูแลกิจการภายในเขต ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เมืองหลวงของเขตคือนามูร์ มีภาษาราชการคือภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมัน ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม วาโลเนียนั้นเป็นเพียงอันดับสองรองจากสหราชอาณาจักรในด้านอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะการถลุงเหล็กและถ่านหิน ซึ่งนำมาซึ่งความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของเขตภูมิภาควัลลูน ตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 วัลลูนถือเป็นครึ่งหนึ่งของเบลเยียมที่ร่ำรวยที่สุด แต่ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมหนักลดลงอย่างมาก ทำให้เขตฟลามส์นั้นก้าวหน้าขึ้นกว่าเขตวัลลูนในด้านเศรษฐกิจ ในปัจจุบันเขตวัลลูนนั้นมีปัญหาด้านอัตราผู้ไม่มีงานทำค่อนข้างสูง และยังมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวประชากร (GDP per Capita) ต่ำกว่าเขตฟลามส์อย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและภาษาของทั้งสองภูมิภาคหลักของเบลเยียมนั้นได้นำพามาซึ่งปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในระดับประเทศในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เมืองหลวงของวาโลเนียตั้งอยู่ที่นามูร์ แต่เขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดนั้นคือลีแยฌ ส่วนเขตเทศบาลเดียวที่มีประชากรมากที่สุดคือ ชาร์เลอรัว เมืองใหญ่ต่างๆในวาโลเนียนั้นตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำซอมบร์ และแม่น้ำเมิส อันประกอบด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดกว่าสองในสามของเขต อันเป็นเขตอุตสาหกรรมในอดีตของเบลเยียม ด้านทิศเหนือนั้นเป็นที่ราบลุ่มภาคกลางของเบลเยียม ซึ่งเหมือนกับเขตฟลามส์ อันมีความอุดมสมบูรณ์และเหมาะสมต่อการทำเกษตรกรรม ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้นั้นเป็นเขตอาร์เดนน์ ซึ่งประกอบด้วยภูเขาสลับอย่างหนาแน่น พรมแดนของเขตวัลลูนทางด้านเหนือนั้นติดกับเขตฟลามส์ และประเทศเนเธอร์แลนด์ ด้านใต้และตะวันตกจรดกับประเทศฝรั่งเศส ส่วนทิศตะวันออกนั้นติดกับประเทศเยอรมนี และประเทศลักเซมเบิร์กเขตการปกครอง เขตการปกครอง. เขตวัลลูนนั้นแบ่งการปกครองออกเป็นห้ามณฑล (Province) ได้แก่ วัลลูนบราบันต์, แอโน, ลีแยฌ, ลักเซมเบิร์ก และ นามูร์ ตามหมายเลขหนึ่งถึงห้าที่อยู่ในรูปภาพมุมบนขวา โดยแบ่งย่อยการปกครองลงไปเป็นเขตการปกครองท้องถิ่น () จำนวน 20 เขตปกครอง อันประกอบด้วยเทศบาลทั้งหมดถึง 262 แห่ง เมืองสำคัญในเขตวัลลูนที่มีจำนวนประชากรหนาแน่นได้แก่- ชาร์เลอรัว (204,146 คน) - ลีแยฌ (195,790 คน) - นามูร์ (110,428 คน) - มงส์ (92,529 คน) - ลา ลูวิแยร์ (78,414 คน) - ตูร์เน (69,792 คน) - เซอแรง (63,500 คน) - แวร์วิเย (56,596 คน) - มูครง (55,687 คน) - แอร์สตัล (38,969 คน) - แบรน-ลัลเลอ (38,748 คน) - ชาเตอเล (36,131 คน)
เขตวัลลูนเป็นเขตการปกครองตามรัฐธรรมนูญของประเทศใด
3974
{ "answer_end": [ 80 ], "answer_start": [ 74 ], "text": [ "อังกฤษ" ] }
345932
สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตี สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตี () เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพของอังกฤษ มีสนามเหย้า คือ คิงเพาเวอร์สเตเดียมในเมืองเลสเตอร์ ปัจจุบันเล่นอยู่ในพรีเมียร์ลีก โดยเลื่อนชั้นในฐานะทีมที่ชนะเลิศจากฟุตบอลลีกแชมเปียนชิปในฤดูกาล 2013–14 ซึ่งเป็นการกลับมาเล่นในลีกสูงสุดครั้งแรกในรอบทศวรรษ ในฤดูกาล 2015–16 เลสเตอร์ซิตีสามารถคว้าแชมป์พรีเมียร์ลีกได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสรประวัติ ประวัติ. สโมสรก่อตั้งในปี ค.ศ. 1884 โดยใช้ชื่อว่า เลสเตอร์ฟอสส์ (Leicester Fosse) โดยเด็กนักเรียนกลุ่มหนึ่งที่เรียนอยู่ในโรงเรียนโบสถ์ที่เคร่งครัด ลงขันกันเพื่อซื้อลูกฟุตบอลราคา 9 เพนนี มาเตะเล่น โดยการแข่งขันนัดแรกของสโมสร ตามที่บันทึกไว้ในหนังสือพิมพ์เดอะมิร์เรอร์ว่า เลสเตอร์ฟอสซี แข่งนัดแรก และเป็นฝ่ายชนะ ซิสตันฟอสส์ (Syston Fosse) ในวันที่ 1 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน โดยเล่นในสนามละแวกถนนฟอสส์ ชื่อ วิกตอเรียพาร์ก (Victoria Park) ที่แตกต่างไปจากสโมสรอื่น ๆ คือ เลสเตอร์ซิตีมีสนามเหย้าของตัวเองก่อนการประกาศก่อตั้งสโมสรอย่างเป็นทางการ เนื่องจากในปถัดมา คือ ค.ศ. 1886 เมื่อมีสมาชิกของสโมสรครบ 40 คน เลสเตอร์ซิตีจึงประกาศเป็นทางการว่าปี ค.ศ. 1886 เป็นปีก่อตั้งอย่างเป็นทางการ ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นเลสเตอร์ซิตีในปี ค.ศ. 1919 ต่อมาในปี ค.ศ. 1887 สโมสรมีเหตุจำเป็นที่ต้องย้ายไปสนามเบลเกรจโรดสปอร์ตส์ (Belgrave Road Sports) ก่อนที่ปีนั้นนั่นเอง สนามใหม่แห่งนี้ได้ตกเป็นของสหพันธ์รักบี้ ดังนั้นสโมสรจึงต้องย้ายตัวเองกลับไปวิกตอเรียพาร์กอีกครั้งหนึ่ง ในปี ค.ศ. 1891 สโมสรจึงย้ายสนามมาที่ฟิลเบิร์ตสตรีท และใช้สนามนี้เป็นเวลา 111 ปี ก่อนที่จะมาย้ายสนามซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงกันเป็นวอล์กเกอส์สเตเดียมในปี ค.ศ. 2002 และได้ทำการเปลี่ยนชื่อสนามมาเป็น เดอะคิงพาวเวอร์สเตเดียม ตามชื่อของกลุ่มบริษัทผู้ซื้อกิจการ ในปี ค.ศ. 2010 นอกจากนี้แล้ว เลสเตอร์ซิตียังเป็นเพียงไม่กี่สโมสรที่สัญลักษณ์ของสโมสรมีปรากฏชัดเจนตั้งแต่ก่อตั้ง คือ รูปของสุนัขจิ้งจอก อันเป็นที่มาของชื่อเล่นและฉายา เนื่องจากเมืองเลสเตอร์นั้นเป็นเมืองที่มีการล่าสุนัขจิ้งจอกเป็นประจำจนกลายเป็นขนบธรรมเนียมและประเพณีประจำเมืองคู่แข่ง คู่แข่ง. สโมสรตั้งอยู่ในภาคมิดแลนด์สตะวันออกของอังกฤษ และถือว่าทีมคู่แข่งร่วมภูมิภาค ได้แก่ ดาร์บีเคาน์ตี และนอตติงแฮมฟอเรสต์ แต่ทีมที่ถือว่าเป็นคู่แข่งสำคัญ ดาร์บีเคาน์ตี ทุกครั้งที่พบกันนั้น จะไม่มีสโมสรใดยอมอ่อนข้อให้เป็นศึกแห่งศักดิ์ศรี ที่มันดุเดือด สนุกถูกใจแฟนบอล [ชิงชัย แข่งกันเป็นเจ้าแห่งมิดแลนด์ตะวันออก] อีกหนึ่งทีม คือโคเวนทรีซิตี ที่ถึงแม้ว่าจะอยู่ในภาคมิดแลนด์สตะวันตก ซึ่งถือว่าอยู่คนละภูมิภาคกันและอยู่ตรงข้ามกันอย่างสิ้นเชิง แต่ก็อยู่ห่างออกไปเพียง 24 ไมล์ หรือประมาณ 38.6 กิโลเมตร และทั้งสองเมืองเชื่อมต่อกันด้วยทางหลวงสาย M69 สื่อจึงมักขนานนามการแข่งขันระหว่างทั้งสองทีมว่า เอ็ม 69 ดาร์บี้แมตช์ผู้เล่นผู้เล่นชุดปัจจุบันทำเนียบผู้จัดการทีมบุคลากรสโมสรสถิติผู้เล่นกัปตันผู้เล่นยอดเยี่ยมแห่งปีเกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - พรีเมียร์ลีก- ดิวิชัน 2และฟุตบอลลีกแชมเปียนชิป- ฟุตบอลลีกวัน- ฟุตบอลลีกคัพ- เอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ (เดิมคือ ชาริตีชิลด์)สถิติสถิติ. - นักเตะที่ทำประตูได้ 11 นัดติดต่อกันใน 1 ฤดูกาล : เจมี วาร์ดี ในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2015 - แชมป์พรีเมียร์ลีกที่มีมูลค่าทีมน้อยที่สุด - นักเตะที่เล่นให้เลสเตอร์ซิตีแล้วได้แชมป์ลีก 3 ดิวิชัน : แอนดี คิง - ผู้จัดการทีมที่ได้แชมป์พรีเมียร์ลีกเร็วที่สุด : เคลาดีโอ รานิเอรี โดยใช้ระยะเวลา 294 วัน ตั้งแต่วันที่ 13 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 ถึง 2 พฤษภาคม ค.ศ. 2016 - สถิติแพ้น้อยที่สุดในประวัติศาศตร์ของสโมสรในหนึ่งฤดูกาลและสถิติแพ้นอกบ้านน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์สโมสรต่อการเล่นหนึ่งฤดูกาล
สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตี เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพของประเทศใด
3977
{ "answer_end": [ 303 ], "answer_start": [ 296 ], "text": [ "2015–16" ] }
345932
สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตี สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตี () เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพของอังกฤษ มีสนามเหย้า คือ คิงเพาเวอร์สเตเดียมในเมืองเลสเตอร์ ปัจจุบันเล่นอยู่ในพรีเมียร์ลีก โดยเลื่อนชั้นในฐานะทีมที่ชนะเลิศจากฟุตบอลลีกแชมเปียนชิปในฤดูกาล 2013–14 ซึ่งเป็นการกลับมาเล่นในลีกสูงสุดครั้งแรกในรอบทศวรรษ ในฤดูกาล 2015–16 เลสเตอร์ซิตีสามารถคว้าแชมป์พรีเมียร์ลีกได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสรประวัติ ประวัติ. สโมสรก่อตั้งในปี ค.ศ. 1884 โดยใช้ชื่อว่า เลสเตอร์ฟอสส์ (Leicester Fosse) โดยเด็กนักเรียนกลุ่มหนึ่งที่เรียนอยู่ในโรงเรียนโบสถ์ที่เคร่งครัด ลงขันกันเพื่อซื้อลูกฟุตบอลราคา 9 เพนนี มาเตะเล่น โดยการแข่งขันนัดแรกของสโมสร ตามที่บันทึกไว้ในหนังสือพิมพ์เดอะมิร์เรอร์ว่า เลสเตอร์ฟอสซี แข่งนัดแรก และเป็นฝ่ายชนะ ซิสตันฟอสส์ (Syston Fosse) ในวันที่ 1 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน โดยเล่นในสนามละแวกถนนฟอสส์ ชื่อ วิกตอเรียพาร์ก (Victoria Park) ที่แตกต่างไปจากสโมสรอื่น ๆ คือ เลสเตอร์ซิตีมีสนามเหย้าของตัวเองก่อนการประกาศก่อตั้งสโมสรอย่างเป็นทางการ เนื่องจากในปถัดมา คือ ค.ศ. 1886 เมื่อมีสมาชิกของสโมสรครบ 40 คน เลสเตอร์ซิตีจึงประกาศเป็นทางการว่าปี ค.ศ. 1886 เป็นปีก่อตั้งอย่างเป็นทางการ ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นเลสเตอร์ซิตีในปี ค.ศ. 1919 ต่อมาในปี ค.ศ. 1887 สโมสรมีเหตุจำเป็นที่ต้องย้ายไปสนามเบลเกรจโรดสปอร์ตส์ (Belgrave Road Sports) ก่อนที่ปีนั้นนั่นเอง สนามใหม่แห่งนี้ได้ตกเป็นของสหพันธ์รักบี้ ดังนั้นสโมสรจึงต้องย้ายตัวเองกลับไปวิกตอเรียพาร์กอีกครั้งหนึ่ง ในปี ค.ศ. 1891 สโมสรจึงย้ายสนามมาที่ฟิลเบิร์ตสตรีท และใช้สนามนี้เป็นเวลา 111 ปี ก่อนที่จะมาย้ายสนามซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงกันเป็นวอล์กเกอส์สเตเดียมในปี ค.ศ. 2002 และได้ทำการเปลี่ยนชื่อสนามมาเป็น เดอะคิงพาวเวอร์สเตเดียม ตามชื่อของกลุ่มบริษัทผู้ซื้อกิจการ ในปี ค.ศ. 2010 นอกจากนี้แล้ว เลสเตอร์ซิตียังเป็นเพียงไม่กี่สโมสรที่สัญลักษณ์ของสโมสรมีปรากฏชัดเจนตั้งแต่ก่อตั้ง คือ รูปของสุนัขจิ้งจอก อันเป็นที่มาของชื่อเล่นและฉายา เนื่องจากเมืองเลสเตอร์นั้นเป็นเมืองที่มีการล่าสุนัขจิ้งจอกเป็นประจำจนกลายเป็นขนบธรรมเนียมและประเพณีประจำเมืองคู่แข่ง คู่แข่ง. สโมสรตั้งอยู่ในภาคมิดแลนด์สตะวันออกของอังกฤษ และถือว่าทีมคู่แข่งร่วมภูมิภาค ได้แก่ ดาร์บีเคาน์ตี และนอตติงแฮมฟอเรสต์ แต่ทีมที่ถือว่าเป็นคู่แข่งสำคัญ ดาร์บีเคาน์ตี ทุกครั้งที่พบกันนั้น จะไม่มีสโมสรใดยอมอ่อนข้อให้เป็นศึกแห่งศักดิ์ศรี ที่มันดุเดือด สนุกถูกใจแฟนบอล [ชิงชัย แข่งกันเป็นเจ้าแห่งมิดแลนด์ตะวันออก] อีกหนึ่งทีม คือโคเวนทรีซิตี ที่ถึงแม้ว่าจะอยู่ในภาคมิดแลนด์สตะวันตก ซึ่งถือว่าอยู่คนละภูมิภาคกันและอยู่ตรงข้ามกันอย่างสิ้นเชิง แต่ก็อยู่ห่างออกไปเพียง 24 ไมล์ หรือประมาณ 38.6 กิโลเมตร และทั้งสองเมืองเชื่อมต่อกันด้วยทางหลวงสาย M69 สื่อจึงมักขนานนามการแข่งขันระหว่างทั้งสองทีมว่า เอ็ม 69 ดาร์บี้แมตช์ผู้เล่นผู้เล่นชุดปัจจุบันทำเนียบผู้จัดการทีมบุคลากรสโมสรสถิติผู้เล่นกัปตันผู้เล่นยอดเยี่ยมแห่งปีเกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - พรีเมียร์ลีก- ดิวิชัน 2และฟุตบอลลีกแชมเปียนชิป- ฟุตบอลลีกวัน- ฟุตบอลลีกคัพ- เอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ (เดิมคือ ชาริตีชิลด์)สถิติสถิติ. - นักเตะที่ทำประตูได้ 11 นัดติดต่อกันใน 1 ฤดูกาล : เจมี วาร์ดี ในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2015 - แชมป์พรีเมียร์ลีกที่มีมูลค่าทีมน้อยที่สุด - นักเตะที่เล่นให้เลสเตอร์ซิตีแล้วได้แชมป์ลีก 3 ดิวิชัน : แอนดี คิง - ผู้จัดการทีมที่ได้แชมป์พรีเมียร์ลีกเร็วที่สุด : เคลาดีโอ รานิเอรี โดยใช้ระยะเวลา 294 วัน ตั้งแต่วันที่ 13 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 ถึง 2 พฤษภาคม ค.ศ. 2016 - สถิติแพ้น้อยที่สุดในประวัติศาศตร์ของสโมสรในหนึ่งฤดูกาลและสถิติแพ้นอกบ้านน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์สโมสรต่อการเล่นหนึ่งฤดูกาล
สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตีในอังกฤษ สามารถคว้าแชมป์พรีเมียร์ลีกได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสรเมื่อฤดูกาลใด
3978
{ "answer_end": [ 91 ], "answer_start": [ 80 ], "text": [ "อินโดนีเซีย" ] }
233901
ซางีรัน ซางีรัน () คือแหล่งขุดค้นมนุษย์ชวาที่ได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซีย ค้นพบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936)มรดกโลก มรดกโลก. แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซางีรันได้รับขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 20 เมื่อปี พ.ศ. 2539 ที่เมืองเมรีดา ประเทศเม็กซิโก ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้- (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว - (iv) - เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
ซางีรันคือแหล่งขุดค้นมนุษย์ชวาที่ได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศใด
3979
{ "answer_end": [ 122 ], "answer_start": [ 118 ], "text": [ "2479" ] }
233901
ซางีรัน ซางีรัน () คือแหล่งขุดค้นมนุษย์ชวาที่ได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซีย ค้นพบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936)มรดกโลก มรดกโลก. แหล่งมนุษย์ยุคเริ่มแรกซางีรันได้รับขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 20 เมื่อปี พ.ศ. 2539 ที่เมืองเมรีดา ประเทศเม็กซิโก ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้- (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว - (iv) - เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
แหล่งขุดค้นมนุษย์ชวาที่ได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศอินโดนีเซียชื่อว่า ซางีรัน ถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.ใด
3980
{ "answer_end": [ 106 ], "answer_start": [ 76 ], "text": [ "ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม" ] }
206688
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล กรมทรัพยากรน้ำบาดาล เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 โดยเป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการน้ำบาดาลในประเทศไทยประวัติ ประวัติ. การเจาะบ่อน้ำบาดาลระดับลึกในประเทศไทย เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2450 โดนนายเส็งยัง แซ่อาว เจ้าของห้างหุ้นส่วนจำกัด อาวย่งซุนฮวด ได้เจาะบ่อน้ำบาดาลโดยใช้ไม้ไผ่ ต้นแบบของเครื่องเจาะไม้ไผ่มากจากประเทศจีน โดยเจาะบ่อบาดาลบ่อแรกที่โรงพยาบาลเทียบหัวย่านเยาวราช กรุงเทพฯ ใกล้โรงภาพยนตร์นิวโอเดียนในอดีต ความลึกประมาณ 120 เมตร ได้น้ำบาดาลพอที่จะใช้ในการอุปโภคบริโภคได้ ปี พ.ศ. 2452 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดให้มีการประปาในกรุงเทพฯ โดยใช้แหล่งน้ำผิวดินในคลองประปาเป็นแหล่งน้ำดิบ ในอดีตแหล่งน้ำผิวดินมีเพียงพอสำหรับการอุปโภคบริโภค เนื่องจากยังไม่มีประชากรหนาแน่นดังเช่นปัจจุบัน ต่อมาภายหลังเมื่อมีการขยายตัวของชุมชน และขยายเขตบริการของการประปา ทำให้มีการเจาะบ่อบาดาลเพื่อนำน้ำบาดาลเพื่อนำน้ำบาดาลมาใช้เป็นน้ำดิบร่วม กับแหล่งน้ำผิวดิน ต่อมาในปี พ.ศ. 2502 กรมโยธาธิการได้จัดตั้งโครงการเจาะน้ำบาดาล โดยสังกัดกองประปาภูมิภาค กำหนดเป้าหมายเจาะบ่อบาดาลในท้องถิ่นชนบททั่วราชอาณาจักร ปี พ.ศ. 2497 กระทรวงอุตสาหกรรม กับคณะเจ้าหน้าที่องค์การให้ความช่วยเหลือของประเทศสหรัฐอเมริกาคือองค์กร Special Technical Economic Mission หรือเรียกว่า STEM (องค์การความช่วยเหลือของประเทศสหรัฐอเมริกา มีชื่อเปลี่ยนไปต่าง ๆ กันคือ ECA MSA STEM ICA และ USOM) ได้ร่วมกันพิจารณาปัญหาความแห้งแล้งขาดแคลนน้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากเป็นภาคที่มีภาวะขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งมากที่สุดและรุนแรงยิ่งกว่า ภาคใดๆ กรมโลหกิจ กรมชลประทาน และกรมอนามัยของไทย จึงได้ร่วมกันจัดตั้ง "โครงการสำรวจน้ำบาดาล" ขึ้น โดยองค์กร STEM ให้ความช่วยเหลือผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการ เครื่องมืออุปกรณ์ การฝึกอบรม และงบประมาณองค์การ คณะรัฐมนตรีจึงได้แต่งตั้ง "คณะกรรมการน้ำบาดาล" เพื่อควบคุมกำกับดูแลการสำรวจน้ำบาดาลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 ในปี พ.ศ. 2501 โครงการสำรวจน้ำบาดาลได้รับความช่วยเหลือจาก International Coorporation Administration (ICA) ซึ่งเป็นองค์การให้ความช่วยเหลือต่อเนื่องจากองค์การ STEM โดยการดำเนินงานอยู่ในความควบคุมดูแลของกรมโลหกิจฝ่ายเดียว ปีถัดมาในวันที่ 8 มิถุนายน 2502 คณะรัฐมนตรีได้มีการแต่งตั้ง “คณะกรรมการน้ำบาดาลแห่งประเทศไทย” เพื่อทำหน้าที่สำรวจน้ำบาดาลทั่วประเทศไทยขึ้น โดยคณะกรรมการนี้มีการประชุมเป็นครั้งคราวส่วนใหญ่เป็นการควบคุมและติดตามผลงานโครงการสำรวจ และพัฒนาการน้ำบาดาลของกรมโลหกิจ เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 ได้มีการจัดตั้งกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติขึ้นใหม่และมีพระราชบัญญัติโอนอำนาจ หน้าที่ของกรมโลหกิจ กระทรวงอุตสาหกรรม มาสังกัดกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เพื่อความเหมาะสมในการพัฒนาประเทศให้เจริญยิ่งขึ้นและเปลี่ยนชื่อจาก "กรมโลหกิจ" เป็น "กรมทรัพยากรธรณี" ในการนี้กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติได้พิจารณาเห็นว่า งานสำรวจและพัฒนาการน้ำบาดาล โดยเฉพาะในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการ ให้ได้ผลเร็วที่สุด คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2506 ให้แต่งตั้ง "คณะกรรมการน้ำบาดาล" ขึ้นใหม่ คณะกรรมการชุดนี้ปฏิบัติงานเรื่อยมาจนสิ้นสุดอายุของรัฐบาลชุดก่อนการเลือก ตั้ง ปี พ.ศ. 2512 จึงหมดอายุ และไม่ได้มีการแต่งตั้งขึ้นใหม่จนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2507 กรมทรัพยากรธรณีได้มีการจัดตั้งกองขึ้นใหม่ 4 กอง โดย "แผนกน้ำบาดาล กองธรณีวิทยา" ได้ยกฐานะขึ้นเป็น "กองน้ำบาดาล" สังกัดกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ จนถึงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ได้มีการยุบกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ กองน้ำบาดาล กรมทรัพยากรธรณี จึงได้ย้ายกลับมาสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมตามเดิม ในปี พ.ศ. 2545 รัฐบาลมีนโยบายปฏิรูประบบราชการทุกกระทรวง ทบวง กรม เพื่อให้ระบบราชการเป็นกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างสมรรถนะของประเทศในการแข่งขันระดับโลกสร้างความโปร่งใสในการ ปฏิบัติราชการและสร้างวัฒนธรรมใหม่ในวงการ จึงได้ยกฐานะกองน้ำบาดาล กรมทรัพยากรธรณี ขึ้นเป็นกรมทรัพยากรน้ำบาดาล และมีพระราชบัญญัติโอนอำนาจหน้าที่ของกรมทรัพยากรน้ำบาดาลไปสังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่จัดตั้งขึ้นใหม่เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545อำนาจและหน้าที่อำนาจและหน้าที่. 1. เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการน้ำบาดาล 2. เสนอแนะในการจัดทำนโยบายแผนและมาตรการที่เกี่ยวข้อง กับทรัพยากรน้ำบาดาล 3. สำรวจ บริหารจัดการ พัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟู รวมทั้งควบคุม ดูแล กำกับ ประสาน ติดตามประเมินผลและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำบาดาล 4. พัฒนาวิชาการ กำหนดมาตรฐานและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านทรัพยากรน้ำบาดาลหน่วยงานในสังกัดหน่วยงานในสังกัด. - สำนักบริหารกลาง - กองแผนงาน - กองวิเคราะห์น้ำบาดาล - กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร - กลุ่มตรวจสอบภายใน - กลุ่มนิติการ - ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศทรัพยากรน้ำบาดาล - สำนักพัฒนาน้ำบาดาล - สำนักควบคุมกิจการน้ำบาดาล - สำนักสำรวจและประเมินศักยภาพน้ำบาดาล - สำนักอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้ำบาดาล - สำนักทรัพยากรน้ำบาดาล เขต 1-12
กรมทรัพยากรน้ำบาดาลในประเทศไทยสังกัดกระทรวงใด
3981
{ "answer_end": [ 35 ], "answer_start": [ 23 ], "text": [ "ทอเลมีที่ 15" ] }
862126
ทอเลมีที่ 15 ซีซาเรียน ทอเลมีที่ 15 หรือ ทอเลมีที่ 15 ซีซาเรียน ( 23 มิถุนายน, 47 ปีก่อนคริสตกาล - 23 สิงหาคม, 30 ปีก่อนคริสตกาล ) เป็นที่รู้จักกันดีโดยชื่อเล่น Caesarion (/ sᵻzɛəriən /; อังกฤษ: ซีซาร์ ละติน: Caesariō) และทอเลมีซีซาร์ (/ tɒlᵻmisiːzər /; กรีก: ΠτολεμαῖοςΚαῖσαρ, Ptolemaios Kaisar ละติน: Ptolemaeus ซีซาร์) เป็นฟาโรห์พระองค์สุดท้ายของอียิปต์พระองค์เป็นสมาชิกองค์สุดท้ายของราชวงศ์ทอเลมีของอียิปต์ผู้ครองราชย์กับพระราชมารดาของพระองค์ คลีโอพัตราที่ 7 ของอียิปต์ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน 44 ปีก่อนคริสตกาลพระองค์ดำรงตำแหน่งผู้ปกครอง แต่เพียงผู้เดียวระหว่างการสวรรคตของพระนางคลีโอพัตราเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 30 ก่อนคริสตศักราชจนถึงวันที่ 23 สิงหาคม 30 ปีก่อนคริสตกาล
ฟาโรห์พระองค์สุดท้ายของอียิปต์มีพระนามว่าอะไร
3982
{ "answer_end": [ 13 ], "answer_start": [ 7 ], "text": [ "พนมเปญ" ] }
25625
พนมเปญ พนมเปญ หรือ ภนุมปึญ ( พนมเพ็ญ ออกเสียง: ; ) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. พนมเปญไม่ได้มีจุดเริ่มต้นจากการเป็นถิ่นฐานที่ตั้งหลัก จนกระทั่งเข้าสู่ยุคเมืองพระนคร หลังจากนครวัดและเมืองอื่นๆใกล้เคียงเริ่มมีชื่อเสียงโดดเด่นประจักษ์สู่สายตาประชาคมโลก ช่วงกลางศตวรรษที่ 15 เจ้าพระยาญาติย้ายราชธานีจากเมืองพระนครหนีสยามมาตั้งอยู่ที่นครวัดและสร้างพระราชวัง ณ พื้นที่ที่เป็นกรุงพนมเปญในปัจจุบัน ต่อมาภายหลังมีการสร้างเจดีย์ขึ้นซึ่งในขณะนั้นเมืองยังไม่ได้เป็นเมืองหลวงอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1866 ภายใต้การปกครองของพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์ จึงได้แต่งตั้งกรุงพนมเปญเป็นเมืองหลวงของประเทศ อย่างไรก็ตามสามปีก่อนตั้งกรุงพนมเปญเป็นราชธานี กัมพูชาลงนามในสนธิสัญญายอมเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส ซึ่งต่อมาถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสแถบอินโดจีนที่รวมถึงเวียดนามและลาว ภายใต้อำนาจการปกครองแบบเต็มรูปแบบของปารีส ทำให้พนมเปญมีศักยภาพและเติบโตแบบก้าวกระโดด จากเมืองที่มีขนาดเล็กกว่าหมู่บ้าน ก้าวไปสู่การพัฒนาเป็นเมืองท่าริมน้ำที่ทันสมัยของฝรั่งเศส แม้จะมีความวุ่นวายในส่วนอื่นๆ ของประเทศทั้งก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง แต่พนมเปญยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสจนกระทั่งปี ค.ศ. 1953 ภายใต้การนำของสมเด็จนโรดมสีหนุและคลื่นมวลชนชาวเขมรที่ออกมาเรียกร้องเอกราช จนได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสอย่างสมบูรณ์ ซึ่งช่วงต้นของปี ค.ศ. 1970 พนมเปญค่อนข้างมีความสงบท่ามกลางทะเลสงครามในประเทศกัมพูชา ในปี ค.ศ. 1975 กองกำลังเขมรแดงภายใต้การนำของพอลพตบุกโจมตีพนมเปญ หลังจากเข้ายึดครองไม่กี่วันจึงเริ่มกวาดล้างประชากรกว่าสองล้านคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่โดยเนรเทศออกไปสู่ชนบท ภายใน 4 ปีพนมเปญแทบร้างผู้คน ยกเว้นเขตพื้นที่กักกัน เช่น S-21 และพื้นที่บางส่วนที่ชาวเขมรแดงอาศัยอยู่ เมื่อเขมรแดงถูกขับไล่ออกไปจากกรุงพนมเปญในปี ค.ศ. 1979 ผู้คนจึงค่อยๆ ทยอยกลับเข้ามาอาศัยในเมืองอีกครั้ง แต่เนื่องจากสภาพบ้านเมืองที่ถูกทำลายและทรุดโทรมอย่างมาก รวมถึงจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นน้อย องค์การระหว่างประเทศจึงเริ่มเข้ามามีบทบาทและให้ความช่วยเหลือในการฟื้นฟูบ้านเมือง หลังจากการลงนามในความตกลงทางการเมืองสมบูรณ์แบบในความขัดแย้งกัมพูชา หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า ความตกลงสันติภาพกรุงปารีส (Paris Peace Agreement) ในปี ค.ศ. 1991 ซึ่งคืนเสถียรภาพเต็มที่แก่ประชาชนชาวกัมพูชา ในปี ค.ศ. 1999 กัมพูชาเข้าร่วมเป็นสมาชิกของกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งสนับสนุนและดึงดูดให้ชาวต่างชาติเข้ามาร่วมลงทุนในกัมพูชามากขึ้น ถือเป็นจุดเริ่มต้นในทางที่ดีสำหรับประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของประเทศภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. พนมเปญ ตั้งอยู่ในพื้นที่ตอนกลางค่อนใต้ของกัมพูชา และล้อมรอบด้วยเขตกันดาล ตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและโตนเลสาบ พิกัดภูมิศาสตร์ (11°33' เหนือ, 104°55' ตะวันออก,) ครอบคลุมพื้นที่ เป็นตัวเมือง และถนนภูมิอากาศเขตการปกครอง เขตการปกครอง. เทศบาลพนมเปญ มีพื้นที่ มีสถานะเป็นจังหวัด มีทั้งหมด 9 เขต 76 แขวง และ 637 หมู่บ้านประชากร ประชากร. ใน ค.ศ. 2008 พนมเปญมีประชากร 2,009,264 คน มีครัวเรือน 5,358 หลัง อัตราการเติบโต 3.92% ชนชาติอื่นๆ ในพนมเปญ ได้แก่ ชนชาติจีน เวียดนาม ฯลฯ และชนกลุ่มน้อย เช่น ไทยสยาม บูดง มนง กุย ชง และ จาม ศาสนาประจำชาติคือ ศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท คิดเป็น 90% ของชาวพนมเปญทั้งหมด ภาษาทางการคือ ภาษาเขมร ส่วนภาษาอื่นที่ใช้กันทั่วไปคือ ภาษาอังกฤษ และ ภาษาฝรั่งเศส พนมเปญ เป็นเมืองที่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์มากที่สุดในประเทศ มีค่าอยู่ที่ 0.936 อยู่ในระดับสูงเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ. พนมเปญเป็นแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของกัมพูชา มีอัตราการเติบโตมากขึ้นในแต่ละปี เป็นศูนย์รวมของโรงแรม ภัตตาคาร บาร์ และสิ่งก่อสร้างมากมาย การเติบโตทางเศรษฐกิจ เริ่มตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 ได้มีการเปิดศูนย์การค้าแบบตะวันตกชื่อว่า ศูนย์การค้าโสรยา และ ศูนย์การค้าสุวรรณา รวมทั้งกิจการภัตตาคารและแฟรนไชส์ตะวันตกอื่น ๆ ได้แก่- แดรี่ควีน เบอร์เกอร์คิง เปิดบริการใน ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญ - เคเอฟซี เปิดบริการเป็นสาขาแรกในย่านถนนพระมุนีวงศ์ - พิซซ่าฮัท - สเวนเซ่นส์ เปิดบริการใน ศูนย์การค้าโสรยา และห้างสรรพสินค้าอิออน มอลล์ - พ.ศ. 2557 เปิดห้างสรรพสินค้า อิออน มอลล์ ซึ่งเป็นห้างสรรพสินค้าข้ามชาติแห่งแรกในกัมพูชา ตึกที่สูงที่สุดในพนมเปญ คือ ตึกวัฒนะ (Vattanac Capital Phnom Penh) สูง สร้างถึงยอดเมื่อ พฤษภาคม ค.ศ. 2012 สามารถมองเห็นตัวเมืองได้ทั่ว สายการบิน กัมพูชานครแอร์ มีที่ทำการใน พนมเปญการศึกษาการศึกษา. - มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ (RUPP) เป็นสถาบันการศึกษาที่เก่าแก่และใหญ่ที่สุดของประเทศกัมพูชา ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1960 เป็นสถาบันที่เปิดสอนทางด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ - มหาวิทยาลัยภูมินทร์นิติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ (RULE) - มหาวิทยาลัยภูมินทร์วิจิตรศิลปะ (RUFA) - มหาวิทยาลัยภูมินทร์กสิกรรม (RUA) - มหาวิทยาลัยการจัดการแห่งชาติ (NUM) - สถาบันเทคโนโลยีแห่งกัมพูชา (ITC) - สถาบันพุทธศาสนาบัณฑิตย์ ก่อตั้งเมื่อ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1930สถานที่สำคัญหนังสือพิมพ์รายวันเขมรหนังสือพิมพ์. รายวัน. เขมร. - Sralagn' Khmer - จักรวาลเดลี่ - กัมพูชาเดลี่ - แคมโบเดียทูเดย์ - Kanychok Sangkhum - ไอส์แลนด์ออฟพีซ - เขมรคอมเชนส์ - ไลท์ออฟกัมพูชา - วอยซ์ออฟเขมรเยาท์ - เขมรไอเดียล - วัดพนมเดลี่อังกฤษอังกฤษ. - พนมเปญโพสต์ - เดอะแคมโบเดียเดลี่จีนจีน. - 《柬華日報》(Jianhua Daily) - 《星洲日報》(Sinchew Daily) - 《華商日報》(Huashang Daily) - 《新柬埔寨》(นิวแคมโบเดีย)นิตรสารนิตรสาร. - เอเชียไลฟ์ไกด์ พนมเปญ - พ็อกเกตไกด์แคมโบเดีย - เลดี้ แม็กกาซีน - แอฟ แม็กกาซีน - ซอฟริน แม็กกาซีนกีฬา กีฬา. สนามกีฬาที่สำคัญในพนมเปญ ได้แก่ สนามกีฬาโอลิมปิกพนมเปญ จุคนได้ 50,000 คน อย่างไรก็ตาม สนามนี้ไม่เคยถูกใช้ในกีฬาโอลิมปิกเลย สนามนี้สร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1964 เป็นสนามเหย้าของฟุตบอลทีมชาติกัมพูชาการคมนาคม การคมนาคม. การเดินทางในพนมเปญใช้รถตุ๊กตุ๊กและรถจักรยานยนต์ เมื่อ 9 สิงหาคม ค.ศ. 2007 เริ่มมี บริษัท มายลิง โอเพ่นทัวร์ (Mai Linh Open Tou) จากเวียดนามมาบริการแท๊กซี่มิเตอร์หลังคาสีเขียว จะคิดค่าบริการเริ่มต้นที่ 1.50 ดอลลาร์ ท่าอากาศยานนานาชาติพนมเปญ เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในกัมพูชา ห่างจากตัวเมืองพนมเปญทางหลวงแผ่นดินเมืองพี่น้อง เมืองพี่น้อง. พนมเปญมีเมืองพี่น้องดังต่อไปนี้- เซี่ยงไฮ้, จีน - เทียนสิน, จีน - คุนหมิง, จีน - ฉางชา, จีน - ลองบีช, รัฐแคลิฟอร์เนีย, สหรัฐอเมริกา - บริสตอล, สหราชอาณาจักร - ไกสอน พมวิหาน, ลาว - เวียงจันทน์, ลาว - มัณฑะเลย์, พม่า - อิโลอิโล, ฟิลิปปินส์ - ปูซาน, เกาหลีใต้ - อินชอน, เกาหลีใต้ - กรุงเทพมหานคร, ไทย - โลเวลล์, รัฐแมสซาชูเซตส์, สหรัฐอเมริกา - พรอวิเดนซ์, รัฐโรดไอแลนด์, สหรัฐอเมริกา - คลีฟแลนด์, รัฐเทนเนสซี, สหรัฐอเมริกา - นครโฮจิมินห์, เวียดนาม - ฮานอย, เวียดนาม - เกิ่นเทอ, เวียดนาม - เลิมด่ง, เวียดนาม
เมืองหลวงของประเทศกัมพูชามีชื่อว่าอะไร
3985
{ "answer_end": [ 32 ], "answer_start": [ 30 ], "text": [ "38" ] }
49259
ศ ศ (ศาลา) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 38 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ว (แหวน) และก่อนหน้า ษ (ฤๅษี) ออกเสียงอย่าง ส (เสือ) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ศ ศาลา" (บางคนก็เรียกว่า ศ คอ เนื่องจากมีรูปร่างคล้าย ค) อักษร ศ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /s/ และพยัญชนะส.ะกด ให้เสียง /t̚/
ศ ศาลา เป็นพยัญชนะตัวที่เท่าใดของอักษรไทย
3986
{ "answer_end": [ 134 ], "answer_start": [ 130 ], "text": [ "2549" ] }
56305
สพรั่ง กัลยาณมิตร พลเอก สพรั่ง กัลยาณมิตร (8 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 — ) อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 เป็น 1 ในคณะก่อการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ และเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก และได้รับการพิจารณาให้เป็นประธานบอร์ดการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย (ทอท.) และบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)ประวัติ ประวัติ. พล.อ.สพรั่ง กัลยาณมิตร เกิดเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 ที่จังหวัดลำปาง เป็นบุตรคนที่ 7 ในจำนวน 8 คนของ พันโทศรี(เป็นบุตรของ พระยาสุจริตรักษา(เชื้อ)โดยมีทวด คือ หลวงเดชนายเวร(ทองอยู่)) และนางเพ็ญแก้ว กัลยาณมิตร มีชื่อเล่นว่า "เปย" เป็นนักเรียนโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่น 7, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่น 18, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 43 และปริญญาโทจากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พล.อ.สพรั่ง สมรสกับ วิภาดา กัลยาณมิตร มีบุตรชาย 3 คน คือ นักเรียนนายร้อยเอกวีร์ กัลยาณมิตร (ศึกษาต่ออยู่ที่ประเทศเยอรมนี), นักเรียนนายเรืออากาศอัครวัต กัลยาณมิตร (ศึกษาต่ออยู่ที่ประเทศเยอรมนี) และนักเรียนนายเรืออากาศเอกวริษฐ์ กัลยาณมิตร (ศึกษาต่ออยู่ที่โรงเรียนนายเรืออากาศสเปน)การรับราชการทหาร การรับราชการทหาร. พล.อ.สพรั่ง เริ่มรับราชการเมื่อ พ.ศ. 2512 เป็นผู้บังคับหมวดปืนเล็ก ร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ 3 กรมผสมที่ 4 เคยดำรงตำแหน่งเป็นผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 4, ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 19, ผู้บังคับการกรม นักเรียนโรงเรียนเตรียมทหาร, ผู้บังคับการกรมนักเรียนนายร้อยรักษาพระองค์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า พล.อ.สพรั่ง ดำรงตำแหน่งผู้บัญชากองพลกองพลทหารราบที่ 15 เมื่อ พ.ศ. 2540, ตำแหน่งแม่ทัพน้อยที่ 3 เมื่อ พ.ศ. 2546 ,ดำรงตำแหน่งแม่ทัพภาคที่ 3 เมื่อ พ.ศ. 2548 ก่อนจะเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก ภายหลังการรัฐประหาร เมื่อ พ.ศ. 2549 และเป็นรองปลัดกระทรวงกลาโหม เมื่อ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นได้แต่งตั้งให้ พลโท สัญชัย กัลยาณมิตร ซึ่งเป็นน้องชาย ขึ้นเป็นแม่ทัพน้อยที่ 2บทบาทหลังการรัฐประหาร บทบาทหลังการรัฐประหาร. หลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 พล.อ.สพรั่งภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ และเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก และได้รับการพิจารณาให้เป็นประธานบอร์ดการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย (ทอท.) และบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) โดยยังเป็นที่ถกเถียงในเรื่องของความเหมาะสมในการนำทหารที่ไม่มีประสบการณ์ มาบริหารงานรัฐวิสาหกิจ การปลดนายวุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์ เนื่องจากคัดค้านการอนุมัติงบ 800 ล้านบาทของบริษัท ทีโอที ให้กองทัพ และการอนุมัติงบประมาณเกินความจำเป็นให้ตนเองพวกพ้อง ทำให้เป็นที่วิพากวิจารณ์กันอย่างมากถึงความเหมาะสม- กรณีงบลับ 800 ล้านบาท และปลดปลดนายวุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์ ออกจากรักษาการกรรมการผู้จัดการใหญ่ และกรรมการบริษัท ทีโอที ซึ่งคัดค้านกรณีสนับสนุนงบประมาณ 800 ล้านบาทให้กองทัพ โดยเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน บอร์ดทีโอทีได้ให้ความเห็นชอบโครงการขอรับการสนับสนุนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับความมั่นคงมูลค่า 800 ล้านบาท เนื่องจากเกี่ยวข้องกับความมั่นคงประเทศ ด้านนายวุฒิพงษ์ อดีตรักษาการกรรมการผู้จัดการใหญ่ กล่าวว่า "หากบอร์ดทีโอทีไม่ให้ทำงานก็พร้อม และไม่รู้สึกหนักใจอะไร เพราะได้ทำงานอย่างเต็มที่ เมื่อสู้กับอำนาจไม่ได้ ก็ต้องเป็นอย่างนี้" ทั้งนี้ หลังบอร์ดทีโอทีมีมติปลด ได้มีหนังสือชี้แจง ลงชื่อนายวุฒิพงษ์ ต่อเรื่อง ดังกล่าวว่า 1.หากโครงการนี้มีความจำเป็น ทางด้านความมั่นคงในระดับคอขาดบาดตายจริง ทำไมจึงต้องมาใช้เงินของทีโอที ซึ่งงบสำคัญขนาดนี้น่าจะปรากฏงบของกองทัพหรือกลาโหม ซึ่งมีทั้งงบปกติและงบลับจำนวนมหาศาลอยู่แล้ว 2.โครงการนี้มิได้ใช้แค่อุปกรณ์ แต่ต้องมีการเตรียมบุคลากรจำนวนมากเพื่อปฏิบัติการ ถ้าไม่มีการเตรียมเจ้าหน้าที่อย่างพร้อมมูล อุปกรณ์ก็กลายเป็นเศษเหล็กไม่เกิดประโยชน์อะไร แต่หากได้มีการตระเตรียมบุคลากรมาอย่างพร้อมพรั่งสมบูรณ์ดีแล้ว มูลค่าอุปกรณ์ก็น่าจะถูกรวมไว้ในงบประมาณด้านความมั่นคงเรียบร้อยแล้ว จึงไม่จำเป็นต้องพึ่งเงินบริจาคของทีโอที 3.ถ้ามีความสำคัญอย่างที่กล่าวอ้างจริง ทำไมถึงไม่มีจดหมายจากหน่วยงานหลัก เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ อาทิ คณะมนตรีความมั่นคง หรือ คมช. กองทัพบก สภาความมั่นคงแห่งชาติ หรือ สมช. กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในประเทศ หรือ กอ.รมน. หรือกระทรวงกลาโหม แต่กลับออกมาจากหน่วยงานภายในของกองทัพ/กลาโหม ซึ่งไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล นอกจากนั้น ยังไม่มีความชัดเจนในเรื่องวิธีการเบิกจ่ายผู้รับเงิน วิธี จัดซื้อจัดจ้าง ตลอดจนถึงรูปแบบของความช่วยเหลือ ว่าจะเป็นเงินสดหรืออุปกรณ์ 4.ทีโอทีไม่ได้มีสถานะทางการเงินที่เข้มแข็งแต่ประการใด งบประมาณจำนวน 800 ล้านบาท จะเป็นตัวเลขที่ถ่วงผลประกอบการของบริษัท 5.ถ้าเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างดังกล่าวรั่วไหลสู่สาธารณะ ซึ่งเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงได้ยาก จะส่งผลเสียต่อความเชื่อมั่นของพนักงาน และประชาชน ที่มีต่อกรรมการบริษัท ในการกวาดล้างคอร์รัปชันและสร้างความโปร่งใสให้กับ ทีโอที โดยเฉพาะต่อ พล.อ.สพรั่งซึ่งเป็นบุคคลที่มีตำแหน่งสำคัญในคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ หรือ คมช.- กรณีเงิกงบประมาณไปดูงานต่างประเทศของบอร์ดทอท.ไปดูงานอังกฤษ เยอรมนี ตั้งงบพิเศษ 12 ล้าน ให้วอร์รูม คมช. ที่มีคนในตระกูล “กัลยาณมิตร” เป็นผู้ใช้เงิน "ตัวเลขไม่ใช่เรื่องสำคัญ สำคัญที่เจตนา ลงทุนบาทเดียว ไม่คุ้ม ก็น่าตำหนิ การเดินทางไปครั้งนี้ไม่ต้องชี้แจงประธาน คมช. เพราะท่านอนุมัติให้เดินทางไปตั้งแต่ต้นแล้ว และการที่พูดอยู่นี้ก็ชี้แจงต่อสาธารณชนอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องทำเป็นหนังสือเพราะไม่ใช่จำเลย เราวีรบุรุษ" พล.อ.สพรั่ง เมื่อถูกถามว่า เงินจำนวน 7 ล้าน ที่ไปทำงาน ถือว่าคุ้มไหมเกี่ยวกับตระกูลกัลยาณมิตร เกี่ยวกับตระกูลกัลยาณมิตร. ต้นตระกูลกัลยาณมิตร คือ เจ้าพระยานิกรบดินทร์ (เจ้าสัวโต) เป็นบุตรของ หลวงพิไชยวารี (มั่ง แซ่อึ้ง) ซึ่งเป็นชาวจีนฮกเกี้ยน ที่จั๋นกัวยิม เมืองเอ้หมึง ประเทศจีน ขณะนั้น มั่ง แซ่อึ้ง ได้เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระเจ้ากรุงธนบุรี ในฐานะพ่อค้าเรือสำเภา ค้าขายรุ่งเรือง ได้เป็นคุณหลวงในรัชกาลที่ 1 มีบุตร 2 คน คือ เจ้าสัวโต และเจ้าสัวต่วน เจ้าพระยานิกรบดินทร์ เป็นขุนนางในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงไว้วางพระราชหฤทัยเป็นอันมาก เพราะแต่เดิมเมื่อพระองค์ยังไม่ขึ้นครองราชสมบัตินั้น เจ้าสัวโตถือเป็นขุนนางผู้ใกล้ชิด และทำราชการอยู่ในกรมท่า ดูแลการค้าขายเรือสำเภาเป็นที่รุ่งเรือง เป็นที่พอพระทัยเป็นอย่างมาก และเจ้าพระยานิกรบดินทร์ ตำแหน่งสุดท้ายเป็นถึงสมุหนายก (ดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ) อีกทั้งยังถือเป็นเสนาบดีผู้ใหญ่คนหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการอัญเชิญรัชกาลที่ 4 ขณะที่ยังผนวชอยู่ขึ้นเถลิงราชสมบัติอีกด้วย ขณะที่ หลวงเดชนายเวร (ทองอยู่) ทวดของ พล.อ.สพรั่ง มีบทบาทสำคัญในการเจริญราชไมตรีกับประเทศอังกฤษช่วงรัชกาลที่ 4 (ช่วงปี 2400 ) โดยเป็นผู้กำกับเครื่องราชมงคลบรรณาการไปยังประเทศอังกฤษ กับคณะราชทูตสยามชุดนั้นด้วย ซึ่งรัชกาลที่ 4 มีพระราชหัตถเลขา เกี่ยวกับอาการป่วยของเจ้าพระยานิกรบดินทร์ พระราชทานแก่นายพิจารณ์สรรพกิจ (ยศขณะนั้น) รวม 10 กว่าฉบับ ส่วนที่มาของนามสกุล 'กัลยาณมิตร' เกิดจากเมื่อครั้งเจ้าสัวโต เป็นพระยาราชสุภาวดี มีศรัทธาสร้างวัดถวายรัชกาลที่ 3 และด้วยความจงรักภักดี เช่น 'มิตรแท้' ทำให้รัชกาลที่ 3 ได้พระราชทานวัดนามว่า 'วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร' (ตั้งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่) อีกทั้งรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์เจ้าสัวโต เป็น 'เจ้าพระยานิกรบดินทร์มหินธรมหากัลยาณมิตร' และรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์ให้เจ้าสัวรอด เป็น 'เจ้าพระยารัตนบดินทร์มหินธรมหากัลยาณมิตร' จึงทำให้รัชกาลที่ 6 มีพระราชดำรัสกับเจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย) ว่า "พวกเจ้าพระยาสุรสีห์เป็นวงษ์กัลยาณมิตร ทั้งในสร้อยนามเจ้าพระยานิกรบดินทร์ เจ้าพระยารัตนบดินทร์ และของเจ้าพระยาสุรสีห์เองก็มีกัลยาณมิตรเป็นที่ปรากฏอยู่แล้ว" จึงได้พระราชทานนามสกุลด้วยลายพระหัตถ์เป็นหลักฐานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
พลเอกสพรั่ง กัลยาณมิตร เป็นหนึ่งในคณะก่อการรัฐประหารในประเทศไทย เมื่อปีพ.ศ.ใด
3987
{ "answer_end": [ 109 ], "answer_start": [ 88 ], "text": [ "เอริน มอร์เก็นสเติร์น" ] }
717693
ละครสัตว์รัตติกาล ละครสัตว์รัตติกาล คือจินตนิยายกึ่งสมจริง (magical realism) ประพันธ์โดยเอริน มอร์เก็นสเติร์น นักเขียนชาวอเมริกัน ตีพิมพ์ครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา เมื่อปี 2011 มีเนื้อหาเกี่ยวกับคณะละครสัตว์ลึกลับที่ปรากฏขึ้นโดยไม่มีผู้ใดรู้ล่วงหน้า และเปิดให้เข้าเฉพาะยามวิกาลโดยขึ้นป้ายว่า "เปิดเมื่อย่ำค่ำ ปิดเมื่อย่ำรุ่ง" คณะละครสัตว์คณะนี้มีชื่อว่า "เลอ เซิร์ก เดส์ เรฟส์" และมีนาฬิกาเรือนใหญอันวิจิตรที่สร้างความประทับใจและความพิศวงแก่ผู้ที่ได้เห็น ตลอดจนมีนักเนรมิตภาพลวง ผู้วิเศษ หมดู นักกายกรรม นักมายากล นักดัดตน ปรากฏในเรื่อง ผู้เขียนใช้วิธีการดำเนินเรื่องที่ไม่เรียงตามลำดับเวลา แต่ตัดฉากไปมาในลักษณะที่ไม่เป็นเส้นตรง (non-linear) พร้อมทั้งพรรณาภาพฉากในคณะละครสัตว์อย่างวิจิตร ฉบับภาษาไทยตีพิมพ์เมื่อปี 2014 แปลโดยเลอไถง เลขะ
ใครคือผู้ประพันธ์จินตนิยายกึ่งสมจริงของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่องละครสัตว์รัตติกาล
3988
{ "answer_end": [ 172 ], "answer_start": [ 168 ], "text": [ "2011" ] }
717693
ละครสัตว์รัตติกาล ละครสัตว์รัตติกาล คือจินตนิยายกึ่งสมจริง (magical realism) ประพันธ์โดยเอริน มอร์เก็นสเติร์น นักเขียนชาวอเมริกัน ตีพิมพ์ครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา เมื่อปี 2011 มีเนื้อหาเกี่ยวกับคณะละครสัตว์ลึกลับที่ปรากฏขึ้นโดยไม่มีผู้ใดรู้ล่วงหน้า และเปิดให้เข้าเฉพาะยามวิกาลโดยขึ้นป้ายว่า "เปิดเมื่อย่ำค่ำ ปิดเมื่อย่ำรุ่ง" คณะละครสัตว์คณะนี้มีชื่อว่า "เลอ เซิร์ก เดส์ เรฟส์" และมีนาฬิกาเรือนใหญอันวิจิตรที่สร้างความประทับใจและความพิศวงแก่ผู้ที่ได้เห็น ตลอดจนมีนักเนรมิตภาพลวง ผู้วิเศษ หมดู นักกายกรรม นักมายากล นักดัดตน ปรากฏในเรื่อง ผู้เขียนใช้วิธีการดำเนินเรื่องที่ไม่เรียงตามลำดับเวลา แต่ตัดฉากไปมาในลักษณะที่ไม่เป็นเส้นตรง (non-linear) พร้อมทั้งพรรณาภาพฉากในคณะละครสัตว์อย่างวิจิตร ฉบับภาษาไทยตีพิมพ์เมื่อปี 2014 แปลโดยเลอไถง เลขะ
จินตนิยายกึ่งสมจริงเรื่อง ละครสัตว์รัตติกาล ตีพิมพ์ครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. ใด
3989
{ "answer_end": [ 118 ], "answer_start": [ 113 ], "text": [ "เสฉวน" ] }
227466
ภูเขาชิงเฉิงและระบบชลประทานตูเจียงยั่น ภูเขาชิงเฉิงและระบบชลประทานตูเจียงยั่น () คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน ระบบชลประทานตูเจียงยั่นซึ่งยังคงใช้ได้อยู่ในปัจจุบันนี้ได้เริ่มก่อสร้างในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 3 เพื่อกั้นแม่น้ำหมินและจัดการระบบน้ำในที่ราบสูงเฉิงตู ส่วนภูเขาชิงเฉิงนั้นเป็นจุดกำเนิดของลัทธิเต๋า มีสิ่งก่อสร้างโบราณเป็นจำนวนมากบนเขาแห่งนี้มรดกโลก มรดกโลก. ภูเขาชิงเฉิงและระบบชลประทานตูเจียงยั่นได้ร่วมกันลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 24 เมื่อปี พ.ศ. 2543 ที่เมืองแคนส์ ประเทศออสเตรเลีย ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้- (ii) - เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่ง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่ใด ๆ ของโลกซึ่งทรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม - (iv) - เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ - (vi) - มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์หรือมีความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์
ภูเขาชิงเฉิงและระบบชลประทานตูเจียงยั่นคือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในมณฑลใดของประเทศจีน
3990
{ "answer_end": [ 322 ], "answer_start": [ 318 ], "text": [ "เต๋า" ] }
227466
ภูเขาชิงเฉิงและระบบชลประทานตูเจียงยั่น ภูเขาชิงเฉิงและระบบชลประทานตูเจียงยั่น () คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน ระบบชลประทานตูเจียงยั่นซึ่งยังคงใช้ได้อยู่ในปัจจุบันนี้ได้เริ่มก่อสร้างในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 3 เพื่อกั้นแม่น้ำหมินและจัดการระบบน้ำในที่ราบสูงเฉิงตู ส่วนภูเขาชิงเฉิงนั้นเป็นจุดกำเนิดของลัทธิเต๋า มีสิ่งก่อสร้างโบราณเป็นจำนวนมากบนเขาแห่งนี้มรดกโลก มรดกโลก. ภูเขาชิงเฉิงและระบบชลประทานตูเจียงยั่นได้ร่วมกันลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 24 เมื่อปี พ.ศ. 2543 ที่เมืองแคนส์ ประเทศออสเตรเลีย ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้- (ii) - เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่ง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่ใด ๆ ของโลกซึ่งทรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม - (iv) - เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ - (vi) - มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์หรือมีความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์
ภูเขาชิงเฉิงในมณฑลเสฉวนของประเทศจีนเป็นจุดกำเนิดของลัทธิใด
3991
{ "answer_end": [ 25 ], "answer_start": [ 13 ], "text": [ "อัมสเตอร์ดัม" ] }
33479
อัมสเตอร์ดัม อัมสเตอร์ดัม (, ) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอัมสเติล (Amstel) เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปัจจุบันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเนเธอร์แลนด์ มีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 742,000 คน แต่ถ้านับรวมประชากรในเขตเมืองโดยรอบทั้งหมด จะมีประมาณ 1.5 ล้านคน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2005) อัมสเตอร์ดัมเป็นเมืองศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยเฉพาะช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป็นช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์ ถึงแม้อัมสเตอร์ดัมจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ แต่ศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาลนั้นอยู่ที่เฮก
เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์มีชื่อว่าอะไร
3992
{ "answer_end": [ 76 ], "answer_start": [ 60 ], "text": [ "ริชาร์ด วากเนอร์" ] }
168720
โลเฮ็นกริน โลเฮ็นกริน () เป็นบทละครโอเปราที่ประพันธ์ขึ้นโดย ริชาร์ด วากเนอร์ ดัดแปลงจากตำนานของ Garin le Loherain ในยุคกลาง เกี่ยวกับอัศวินหงส์ขาว โลเฮ็นกรินออกแสดงรอบปฐมทัศน์ที่โรงละคร Staatskapelle Weimar เยอรมนีเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 1850 กำกับการแสดงโดยฟรานซ์ ลิซท์ ซึ่งเลือกวันที่เปิดแสดงตรงกับวันนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธอ ซึ่งเกิดเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 1749 และประสบความสำเร็จตั้งแต่รอบแรก อุปรากรโลเฮ็นกริน แบ่งออกเป็น 3 องก์ มีทำนองที่ได้รับความนิยมเป็นช่วงโหมโรงเข้าสู่องก์ที่ 1 และ องก์ที่ 3 และท่อนร้องประสานเสียง "Bridal Chorus" จากองก์ที่ 3 ฉากการแต่งงานของโลเฮ็นกรินกับเอลซ่า ที่ปัจจุบันนิยมนำมาใช้บรรเลงในงานแต่งงานแบบคริสต์ เรียกว่า "Bridal march" หรือ "here comes the bride"เรื่องย่อ เรื่องย่อ. โลเฮ็นกรินเป็นบุตรของปาร์ซิวอล เขาเป็นอัศวินปกป้องจอกศักดิ์สิทธิ์ ที่ถูกส่งให้เดินทางไปด้วยเรือที่ลากโดยหงส์ เพื่อไปช่วยหญิงสาว บางบทความกล่าวว่าเพื่อช่วยเหลือเจ้าหญิงที่ตกอยู่ในอันตรายที่มีนามว่า เอลซ่า ซึ่งเป็นพระราชธิดาในกษัตริย์บราแดนท์ ที่เสด็จสวรรคตโดยไม่มีรัชทายาทชาย ดังนั้น ณ แท่นบรรทมก่อนเสด็จสวรรคต กษัตริย์บราแดนท์ได้ให้ทุกคนที่ล้อมรอบอยู่ ณ ที่นั้นสาบานว่าจะจงรักภักดีต่อพระราชธิดา แต่ถึงกระนั้น ท่านเคานท์เทรามันท์ไม่ยอมรับพระราชธิดาเอลซ่าเป็นประมุข และเพื่อเป็นการรักษาคำมั่น ท่านเคานท์จึงจะแต่งงานกับพระราชธิดาเอลซ่า และขึ้นเป็นกษัตริย์เอง ทันใดนั้นเอง โลเฮ็นกรินได้ปรากฏตัวขึ้นและได้ช่วยเหลือพระราชธิดาเอลซ่า จากนั้นอัศวินหงส์ผู้นี้ได้แต่งงานกับพระราชธิดาเอลซ่า โดยก่อนที่เขาจะพาเธอเดินทางกลับนั้น เขาได้ให้เธอสัญญาว่าจะไม่ถามว่าเขามาจากไหน เขาได้เตือนเธอว่าเมื่อไรก็ตามที่เธอผิดคำมั่นนี้ เขาจะหายไปจากเธอตลอดกาล เมื่อลูก ๆ 2 คนโตขึ้น เธอเกิดสงสัยและได้เอ่ยถามขึ้น หงส์ที่พาโลเฮ็นกรินมาปรากฏตัวขึ้นอีกครั้งและได้พาเขากลับไป
ใครคือผู้ประพันธ์บทละครโอเปราเรื่อง โลเฮ็นกริน
3993
{ "answer_end": [ 42 ], "answer_start": [ 39 ], "text": [ "ใต้" ] }
6865
จังหวัดปัตตานี ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขลาสัญลักษณ์ประจำจังหวัดสัญลักษณ์ประจำจังหวัด. - ตราประจำจังหวัด: ปืนใหญ่นางพญาตานี - ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกชบา (Hibiscus sp.) - ต้นไม้ประจำจังหวัด: ตะเคียนทอง (Hopes odorata) - คำขวัญประจำจังหวัด: "เมืองงามสามวัฒนธรรม ศูนย์ฮาลาลเลิศล้ำ ชนน้อมนำศรัทธา ถิ่นธรรมชาติงามตา ปัตตานีสันติสุขแดนใต้" - คำขวัญประจำจังหวัดเดิม: บูดูสะอาด หาดทรายสวย รวยน้ำตก นกเขาดี ลูกหยีอร่อยที่มาของชื่อ ที่มาของชื่อ. คำว่า ปัตตานี มาจากคำภาษามลายูปัตตานี ڤطاني ซึ่งมาจากคำว่า Pata Ini ("ชายหาดแห่งนี้") อีกทีหนึ่งที่ตั้ง ที่ตั้ง. ปัตตานีเป็นหนึ่งในห้าจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลตะวันออกของภาคใต้สุด ติดกับทะเลจีนใต้ อยู่ห่างจากกรุงเทพโดยทางรถยนต์ประมาณ 1,055 กิโลเมตร หรือ 1,025 กิโลเมตรโดยทางรถไฟ (สถานีรถไฟโคกโพธิ์)ภูเขาที่สำคัญ ภูเขาที่สำคัญ. ได้แก่ ภูเขาทรายขาว ซึ่งอยู่ในทิวเขาสันกาลาคีรี มีแม่น้ำที่สำคัญ 2 สาย คือ แม่น้ำปัตตานีและแม่น้ำสายบุรี ภูมิอากาศอบอุ่นตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 27.5 องศาเซลเซียส ฝนตกชุกในระหว่างเดือนธันวาคม-มกราคม ฝนตกเฉลี่ย 1,750.9 มิลลิเมตร/ปี (เฉลี่ยในรอบ 30 ปี)ฤดูกาลฤดูร้อน ฤดูกาล. ฤดูร้อน. เดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคมฤดูฝน ฤดูฝน. สิงหาคม-มกราคมศาสนาและอาชีพพลเมือง ศาสนาและอาชีพพลเมือง. ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวปัตตานีมีอาชีพหลักคือการทำนา สวนยาง นอกจากนี้ประชาชนที่อาศัยอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด เช่น อำเภอเมืองปัตตานี อำเภอปะนาเระ และอำเภอสายบุรี ยังประกอบอาชีพประมง ซึ่งส่งผลให้เกิดผลผลิตในภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องอย่างมากหน่วยการปกครอง หน่วยการปกครอง. การปกครองแบ่งออกเป็น 12 อำเภอ 115 ตำบล 642 หมู่บ้านอุทยานอุทยาน. - อุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาวสถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว. - มัสยิดกรือเซะ เป็นมัสยิดที่สร้างโดยสุลต่านมุสัฟฟาร์ ชาร์ พระองค์ได้สร้างมัสยิดแห่งนี้พร้อมกับมัสยิดบ้านดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี มัสยิดกรือเซะเป็นมัสยิดที่สุลต่านใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจและะพบปะพูดคุยกับประชาชน มัสยิดกรือเซะเป็นมัสยิดแห่งแรกในคาบสมุทรมลายู- หาดตะโละกาโปร์ - เมืองโบราณยะรัง - ศาลหลักเมืองปัตตานี - ศาลเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวหรือศาลเจ้าเล่งจูเกียง - สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ปัตตานี - หอนาฬิกาสามวัฒนธรรม - มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี - มัสยิดรายอ ปัตตานี - มัสยิดกรือเซะ ปัตตานี - วังยะหริ่ง ปัตตานีการศึกษาระดับอุดมศึกษาการศึกษา. ระดับอุดมศึกษา. - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี - มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา วิทยาเขตปัตตานี - วิทยาลัยชุมชนปัตตานี - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ปัตตานีโรงเรียนโรงเรียน. - ดูที่ รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดปัตตานีชาวจังหวัดปัตตานีที่มีชื่อเสียงชาวจังหวัดปัตตานีที่มีชื่อเสียง. - นายสวัสดิ์ วัฒนายากร อดีตองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช อดีตตุลาการศาลปกครองสูงสุด อดีตอธิบดีกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - พนมเทียน หรือ ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ ศิลปินแห่งชาติเทศกาลเทศกาล. - งานสมโภชเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว - งานประเพณีชักพระ - งานแข่งขันกีฬาตกปลาสายบุรี
ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใดของประเทศไทย
3994
{ "answer_end": [ 252 ], "answer_start": [ 242 ], "text": [ "ตะเคียนทอง" ] }
6865
จังหวัดปัตตานี ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขลาสัญลักษณ์ประจำจังหวัดสัญลักษณ์ประจำจังหวัด. - ตราประจำจังหวัด: ปืนใหญ่นางพญาตานี - ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกชบา (Hibiscus sp.) - ต้นไม้ประจำจังหวัด: ตะเคียนทอง (Hopes odorata) - คำขวัญประจำจังหวัด: "เมืองงามสามวัฒนธรรม ศูนย์ฮาลาลเลิศล้ำ ชนน้อมนำศรัทธา ถิ่นธรรมชาติงามตา ปัตตานีสันติสุขแดนใต้" - คำขวัญประจำจังหวัดเดิม: บูดูสะอาด หาดทรายสวย รวยน้ำตก นกเขาดี ลูกหยีอร่อยที่มาของชื่อ ที่มาของชื่อ. คำว่า ปัตตานี มาจากคำภาษามลายูปัตตานี ڤطاني ซึ่งมาจากคำว่า Pata Ini ("ชายหาดแห่งนี้") อีกทีหนึ่งที่ตั้ง ที่ตั้ง. ปัตตานีเป็นหนึ่งในห้าจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลตะวันออกของภาคใต้สุด ติดกับทะเลจีนใต้ อยู่ห่างจากกรุงเทพโดยทางรถยนต์ประมาณ 1,055 กิโลเมตร หรือ 1,025 กิโลเมตรโดยทางรถไฟ (สถานีรถไฟโคกโพธิ์)ภูเขาที่สำคัญ ภูเขาที่สำคัญ. ได้แก่ ภูเขาทรายขาว ซึ่งอยู่ในทิวเขาสันกาลาคีรี มีแม่น้ำที่สำคัญ 2 สาย คือ แม่น้ำปัตตานีและแม่น้ำสายบุรี ภูมิอากาศอบอุ่นตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 27.5 องศาเซลเซียส ฝนตกชุกในระหว่างเดือนธันวาคม-มกราคม ฝนตกเฉลี่ย 1,750.9 มิลลิเมตร/ปี (เฉลี่ยในรอบ 30 ปี)ฤดูกาลฤดูร้อน ฤดูกาล. ฤดูร้อน. เดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคมฤดูฝน ฤดูฝน. สิงหาคม-มกราคมศาสนาและอาชีพพลเมือง ศาสนาและอาชีพพลเมือง. ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวปัตตานีมีอาชีพหลักคือการทำนา สวนยาง นอกจากนี้ประชาชนที่อาศัยอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด เช่น อำเภอเมืองปัตตานี อำเภอปะนาเระ และอำเภอสายบุรี ยังประกอบอาชีพประมง ซึ่งส่งผลให้เกิดผลผลิตในภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องอย่างมากหน่วยการปกครอง หน่วยการปกครอง. การปกครองแบ่งออกเป็น 12 อำเภอ 115 ตำบล 642 หมู่บ้านอุทยานอุทยาน. - อุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาวสถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว. - มัสยิดกรือเซะ เป็นมัสยิดที่สร้างโดยสุลต่านมุสัฟฟาร์ ชาร์ พระองค์ได้สร้างมัสยิดแห่งนี้พร้อมกับมัสยิดบ้านดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี มัสยิดกรือเซะเป็นมัสยิดที่สุลต่านใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจและะพบปะพูดคุยกับประชาชน มัสยิดกรือเซะเป็นมัสยิดแห่งแรกในคาบสมุทรมลายู- หาดตะโละกาโปร์ - เมืองโบราณยะรัง - ศาลหลักเมืองปัตตานี - ศาลเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวหรือศาลเจ้าเล่งจูเกียง - สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ปัตตานี - หอนาฬิกาสามวัฒนธรรม - มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี - มัสยิดรายอ ปัตตานี - มัสยิดกรือเซะ ปัตตานี - วังยะหริ่ง ปัตตานีการศึกษาระดับอุดมศึกษาการศึกษา. ระดับอุดมศึกษา. - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี - มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา วิทยาเขตปัตตานี - วิทยาลัยชุมชนปัตตานี - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ปัตตานีโรงเรียนโรงเรียน. - ดูที่ รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดปัตตานีชาวจังหวัดปัตตานีที่มีชื่อเสียงชาวจังหวัดปัตตานีที่มีชื่อเสียง. - นายสวัสดิ์ วัฒนายากร อดีตองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช อดีตตุลาการศาลปกครองสูงสุด อดีตอธิบดีกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - พนมเทียน หรือ ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ ศิลปินแห่งชาติเทศกาลเทศกาล. - งานสมโภชเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว - งานประเพณีชักพระ - งานแข่งขันกีฬาตกปลาสายบุรี
ต้นไม้ประจำจังหวัดปัตตานีของประเทศไทยคือต้นอะไร
3995
{ "answer_end": [ 28 ], "answer_start": [ 18 ], "text": [ "นครราชสีมา" ] }
5114
จังหวัดนครราชสีมา นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ พ.ศ. 2217สัญลักษณ์ประจำจังหวัดสัญลักษณ์ประจำจังหวัด. - คำขวัญประจำจังหวัด : เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน - ตราประจำจังหวัด : รูปอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีหน้าประตูชุมพล - ธงประจำจังหวัด : รูปอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีหน้าประตูชุมพล ในพื้นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีแสด - ต้นไม้ประจำจังหวัด : ต้นสาธร () - ดอกไม้ประจำจังหวัด : ดอกสาธร - สัตว์น้ำประจำจังหวัด : ปลาบ้าหรือปลาพวง ()ที่มาของชื่อ ที่มาของชื่อ. มีผู้เสนอว่าอาจมีความเป็นไปได้ที่ เมืองนครราช คือเมืองเดียวกันกับเมืองราด ของพ่อขุนผาเมือง เนื่องจากมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเมืองพระนครหลายประการ นอกจากนี้รูปสลักกองทัพชาวสยามบนระเบียงด้านหนึ่งของ นครวัด อาจเป็นชาวสยามจากลุ่มแม่น้ำมูลที่เกี่ยวข้องกับเมืองนครราช และยังมีการกล่าวถึงเมืองนครราชสีมาในพงศาวดารของกัมพูชาหลายครั้งด้วย อย่างไรก็ตาม ผู้ที่มีมุมมองอีกด้านหนึ่งก็ว่า นครราชสีมา นั้นเป็นคำไทยเป็นคำใหม่ แยกเป็นคำได้คือ นคร, ราช และ สีมา หมายความว่า "เมืองใหญ่อันเป็นขอบขัณฑสีมาของราชอาณาจักร" (ราช+สีมา) ส่วนคำว่า โคราช (สำเนียงถิ่น: โค-หฺราด , ไทยกลาง: โค-ราด, เขมร: โก-เรียช ) นั้น น่าจะเพี้ยนมาจาก นครราช (อ่านตามสำเนียงว่า คอน-หฺราด ซึ่งเป็นคำเรียกนครราชสีมาแบบย่อ ๆ ของชาวบ้าน) หรือ อังกอร์เรียจ ต่อมาลดรูปเป็น กอร์เรียจ และเพี้ยนเป็นโคราช ในที่สุด และไม่ได้เพี้ยนมาจากชื่อเมืองโคราฆปุระ (Gorakhpur) ที่เป็นชื่อเมืองสมัยใหม่ในแคว้นเดียวกับเมืองอโยธยา (Ayodhya) ในอินเดีย ตามข้อสันนิษฐานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เดิมทีนั้นชื่อเมืองนครราชสีมา มีการใช้ "นครราชสีมา" และ "นครราชสีห์มา" สลับกันไป จนกระทั่งเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2445 (พ.ศ. 2444 เดิม) ได้มีพระบรมราชโองการฯ ให้ประกาศว่าประวัติศาสตร์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. สมัยก่อนประวัติศาสตร์. จากหลักฐานทางโบราณคดีพบว่า มีชุมชนโบราณซึ่งเป็นร่องรอยของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคหินใหม่ต่อเนื่องมาถึงยุคสำริด และยุคเหล็ก กระจายอยู่ทั่วไปในจังหวัดนครราชสีมา โดยมีแหล่งโบราณคดีที่สำคัญคือ ชุมชนบ้านปราสาท ชุมชนบ้านโนนวัด แหล่งภาพเขียนสีเขาจันท์งาม ซึ่งกำหนดอายุได้ประมาณ 4,500 ปีมาแล้วสมัยประวัติศาสตร์อาณาจักรศรีจนาศะ หรือ จนาศะปุระ สมัยประวัติศาสตร์. อาณาจักรศรีจนาศะ หรือ จนาศะปุระ. มีความเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยทวารวดี ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเสมา ตั้งอยู่บริเวณอำเภอสูงเนินในปัจจุบัน เป็นเมืองใหญ่เชื่อกันว่าเป็นที่ตั้งของรัฐศรีจนาศะ ใน พ.ศ. 1411 ตามจารึก ข้อมูลปฐมภูมิเกี่ยวอาณาจักรนี้ ศึกษาได้จากศิลาจารึก ซึ่งปัจจุบันพบอยู่ 2 หลักคือ 1.  จารึกบ่ออีกา (จารึกด้วยอักษรหลังปัลลวะ ใช้ภาษาสันสกฤต กับ เขมร กำหนดอายุได้ พ.ศ. 1411)  สถานที่พบ บ้านบ่ออีกา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา  เนื้อหาโดยสังเขป  ด้านที่ 1 กล่าวถึงสัตว์และทาสที่พระราชาแห่งศรีจนาศะถวายแก่พระสงฆ์  ด้านที่ 2 เริ่มต้นด้วยการกล่าวสรรเสริญพระศิวะ แล้วกล่าวยกย่องอังศเทพซึ่งเป็นผู้สร้างศิวลึงค์นี้ 2. จารึกศรีจานาศะ (จารึกด้วยอักษรขอมโบราณ ใช้ภาษาสันสกฤต กับ เขมร กำหนดอายุได้ พ.ศ. 1480) สถานที่พบ บริเวณเทวสถาน ใกล้สะพานชีกุน อำเภอเมือง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา  เนื้อหาโดยสังเขป ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการสรรเสริญพระศิวะ จากนั้นสรรเสริญนางปารวตี ต่อจากนั้นจึงกล่าวถึงรายพระนามพระราชาแห่งอาณาจักรจานาศปุระ คือ พระราชาองค์แรกทรงพระนามว่าภคทัตต์ ผู้ที่สืบต่อลงมาจากพระเจ้าภคทัตต์องค์หนึ่งทรงพระนามว่า สุนทรปรากรม พระเจ้าสุนทรปรากรมทรงมีโอรสทรงพระนามว่า สุนทรวรมัน พระเจ้าสุนทรวรมันทรงมีโอรส 2 องค์องค์พี่ทรงนามว่านรปติสิงหวรมัน ได้เสด็จขึ้นครองราชย์แห่งอาณาจักรศรีจานาศะ องค์น้องทรงนามว่า มงคลวรมัน ได้โปรดให้สร้างจารึกหลักนี้เพื่อฉลองการสร้างพระรูปพระชนนีเป็นพระราชเทวี คือ ชายาของพระศิวะ เมื่อศักราช 859 (พ.ศ. 1480) ส่วนจารึกด้านที่ ๒ นั้น เป็นรายชื่อของทาส เมืองพิมาย หรือ วิมายปุระ เมืองพิมาย หรือ วิมายปุระ. ชุมชนในเขตลุ่มแม่น้ำมูลเริ่มมีการตั้งถิ่นฐานเป็นบ้านเมืองขึ้นในช่วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 (ประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 6 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7) เมื่อปรากฏเมืองที่มีคันดินล้อมรอบซี่งมีรูปร่างกลมหรือมีรูปร่างไม่แน่นอนกระจายอยู่ทั่วบริเวณ เช่น บริเวณบ้านเมืองฝ้าย ตำบลบ้านฝ้าย อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ บริเวณบ้านโตนด ตำบลโตนด อำเภอโนนสูงบริเวณเมืองพิมาย อำเภอพิมาย บริเวณเมืองเสมา อำเภอเนินสูง บริเวณหินขอนอำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา โดยบริเวณบ้านโตนดที่อยู่ห่างจากเมืองพิมายไปทางด้านใต้ประมาณ 20 กิโลเมตร ได้พบลูกปัดแก้วสีน้ำเงินและลูกปัดหินทำด้วยหินอารเกทและเตอร์เนเสียน มีลายสลับเขียว เหลือง แดง ซึ่งพบมากในชุมชนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา แสดงให้เห็นว่าบ้านเมืองในเขตลุ่มแม่น้ำมูล มีการรับวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามา พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ แสดงความเห็นว่า บริเวณบ้านโตนดน่าจะเป็นหมู่บ้านชนบทของเมืองพิมาย เป็นพื้นที่ทำการเพาะปลูกส่วนหนึ่งของเมืองพิมาย โดยมีแม่น้ำมูลเป็นทางคมนาคมขนส่งในการลำเลียงพืชพันธุ์ธัญญาหารสู่เมืองพิมายในขณะเดียวกัน เมืองพิมายได้ปรากฏชื่ออยู่ในจารึกของเขมรมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าอิศานวรมันที่ 1(พ.ศ. 1159 ถึงราว พ.ศ. 1180 หรือ ค.ศ. 616 ถึงราว ค.ศ. 637) ว่า ภีมปุระ (Bhimapura) ประกอบกับการพบจารึกของพระเจ้ามเหนทรวรมัน (ราว พ.ศ. 1150 ถึง พ.ศ. 1159 หรือ ราว ค.ศ. 607 ถึง ค.ศ. 616) ที่อำเภอนางรองจังหวัดบุรีรัมย์ และที่จังหวัดอุบลราชธานีเป็นจำนวนหลายหลัก แสดงให้เห็นว่า อารยธรรมเขมรได้แผ่ขยายอิทธิพลเข้ามามีบทบาทในเขตลุ่มแม่น้ำมูลตั้งแต่ช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 12 (ครึ่งหลังคริสต์ศตวรรษที่ 6) แล้ว โดยปรากฏชุมชนในวัฒนธรรมเขมรหลายแห่งในบริเวณนี้ เช่น บริเวณแก่งสะพือ อำเภอพิบูล มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี บริเวณบ้านดม อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์  เมืองพิมายได้เจริญขึ้นมามีบทบาทสำคัญเป็นเมืองศูนย์กลางขนาดใหญ่ของอารยธรรมเขมรในเขตลุ่มแม่น้ำมูลในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 1654 (ครึ่งแรกคริสต์ศตวรรษที่ 11)เมื่อมีการสถาปนาราชวงศ์มหิธรปุระ (Mahidrapura) ขึ้นในเขตที่ราบสูงโคราช และเจริญรุ่งเรืองสุดในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ. 1724 ถึงราว พ.ศ. 1763 หรือ ค.ศ. 1181 ถึงราว ค.ศ. 1220) เพราะมีชื่อเมืองพิมายปรากฏในจารึกปราสาทพระขรรค์56 กล่าวว่า “จากเมืองหลวงไปยังเมืองวิมาย (มี) ที่พักพร้อมด้วยไฟ 17 แห่ง”และมีรูปฉลององค์ของพระเจ้าชัยวรมันที่7 และพระชายาอยู่ที่ปราสาทหินพิมายด้วย จารึกปราสาทหินพิมาย         จารึกที่พบที่ปราสาทหินพิมายมีทั้งหมด 6 หลัก คือ         -     จารึกปราสาทหินพิมาย 1 อักษรขอม ภาษาสันสกฤต ศิลาทราย กว้าง 57 เซนติเมตร สูง 40 เซนติเมตร หนา 12เซนติเมตร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าพบในส่วนใดของปราสาท         -    จารึกปราสาทหินพิมาย 2 อักษรขอม ภาษาสันสกฤตและเขมร ศิลารูปใบเสมา กว้าง 23 เซนติเมตร สูง 18 เซนติเมตรหนา 5.5 เซนติเมตร พบที่มุมตะวันออกเฉียงใต้ของปราสาทประธาน         -    จารึกปราสาหินพิมาย 3 อักษรขอม ภาษาเขมร พบที่กรอบประตูซุ้มระเบียงคดด้านทิศใต้         -    จารึกปราสาทหินพิมาย 4 อักษรขอม ภาษาเขมร พบที่ระเบียงคดด้านใต้ซีกตะวันออก เป็นจารึกฐานประติมากรรม         -    จารึกปราสาทหินพิมาย 5 อักษรขอม ภาษาบาลี กว้าง 15 เซนติเมตร ยาว 32เซนติเมตร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าพบในส่วนใดของปราสาท         -    จารึกปราสาทหินพิมาย 6 อักษรขอม ภาษาเขมร แตกชำรุดเป็น 5 ชิ้น ไม่ปรากฏหลักฐานว่าพบส่วนใดของปราสาท         จารึกที่มีข้อความพอที่จะศึกษาได้ คือ จารึกปราสาทหินพิมาย 2 จารึกปราสาทหินพิมาย 3 และจารึกปราสาทหินพิมาย 4 โดยเนื้อหาสาระของจารึกมีประเด็นที่สำคัญ คือ         1.     การบูชาและถวายของแด่พระพุทธเจ้า         2.     การกล่าวสรรเสริญพระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 (พ.ศ. 1545 – 1593 / ค.ศ. 1002 –1050)         3.     การทำนุบำรุงศาสนสถานโดยการสร้างรูปเคารพ การทำพิธีต่างๆ และการถวายที่ดิน ข้าทาส สิ่งของแก่ศาสนสถานเพื่ออุทิศบุญกุศลแก่บรรพบุรุษ         4.     การสร้างเมืองและศาสนสถาน         จากจารึกปราสาทหินพิมาย 2 มีการกล่าวถึง มหาศักราช 95858 เทียบได้กับ พ.ศ. 1579 (ค.ศ. 1036) และพระนาม“ศรีสูรยวรมะ” ซึ่งหมายถึง พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 ทำให้นักวิชาการมีความเห็นว่า ปราสาทหินพิมายคงจะสร้างขึ้นในรัชสมัยนี้โดยปามังติเอร์ (H.Parmentier) ให้ความเห็นว่า รูปแบบศิลปะของซุ้มและมุขหน้าปราสาทประธาน น่าจะเป็นฝีมือช่างในสมัยพระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 ซึ่งเทียบได้กับศิลปะที่ปราสาทวัดเอกและวัดบาเสตในเมืองพระตะบองซึ่งสร้างขึ้นในรัชกาลนี้แต่จารึกหลักนี้มีปัญหาที่ว่าไม่ได้เป็นจารึกที่อยู่ติดกับตัวปราสาทหินพิมาย จึงไม่อาจสรุปลงไปได้อย่างชัดเจนว่า ปราสาทหินพิมายสร้างขึ้นในรัชสมัย พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1อย่างไรก็ตาม จารึกปราสาทหินพิมาย 3 ซึ่งเป็นจารึกที่ติดกับศาสนสถานได้กล่าวถึงมหาศักราช1030 หรือ พ.ศ. 1651 (ค.ศ. 1108) ซึ่งตรงกับรัชกาลพระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1 (พ.ศ. 1650 – 1656 หรือ ค.ศ. 1107 – 1113) “...กมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมะเมืองโฉกวะกุลสถาปนากมรเตงชคตเสนาบดีไตรโลกยวิชัย ซึ่งเป็นเสนาบดีแห่งกมรเตงชคต-วิมายะฯ...” ได้แสดงให้เห็นว่าในปี พ.ศ. 1651 (ค.ศ. 1108) ต้องมีศาสนสถานปราสาทหิน พิมายอยู่แล้ว เพราะมีรูปเคารพกมรเตงชคตวิมายะ ซึ่งเป็นประธานของปราสาทหินพิมายแล้ว โดยนักวิชาการแสดงความเห็นว่ากมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมะนั้นน่าจะหมายถึง เจ้าเมืองหรือขุนนางของพระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1 ที่ครองเมืองพิมายอยู่ในขณะนั้น เพราะชื่อ ศรีวิเรนทราธิบดีวรมะเป็นชื่อตามปราสาทหินพิมายที่ปรากฏในจารึก คือ ศรีวิเรนทราศรม ซึ่งหมายถึง อาศรมของศรีวิเรนทราธิบดี และไซเดนฟาเดน (E. Seidenfaden) ได้แสดงความเห็นว่า กมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ ต่อมาก็ได้เป็นพระเจ้าสูรยวรมันที่ 2 (พ.ศ. 1656ถึงหลัง พ.ศ. 1688 หรือ ค.ศ.1113 ถึงหลัง ค.ศ. 1145)         นอกจากนี้ ในตอนท้ายจารึกปราสาทหินพิมาย 3 ยังได้กล่าวถึงศักราช 1031 (พ.ศ. 1652 / ค.ศ. 1109) กมรเตงอัญศรีวีรวรมะได้ถวายของและข้าพระแด่กมรเตงชคตเสนาบดีไตรโลกวิชัย เพื่อถวายผลนั้นแด่พระบาทกมรเตงอัญศรีธรณีนทรวรมเทวะฯ ซึ่งหมายถึง พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1 ที่ครองราชย์อยู่ที่เมืองพระนครขณะนั้น         จากจารึกทั้งสองหลักพอจะสันนิษฐานได้ว่า ปราสาทหินพิมายคงจะสร้างขึ้นก่อนปี พ.ศ. 1651 (ค.ศ. 1108) ซึ่งกรอสลิเย่ (Bernard Philippe Groslier) กล่าวว่า คงเริ่มสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 (พ.ศ. 1623 – 1650 / ค.ศ. 1080 – 1107) เนื่องจากเมืองพิมายเป็นราชธานีของพระองค์มาก่อน โดยพระองค์โปรดให้สร้างปราสาทหินพิมายขึ้นเพื่ออุทิศถวายแด่บรรพบุรุษในราชวงศ์มหิธรปุระ พุทธศาสนาที่ปราสาทหินพิมาย         เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า ปราสาทหินพิมายเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นในคติพุทธศาสนา เพราะประธานเป็นรูปพระพุทธรูปนาคปรกศิลามีพระนาม กมรเตงชคตวิมายะ แต่การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้นักวิชาการส่วนมากเข้าใจว่าพุทธศาสนาลัทธิวัชรยานหรือตันตระยาน เป็นนิกายหนึ่งของพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ซึ่งเมื่อศึกษาถึงปรัชญาและจุดมุ่งหมายของวัชรยานและมหายานแล้ว จะเห็นได้ว่าทั้งวัชรยานและมหายานต่างก็มีปรัชญาที่ต่างกัน ดังนั้นวัชรยานและมหายานจึงเป็นลัทธิที่แยกออกจากกันอย่างชัดเจน เมื่อพิจารณาจากหลักฐานที่ปรากฏที่ปราสาทหินพิมายทั้งจากตัวศิลปะและจารึกกล่าวได้ว่า ปราสาทหินพิมายสร้างขึ้นในพุทธศาสนาลัทธิวัชรยาน เนื่องจากด้านหน้าทางเข้าปราสาทประธาน ปรากฏรูปพระวัชรสัตวพุทธะ คือ พระชินพุทธะองค์ที่ 6 ของลัทธิวัชรยานแสดงรูปโดยทรงถือวัชระในพระหัตถ์ขวา และทรงถือกระดิ่งในพระหัตถ์ซ้าย และจากการศึกษาประติมากรรมเครื่องใช้สัมฤทธิ์ที่บริเวณเมืองพิมายและบริเวณใกล้เคียง พบวัชระและกระดิ่งที่ภิกษุในลัทธิวัชรยานใช้ในการประกอบพิธีกรรมเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้รูปเคารพที่ปรากฏอยู่บนทับหลังประดับประตูด้านในวิมานของปราสาทประธาน ยังแสดงถึงรูปเทพเจ้าในลัทธิวัชรยานด้วย คือทับหลังประดับทิศใต้ แสดงภาพกมรเตงชคตวิมายะอยู่ตรงกลาง ตอนบนของทับหลัง คือ พระชินพุทธะ 6 พระองค์ ด้านละ 3 พระองค์ ทับหลังประดับทิศตะวันตก ตอนบนแสดงภาพพระอมิตาภพุทธะ พระชินพุทธะ ประจำทิศตะวันตกส่วนตอนล่างแสดงภาพความรื่นรมย์บนสวรรค์สุขาวดี ทับหลังประดับทิศเหนือ ตรงกลางเป็นรูปเทพเจ้า 3 พักตร์ 6 กร โดยพระหัตถ์ล่างอยู่ในท่าปางสมาธิ พระหัตถ์ขวากลางถือลูกประคำ และพระหัตถ์ซ้ายกลางถือกระดิ่ง ซึ่งก็คือเหวัชระ หรือพระวัชรินตามชื่อที่ปรากฏในจารึกของกัมพูชาทับหลังประดับทิศตะวันออก แสดงภาพเทพเจ้า 4 พักตร์ 8 กร โดยพระพักตร์ที่ 4อยู่ด้านหลังสองกรล่างอยู่ในท่าแสดงธรรม ร่ายรำอยู่ในท่าอรรธปรยังกะ บนพระไภรวะและนางกาลราตรี และทรงถือหนังช้าง เทพเจ้าองค์นี้คือ สังวร ซึ่งอยู่ในสกุลพระอักโษภยะพระชินพุทธะประจำทิศตะวันออกนอกจากนี้ ยังปรากฏทับหลังประดับประตูชิ้นหนึ่งไม่ทราบตำแหน่งเดิมจากปราสาทหินพิมาย คือ ทับหลังภาพเจ้าเมืองทำอัษฎางคประดิษฐ์ ในพระหัตถ์มีหม้อน้ำที่รองรับน้ำมนตร์จากพระกมรเตงชคตวิมายะ ที่แสดงภาพอยู่ตอนกลางด้านบนของทับหลัง  การถวายอัษฎางคประดิษฐ์เป็นการถวายความเคารพในลัทธิวัชรยาน ซึ่งยังคงปรากฏอยู่ในประเทศธิเบตและเนปาลปัจจุบัน ลัทธิวัชรยานเริ่มปรากฏในเขมรมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าราเชนทรวรมัน (พ.ศ. 1474 –1511 หรือ ค.ศ. 935 – 968) เพราะจารึกปราสาทเบ็งเวียนได้กล่าวถึงพระโลเกศวรและนางปรัชญาปารมิตา ผู้ประทานกำเนิดพระชินพุทธะและธาตุทั้ง 5 (มูลปฺรกฤติ)ในไตรโลก นอกจากนี้จารึกบ้านสับบาก อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ใน พ.ศ. 1609 (ค.ศ. 1066) ได้กล่าวถึงพระปาญจสุคต ซึ่งคือ พระชินพุทธะในลัทธิวัชรยาน และยังกล่าวถึงคัมภีร์ศรีสมาจะ ซึ่งเป็นชื่อย่อของคัมภีร์ศรีคุหยสมาจตันตระ(การสนทนาที่เป็นความลับ) เป็นคัมภีร์เก่าสุดที่พระพุทธเจ้าพระนามว่า สรรว-ตถาคต-กาย-วาก-จิตต์ ประทานให้กับพุทธสมาคมและเป็นต้นตำรับของวัชรยาน ทั้งยังเป็น 1 ใน 9 คัมภีร์หลักของเนปาลจารึกทั้งสองหลักแสดงให้เห็นว่าพุทธศาสนาลัทธิวัชรยานได้มีการวางรากฐานในอารยธรรมเขมรมาตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 15 (ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10) และคงแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในเขตที่ราบสูงโคราชช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 17 (กลางคริสต์ศตวรรษที่ 11) จากนั้นก็เจริญรุ่งเรืองสุดในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7โดยมีศูนย์กลางของลัทธิวัชรยานในประเทศไทยที่เมืองพิมาย และมีปราสาทหินพิมายเป็นศาสนสถานที่สำคัญของลัทธินี้ บทบาทและหน้าที่ของปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินพิมายเป็นปราสาทในอารยธรรมเขมรแบบ “ที่มีระเบียงคดล้อมรอบปรางค์ประธาน” และเป็นศูนย์กลางลัทธิวัชรยานจากกัมพูชาที่สำคัญในประเทศไทย อีกทั้งในจารึกปราสาทพระขรรค์ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ยังกล่าวถึงเมืองพิมายในฐานะที่เป็นเมืองปลายทางของเส้นทางหลักสายหนึ่งในจำนวน 6 เส้นทางจากเมืองพระนคร ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของเมืองพิมายในช่วงระยะเวลานี้ได้อย่างดี ประกอบกับภายนอกกำแพงเมืองด้านทิศใต้มีสิ่งก่อสร้างที่สำคัญของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 หลงเหลืออยู่ คือ อโรคยศาลที่พระองค์โปรดให้สร้างขึ้นทั่วพระราชอาณาจักรของพระองค์ เพราะทรงมีความปรารถนาที่จะช่วยเหลือราษฎรให้พ้นจากความทุกข์กายอันได้แก่ความไม่มีโรค จากลักษณะดังกล่าวต่างเป็นสิ่งแสดงถึงฐานะของเมืองพิมายที่มิใช่เป็นเพียง “ดินแดนนอกกัมพุชเทศ” เท่านั้น แต่มีความสำคัญในฐานะที่เป็นดินแดนปิตุภูมิของกษัตริย์เขมรในราชวงศ์มหิธรปุระอีกประการหนึ่งที่สำคัญ คือ รูปแบบศิลปะสถาปัตยกรรมของปราสาทหินพิมายที่จัดอยู่ในศิลปะเขมรแบบนครวัดตอนต้นนี้ ยังส่งอิทธิพลกลับคืนไปยังศูนย์กลางที่เมืองพระนครด้วยความเป็นศูนย์กลางของพิมายในลุ่มแม่น้ำมูลตอนบนเช่นนี้ ทำให้ปราสาทหินพิมายไม่ได้เป็นเพียงปราสาทของราชวงศ์มหิธรปุระเท่านั้น หากยังเป็นศาสนสถานที่รับใช้ชุมชนพิมายเองด้วย ดังปรากฏในจารึกปราสาทหินพิมาย 2 ที่กล่าวถึงการทำบุญในวันสำคัญต่างๆ และการไปนมัสการพระพุทธเจ้าเพื่อให้เกิดความเจริญในชีวิต อีกทั้งภายในบริเวณเมืองพิมายเองก็มีการขุดสระหรือบารายขนาดใหญ่ คือ สระแก้ว สระพรุ่ง (สระศรี) และสระขวัญ และภายนอกกำแพงเมืองด้านตะวันออก คือ สระเพลง นอกกำแพงด้านทิศใต้ คือ สระช่องแมว ซึ่งแสดงให้เห็นถึงระบบการชลประทานขนาดใหญ่ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อรับใช้ชุมชนที่มีขนาดใหญ่ ดังนั้นปราสาทหินพิมายจึงมีความสำคัญในฐานะที่เป็นปราสาทประจำราชวงศ์มหิธรปุระ และเป็นศาสนสถานในลัทธิวัชรยานของชุมชนแม่น้ำมูลตอนบนสมัยอยุธยา สมัยอยุธยา. เนื่องจากตั้งอยู่เป็นบริเวณที่เป็นชายขอบระหว่างรัฐที่มีอำนาจ เป็นรัฐกันชน นครราชสีมาจึงมีประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวพันกับความขัดแย้งระหว่างรัฐอยู่เสมอ เช่น ระหว่างสยามกับกัมพูชา หรือ ระหว่างสยามกับล้านช้าง หรือ ในบางครั้งได้มีความพยายามที่จะตั้งตัวเป็นรัฐอิสระไม่ขึ้นกับผู้ใด เฉกเช่นเดียวกับบรรดาเมืองใหญ่อื่น ๆ ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 อาณาจักรอยุธยาสามารถเอาชนะกัมพูชาได้ รวมทั้งได้ทำการรวบรวมหัวเมืองในลุ่มแม่น้ำมูลเข้ามาอยู่ในอำนาจ เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. 1991 - 2031 ได้สืบราชสมบัติต่อมา มีการจัดระดับเมืองพระยามหานคร 8 หัวเมือง คือ พิษณุโลก ศรีสัชนาลัย สุโขทัย กำแพงเพชร นครศรีธรรมราช นครราชสีมา ตะนาวศรี และทวาย ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เริ่มปรากฏชื่อเมืองนครราชสีมาเป็นเมืองสำคัญในขอบขัณฑสีมา และได้ดำรงความสำคัญสืบต่อมาในประวัติศาสตร์อยุธยาและรัตนโกสินทร์ ตามระบบระบบบรรดาศักดิ์ขุนนางไทย เจ้าเมืองนครราชสีมานับเป็นขุนนางระดับสูงมีบรรดาศักดิ์เป็น ออกญากำแหงสงครามรามภักดีพิรียภาหะ มีศักดินา 10,000 ไร่ ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพเมืองนครราชสีมาได้ถูกมอบหมายให้เป็นกำลังหลักในการโจมตีเมืองเสียมราฐ และภาคตะวันออกของทะเลสาบจนได้ชัยชนะเหนือพระยาละแวก ในที่สุด ครั้นถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงเห็นว่าเป็นหัวเมืองใหญ่และมีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ เนื่องจากเป็นเมืองหน้าด่านของอยุธยาติดกับพรมแดนลาว (เข้าใจว่าเลยลำสะแทด ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของแม่น้ำมูลเหนือเมืองพิมายเป็นเขตแดนลาว เพราะมีบันทึกไว้ในนิราศหนองคาย สอดคล้องกับวัฒนธรรมและภาษาที่เปลี่ยนไปด้วย) จึงโปรดให้ย้ายเมืองเสมา มาสร้างเมืองใหม่ ณ ที่ตั้งปัจจุบัน โดยมีการวางผังเมืองเป็นตารางรูปสีเหลี่ยม ขนาดกว้าง 1,000 เมตร ความยาว 1,700 เมตร มีกำแพงเมืองขนาดใหญ่ มีป้อมค่ายหอรบ และพระราชทานนามว่า "เมืองนครราชสีมา" จุลศักราช 1036 (พุทธศักราช 2217) โปรดให้พระยายมราช (สังข์)เป็นเจ้าเมือง ในคราวเดียวกันกับที่แต่งตั้ง เจ้าพระยารามเดโช เป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ ชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้เขียนรายงานและบันทึกไว้ในจดหมายเหตุ ว่า เมืองโคราชสีมา (Corazema) เป็นหัวเมืองใหญ่ 1 ใน 7 มณฑล ตั้งอยู่ติดชายแดนของราชอาณาจักรสยามกับเมืองลาว มีเมืองบริวาร 5 เมือง ในแผ่นดิน สมเด็จพระเพทราชา พระยายมราชเจ้าเมืองนครราชสีมาที่แต่งตั้งโดยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้แข็งเมือง เนื่องจากไม่พอใจสมเด็จพระเพทราชา ที่ก่อการยึดอำนาจและเปลี่ยนราชวงศ์ จึงไม่ขอขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยา แต่ถูกกองทัพกรุงศรีอยุธยาใช้เวลาปราบปรามโดยล้อมเมืองอยู่ประมาณ 2 ปี โดยใช้อุบายและกลยุทธปราบลงได้ พระยายมราช เจ้าเมืองนครราชสีมาได้หนีไปพึ่ง เจ้าพระยารามเดโชเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชซึ่งไม่พอใจสมเด็จพระเพทราชาเช่นกัน แต่ถูกกองทัพอยุธยาตามไปปราบปรามลงได้ นับแต่นั้นเมืองนครราชสีมาได้ถูกลดความสำคัญลงไม่เข้มแข็งดังแต่ก่อนสมัยกรุงธนบุรี สมัยกรุงธนบุรี. หลังกรุงศรีอยุธยาล่มสลาย เจ้าเมืองพิมายและกรมหมื่นเทพพิพิธได้ตั้งตัวเป็นชุมนุมอิสระที่สำคัญชุมนุมหนึ่งแต่ถูกปราบลงโดยพระเจ้าตาก หลังจากนั้นเมืองนครราชสีมาได้เป็นฐานกำลังทางทหารและการปกครองที่สำคัญของไทยมาโดยตลอด โดยในสมัยกรุงธนบุรีได้ถูกใช้เป็นฐานรวบรวมกำลังของ พระยาอภัยรณฤทธิ์ และ พระยาอนุชิตราชา ในการสงครามกับล้านช้างและกัมพูชา ในคราวสงครามตีเมืองเวียงจันทน์และได้พระแก้วมรกต หลวงยกกระบัตรเมืองพิมายอยู่ในทัพหน้า มีความดีความชอบจึงได้รับการแต่งตั้งเป็น พระยานครราชสีมา และ เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น) ในที่สุด ต่อมาพระยากำแหงสงคราม (บุญคง) ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองนครราชสีมา ในช่วงปลายรัชสมัยพระเจ้าตาก เมื่อเกิดการกบฏพระยาสรรค์ขึ้น พระสุริยอภัย กรรมการเมืองนครราชสีมา ได้นำกำลังทหารชาวนครราชสีมากลับเข้าควบคุมสถานการณ์ในกรุงธนบุรีไว้ได้ก่อนที่ เจ้าพระยาจักรี และ เจ้าพระยาสุรสีห์ จะยกทัพกลับมาจากกัมพูชาและเกิดการเปลี่ยนแผ่นดิน ในครั้งนั้น พระยากำแหงสงคราม (บุญคง) เจ้าเมืองนครราชสีมา ที่นำทัพไปกัมพูชาพร้อมกับ เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์ ถูกประหารชีวิตไปพร้อมกับเชื้อพระวงศ์ และขุนนางเดิมของพระเจ้าตาก จำนวนหนึ่ง และได้มีการเปลี่ยนตัวเจ้าเมืองนครราชสีมาเป็นพระยานครราชสีมา (เที่ยง) ผู้ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น)สมัยรัตนโกสินทร์ สมัยรัตนโกสินทร์. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เมืองนครราชสีมามีฐานะเป็นเมืองชั้นเอก กำกับตรวจตราเมืองประเทศราช ๓ เมือง คือ เวียงจันทน์ นครพนม จำปาศักดิ์ ให้รวมทั้งปกครองหัวเมืองเขมร พระยานครราชสีมา (เที่ยง) เป็นผู้สำเร็จราชการ และในรัชสมัยนี้ ชาวเมืองนครราชสีมาได้น้อมเกล้าถวายช้างเผือก 2 เชือก ในสมัยรัชกาลที่ 2 เกิดกบฏ อ้ายสาเกียดโง้ง ที่จำปาศักดิ์ มีรับสั่งให้พระยานครราชสีมา (เที่ยง) นำกองทัพไปปราบ แต่ เจ้าอนุวงศ์ เจ้าประเทศราชเวียงจันทน์ส่งเจ้าราชวงศ์ไปปราบกบฏได้เสร็จสิ้นก่อน และเจ้าราชวงศ์ได้ครองเมืองจำปาศักดิ์ต่อมา ต่อมาทองอิน เชื้อสายของพระเจ้าตาก และบุตรบุญธรรมของเจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น) ได้เป็นผู้สำเร็จราชการต่อจากพระยานครราชสีมา (เที่ยง) ในสมัยรัชกาลที่ 3 เจ้าอนุวงศ์ ฉวยโอกาสที่เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) นำกองทหารไปราชการต่างเมือง ยกทัพลาวมายึดครองเมืองนครราชสีมา และส่งกองทหารไปกวาดต้อนครอบครัวลาวถึงเขตเมืองสระบุรีก่อนที่จะถอยทัพเมื่อกองทัพสยามจากพระนครเริ่มรวมพลได้ทัน เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2369 ก่อนกองทัพลาวจะถอยทัพออกจากเมืองนครราชสีมา ไปยังทางเหนือเพื่อสมทบกับกองทัพของเจ้าสุทธิสาร โดยก่อนไป ได้ถอนเสาหลักเมืองออกเพื่อให้เป็นเมืองร้าง และเจ้าอนุวงศ์ได้สั่งการให้ทหารกองหลังรื้อกำแพงเมืองออก เผาประตูเมือง และสถานที่สำคัญๆในเมืองให้หมดสิ้น ให้ตัดต้นไม้ที่ให้ผลให้เหลือแต่ตอ ด้วยที่จะได้กลับมายึดเมืองนครราชสีมาได้สะดวกในภายหลัง ทำให้ต้นไม้ผลถูกตัดหมดสิ้น กำแพงเมืองจากมุมทิศอิสานและกำแพงเมืองด้านทิศตะวันออกถูกรื้อออกหมด กำแพงเมืองทางทิศใต้ถูกรื้อมาถึงด้านหลังวัดสระแก้ว ส่วนกำแพงเมืองจากมุมทิศอิสานและกำแพงเมืองทางทิศเหนือถูกรื้อ กำแพงเมืองด้านทิศตะวันตกถูกรื้อออก 1 ส่วนเหลือ 2 ส่วน ประตูเมืองถูกเผาบางส่วน 3 ประตูคือ ประตูเมืองทางทิศตะวันเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันออก ชาวเมืองนครราชสีมาผู้เฒ่าผู้แก่ที่ไม่ได้ถูกกวาดต้อน ได้รับข่าวว่ากองทัพจากพระนครที่ส่งกำลังมาช่วยเหลือ กำลังจะเดินทัพมามาถึงทุ่งโพธิ์เตี้ยห่างจากเมืองนครราชสีมา 10 กม. ในอีกไม่นาน ทำให้กำลังทหารลาวกองหลังของเจ้าอนุวงศ์ที่กำลังทำรื้อกำแพง และเผาทำลายเมืองนครราชสีมาอยู่นั้น เกิดความหวาดกลัวและถอยทัพออกไป ทำให้เมืองนครราชสีมาถูกเผาทำลายลงไปเพียงบางส่วน ส่วนชาวเมืองนครราชสีมาที่ถูกกวาดต้อนไปนั้น ได้รวมตัวกันต่อต้านกองทัพลาวของเจ้าอนุวงศ์ โดยมีพระยาปลัดนครราชสีมา พระยายกกระบัตร และ พระณรงค์สงคราม (มี) เป็นผู้นำในการรบ ณ ทุ่งสัมฤทธิ และผู้นำในการสนับสนุนช่วยเหลือการรบ คือ คุณหญิงโม ภริยาปลัดเมืองนครราชสีมา และนางสาวบุญเหลือ บุตรบุญธรรมคุณหญิงโม ต่อมากองทัพชาวนครราชสีมาได้ร่วมกับกองทัพหลวงของกรมพระราชวังบวรฯ ในการรบครั้งต่อๆมาจนกระทั่งเข้ายึดเมืองเวียงจันทน์ได้ในที่สุด ภายหลัง คุณหญิงโมได้รับการแต่งตั้งเป็นท้าวสุรนารี และ พระณรงค์สงครามได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพระยาณรงค์สงคราม ในการสงครามเจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) และพระยาณรงค์สงคราม ได้เป็นทัพหน้าของกองทัพที่นำโดยเจ้าพระยาบดินทรเดชานำพลชาวนครราชสีมาทำการรบอย่างกล้าหาญในสงครามกับเวียดนาม และสามารถรุกไปถึงเขตแดนเมืองไซ่ง่อน ก่อนที่จะต้องถอยทัพเนื่องจากกองทัพไทยพ่ายแพ้ในแนวรบด้านอื่น ต่อมาพระยาณรงค์สงคราม ได้เป็นนายทัพสำคัญในกองทัพของเจ้าพระยาบดินทรเดชา จนสิ้นสุดสงคราม เมื่อ เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) ถึงแก่กรรม พระพรหมบริรักษ์ (เกษ) บุตรชายคนโตของเจ้าพระยาบดินทรเดชาได้รับการแต่งตั้งให้เป็น เจ้าเมืองนครราชสีมาคนต่อมา เมื่อว่างเว้นจากสงคราม เมืองโคราชได้ฟื้นตัวขึ้นใหม่กลายเป็นชุมทาง การค้าที่สำคัญ ในการติดต่อระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับภาคกลาง มีกองเกวียน กองคาราวานการค้า ขนาดใหญ่ผ่าน และ หยุดพักอยู่เสมอ ในสมัยรัชกาลที่ 4 บาทหลวงปาลเลกัวซ์ ได้เขียนว่า ตัวเมืองโคราชล้อมรอบด้วยกำแพงตั้งอยู่บนที่ราบสูง เดินทางจากบางกอกใช้เวลา 6 วันโดยไต่ระดับสูงขึ้นไปตามเส้นทาง ดงพญาไฟ ประชากรโคราชมีประมาณ 60,000 คน ครึ่งหนึ่งเป็นคนสยาม อีกครึ่งหนึ่งเป็นคนเขมร ในตัวเมืองมีประชากร 7,000 คน มีคนจีนประมาณ 700 คน มีเหมืองแร่ทองแดง มีโรงหีบอ้อย สินค้า คือ ข้าว งาช้าง หนังสัตว์ เขาสัตว์ ไม้เต็ง อบเชย ในรัชกาลนี้ เจ้าพระยานครราชสีมา (เกษ) ได้เลื่อนเป็น เจ้าพระยามุขมนตรี (เกษ) และ เจ้าเมืองนครราชสีมาคนต่อมาคือ พระยานครราชสีมา (แก้ว) บุตรชายคนรองของเจ้าพระยาบดินทรเดชา หลังจากนั้น พระยานครราชสีมา (แก้ว) ได้เลื่อนเป็น เจ้าพระยายมราช (แก้ว) และ เจ้าเมืองคนต่อมาคือ พระยานครราชสีมา (เมฆ) บุตรชายคนโตของ เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระยานครราชสีมา (เมฆ) บุตรของ เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) ได้เป็นแม่ทัพบกไปปราบจีนฮ่อที่เมืองหนองคาย ต่อมาเมื่อมีการจัดตั้งมณฑลนครราชสีมาเพื่อควบคุมดูแลหัวเมืองในบริเวณใกล้เคียง เป็นมณฑลแรกของประเทศ มีพระยานครราชสีมา (กาจ สิงหเสนี) บุตรเขยของพระยานครราชสีมา (เมฆ) เป็นผู้ว่าราชการคนแรก มีการจัดตั้งกองทหารประจำมณฑลตามหลักสากล มีการตั้งโรงเรียนนายร้อยตำรวจที่นครราชสีมา มีการสร้างทางรถไฟจากกรุงเทพฯ ผ่านอยุธยา สระบุรี ดงพญาไฟ ไปสู่นครราชสีมา จนเปิดการเดินรถไฟหลวง สายกรุงเทพ - นครราชสีมา ได้สำเร็จ การคมนาคมติดต่อสะดวกขึ้นเป็นอย่างมาก ในช่วงเดียวกันฝรั่งเศสได้เข้ามามีอำนาจเหนือคาบสมุทรอินโดจีน ทำให้สยามจำต้องเร่งการปรับปรุงพัฒนาราชอาณาจักรโดยเฉพาะในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีการจัดตั้งการขนส่งปรษณียภัณฑ์ทางอากาศ และ สายการบินระหว่าง กรุงเทพ - นครราชสีมา มีการขยายเส้นทางรถไฟสายอีสาน จนสามารถขยายเส้นทางการเดินรถไฟจาก นครราชสีมา ถึง ขอนแก่น และ นครราชสีมา ถึง อุบลราชธานี ได้สำเร็จในสมัยรัชกาลที่ 7ยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง. ในช่วงหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระองค์เจ้าบวรเดช ได้รวบรวมกองกำลังทหารจากมณฑลนครราชสีมาเป็นหลัก ร่วมกับ พันเอกพระยาศรีสิทธิ์สงคราม เพื่อทำการต่อสู้กับคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครอง คณะผู้ก่อการได้ยกกองกำลังเข้ามาล้อมกรุงเทพฯ แต่เมื่อการต่อสู้ยืดเยื้อในที่สุดก็ต้องถอยทัพและประสบความพ่ายแพ้เนื่องจากมีกำลังที่น้อยกว่า เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้ พันโทหลวงพิบูลสงครามผู้บัญชาการกองกำลังผสมฝ่ายรัฐบาล มีอำนาจในการควบคุมกำลังทหารมากขึ้นส่งผลให้ได้อำนาจทางการเมืองและจัดตั้งรัฐบาลทหารได้ในเวลาต่อมา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง กองทหารในสังกัด มณฑลทหารบกที่ 3 นครราชสีมา ได้ทำการร่วมรบในกรณีพิพาทอินโดจีน กองทัพไทยสามารถยึดดินแดนกลับคืนมาบางส่วน เป็นการชั่วคราว หลังสงครามยุติสหรัฐอเมริกาได้ให้ความช่วยเหลือสร้างถนนมิตรภาพ จาก สระบุรี ถึง นครราชสีมา ซึ่งเป็นทางหลวงที่ได้มาตรฐานดีที่สุดของประเทศในขณะนั้น ในช่วงสงครามเวียดนาม สหรัฐอเมริกาได้ขอใช้นครราชสีมาเป็นฐานบัญชาการการรบ มีการสร้างฐานบินโคราช และต่อมาไทยได้เปลี่ยนให้เป็น กองบิน 1 ซึ่งเป็นฐานกำลังรบทางอากาศหลักของกองทัพอากาศไทยในปัจจุบัน โดยมีมีเครื่องบิน F-16 ประจำการอยู่สองฝูงบิน ในปี พ.ศ. 2523 มีความพยายามรัฐประหารโดยกลุ่มทหารของ พลเอกสัณห์ จิตรปฏิมา แต่ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์นายกรัฐมนตรี ได้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระราชวงศ์ทรงแปรพระราชฐานไปประทับที่นครราชสีมา กองกำลังทหารจากกองทัพภาคที่ 2 นำโดยพลตรี อาทิตย์ กำลังเอกได้เป็นกองกำลังหลักในการปราบกบฏลงได้ในที่สุด หลังจากนั้น อดีตผู้บัญชาการกองทัพภาคที่ 2 หลายท่านได้ก้าวเข้าสู่ตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกในเวลาต่อมา เนื่องจากความสำคัญทางยุทธศาสตร์ ปัจจุบัน นครราชสีมา จึงได้กลายเป็นเมืองศูนย์กลางการรบที่สำคัญรองจากกรุงเทพมหานคร เป็นประตูสู่อิสาน เป็นศูนย์กลางการคมนาคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งเป็นที่ตั้งของกองฐานกำลังรบหลักของกองทัพบก และกองทัพอากาศในปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2553 ได้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในจังหวัดนครราชสีมา เนื่องจากฝนช่วงปลายฤดูตกหนักในบริเวณต้นแม่น้ำมูล นับเป็นอุทกภัยครั้งร้ายแรงที่สุดในรอบ 50 ปีภูมิศาสตร์ภูมิประเทศ ภูมิศาสตร์. ภูมิประเทศ. จังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่บนที่ราบสูงโคราช ห่างจากกรุงเทพ 259 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 20,493.964 ตารางกิโลเมตร (12,808,728 ไร่) เป็นพื้นที่ป่าไม้ 2,297,735 ไร่ โดยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติคืออุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และอุทยานแห่งชาติทับลานร้อยละ 61.4 และเป็นแหล่งน้ำ 280,313 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดชัยภูมิ และขอนแก่น ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดปราจีนบุรี นครนายก และสระแก้ว ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดบุรีรัมย์ และทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดสระบุรี ชัยภูมิ และลพบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางระหว่าง 150-300 เมตร มีเทือกเขาสันกำแพง และเทือกเขาพนมดงรัก เป็นแนวยาวทางด้านทิศใต้และทิศตะวันตก ส่วนบริเวณตอนล่างค่อนไปทางเหนือและตะวันออกเป็นที่ราบลุ่ม โดยมีลำตะคองและลำน้ำสาขาอื่น ๆ ไหลหล่อเลี้ยงบริเวณด้านเหนือของเมือง และ เป็นสาขาหนึ่งของแม่น้ำสำคัญคือแม่น้ำมูลซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือภูมิอากาศ ภูมิอากาศ. สภาพภูมิอากาศของจังหวัดนครราชสีมาจัดอยู่ในประเภททุ่งหญ้าเขตร้อน มีลมมรสุมหลักพัดผ่านคือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้อากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง กับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้มีอากาศชุ่มชื้นและมีฝนตกชุก โดยทั่วไปสามารถแบ่งฤดูกาลออกได้เป็น 3 ฤดู คือ ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม มีฝนตกชุก ตั้งแต่เดือนเมษายนจนถึงเดือนตุลาคม โดยมีปริมาณน้ำฝนสูงสุดในเดือนตุลาคม ฤดูหนาว สภาพอากาศจะเริ่มเปลี่ยนจากฤดูฝนไปสู่ฤดูหนาวตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ระยะนี้ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นลมหนาวและแห้งพัดจากประเทศจีน และฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ ถึงกลางเดือนพฤษภาคม เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดนครราชสีมาเป็นพื้นที่ราบสูง มีป่าและทิวเขาสูงกั้นเขตแดนเป็นแนวยาว อากาศจึงค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน และในฤดูหนาวก็ค่อนข้างหนาวเย็นโดยอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปีประมาณ 27.4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 22.7 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 33 อาศาเซลเซียส มีค่าความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดทั้งปี 71 % ความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดเฉลี่ย 89% ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำสุดเฉลี่ย 49 %ข้อมูลการปกครองการปกครองส่วนภูมิภาค ข้อมูลการปกครอง. การปกครองส่วนภูมิภาค. แบ่งปกครองแบ่งออกเป็น 32 อำเภอ 289 ตำบล 3,743 หมู่บ้าน เนื้อที่รวม 20,493.968 ตารางกิโลเมตรการปกครองส่วนท้องถิ่น การปกครองส่วนท้องถิ่น. มีจำนวนทั้งสิ้น 334 แห่ง แบ่งออกเป็น เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 4 แห่ง เทศบาลตำบล 85 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนตำบล 243 แห่ง โดยเทศบาลสามารถจำแนกได้ตามพื้นที่ดังนี้รายนามผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมาเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ. โครงสร้างเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดนครราชสีมามีโครงสร้างที่สำคัญ ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร และการค้าส่งค้าปลีก ซึ่งมีอัตราสัดส่วนโครงสร้างร้อยละ 22.46, 19.82 และ 14.91 ตามลำดับ ในภาคการเกษตร จังหวัดมีพื้นที่เกษตรกรรมทั้งสิ้น 8,931,032 ไร่ แบ่งเป็น ปลูกข้าว จำนวน 4,329,724 ไร่ พืชไร่จำพวกข้าวโพด มันสำปะหลัง ปอ ฝ้าย และข้าวฟ่าง จำนวน 3,793,602 ไร่ และปลูกพืชสวน 632,170 ไร่ มีครัวเรือนเกษตรกรรวมทั้งสิ้น 326,587 ครัวเรือน โดยมีพืชเศรษฐกิจ 3 อันดับแรก คือ ข้าว มันสำปะหลัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงสัตว์ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด การเลี้ยงไหมโดยเฉพาะที่อำเภอปักธงชัยเป็นแหล่งผ้าไหมที่ขึ้นชื่อ อาชีพการทำป่าไม้ และการประมงน้ำจืดตามลุ่มน้ำ ในภาคอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2553 จังหวัดนครราชสีมามีโรงงานทั้งสิ้น 2,398 โรงงาน มีมูลค่าการลงทุน ประมาณ 119 ล้านบาท ซึ่งโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมการเกษตรมีสัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ 18.84 อุตสาหกรรมขนส่งเฉลี่ยร้อยละ 12.27 อุตสาหกรรมอโลหะเฉลี่ยร้อยละ 11.38 และอุตสาหกรรมอาหารเฉลี่ยร้อยละ 10.02 สำหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร่ มีแร่ที่สำคัญคือ หินบะซอลต์ หินปูน และ เกลือหิน โดยเฉพาะเกลือหิน พบมากในตอนเหนือและตอนกลางของจังหวัด ปี พ.ศ. 2557 (2014) มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product - GPP) เท่ากับ 245,248 ล้านบาท อยู่ในลำดับที่ 1 ของภาตตะวันออกเฉียงเหนือ ลำดับที่ 10 ของประเทศ และ ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อคน (GPP per capita) เท่ากับ 97,963 บาท เป็นอันดับ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และอันดับ 37 ของประเทศ ในปี พ.ศ. 2558 (year 2015) จังหวัดนครราชสีมามีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product - GPP) เท่ากับ 264,964 ล้านบาท อยู่ในลำดับที่ 1 ของภาตตะวันออกเฉียงเหนือ ลำดับที่ 10 ของประเทศ และ ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อคน (GPP per capita) เท่ากับ 106,000 บาท อยู่ในลำดับที่ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลำดับที่ 32 ของประเทศ ภาคการเงินการธนาคาร จังหวัดนครราชสีมามีจำนวนสำนักงานของธนาคารทั้งสิ้น 187 สำนักงาน(มีนาคม พ.ศ. 2560) เงินรับฝากรวมทุกประเภท (มีนาคม พ.ศ. 2557) ทั้งสิ้น 115,893 ล้านบาท และ เงินให้สินเชื่อรวมทุกประเภท (มี.ค.2557) ทั้งสิ้น 123,798 ล้านบาทนิคมอุตสาหกรรมนิคมอุตสาหกรรม. - นิคมอุตสาหกรรมนวนคร 2 นครรราชสีมา - เขตอุตสาหกรรมสุรนารี - นิคมอุตสาหกรรมสูงเนิน (โครงการ) ประชากรศาสตร์ชาติพันธุ์ ประชากรศาสตร์. ชาติพันธุ์. ปัจจุบันจังหวัดนครราชสีมามีประชากรมากเป็นอันดับหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมากเป็นอันดับสองของประเทศรองจากกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติหรือหลายชาติพันธุ์ แต่กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดนครราชสีมาที่มีจำนวนมากมีอยู่สองกลุ่มใหญ่คือ ไทย (หรือเรียกอีกอย่างว่า ไทโคราช) และอีกกลุ่มคือชาวลาว (ตอนบนและด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเขตจังหวัด) และมีชนกลุ่มน้อยอีกได้แก่ มอญ กุย (หรือส่วย) ชาวบน จีน ไทยวน ญวน และแขกไทโคราช ไทโคราช. กลุ่มชาติพันธุ์ไทยที่อยู่ในนครราชสีมาเรียกอีกอย่างว่า ไทโคราช เป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครราชสีมา คนกลุ่มนี้ใช้ภาษาคล้ายคนไทยภาคกลาง เพียงแต่เสียงวรรณยุกต์เพี้ยนไปบ้าง และมีคำศัพท์สำนวนบางอย่างที่มีลักษณะเป็นของตนเอง เดิมถิ่นนี้ชาวพื้นเมืองเป็นละว้า ชาวไทยภาคกลางได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัย สมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทองให้ขุนหลวงพะงั่วยกกองทัพมารวบรวมดินแดนแถบนี้เข้ากับกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทองโปรดฯให้กองทหารอยุธยาตั้งด่านอยู่ประจำ และส่งช่างชาวอยุธยามาก่อสร้างบ้านเรือนและวัดวาอารามเป็นอันมาก ชาวไทยอยุธยาได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัยเพิ่มขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และได้อพยพมาอยู่นครราชสีมาอีกระลอกหนึ่งคือ คราวเสียกรุงครั้งที่2 โดยมีชาวไทยชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกได้อพยพเข้ามาเพิ่มด้วย ชาวไทยกลุ่มนี้และชาวไทยพื้นเมืองเดิม (เข้าใจว่าเป็นชาวสยามลุ่มน้ำมูล) สืบเชื้อสายเป็นชาวไทยโคราชและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีสืบทอดกันมา กลุ่มไทโคราชเป็นกลุ่มที่แสดงเอกลักษณ์ของเมืองนครราชสีมา เพราะสำเนียงแตกต่างจากกลุ่มอื่น เป็นกลุ่มที่พูดภาษาไทยโคราชซึ่งคล้ายคลึงภาษาไทยกลางแต่สำเนียงเพี้ยน เหน่อ ห้วนสั้น เกิ่นเสียง มีคำไทยลาว (อีสาน) ปะปนบ้างเล็กน้อย ชาวไทยโคราชแต่งกายแบบไทยภาคกลาง รับประทานข้าวเจ้า อาหารทั่วไปคล้ายคลึงภาคกลาง ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมคล้ายไทยภาคกลาง ปัจจุบัน กลุ่มไทยโคราชอาศัยอยู่ในทุกอำเภอในจังหวัดนครราชสีมา ยกเว้นบางอำเภอที่มีชาวไทยอีสานมากกว่า (อำเภอบัวใหญ่ ปักธงชัย และสูงเนิน) และยังพบชาวไทยโคราชในบางส่วนของจังหวัดสระบุรี จังหวัดลพบุรี จังหวัดชัยภูมิ (อำเภอบำเหน็จณรงค์และจัตุรัส) และจังหวัดบุรีรัมย์ (อำเภอเมืองบุรีรัมย์ นางรอง และหนองกี่)ชาวไทอีสาน ชาวไทอีสาน. ชาวไทอีสานเป็นกลุ่มหนึ่งที่มีจำนวนประชากรมากรองจากกลุ่มไทโคราช อาศัยอยู่มากในบางอำเภอของจังหวัดนครราชสีมา เช่น อำเภอบัวใหญ่ อำเภอบัวลาย อำเภอสีดา อำเภอแก้งสนามนาง อำเภอประทาย อำเภอโนนแดง อำเภอบ้านเหลื่อม อำเภอเมืองยาง อำเภอลำทะเมนชัย อำเภอปักธงชัย อำเภอสูงเนิน และบางส่วนของอำเภอคง อำเภอห้วยแถลง อำเภอชุมพวง อำเภอครบุรี อำเภอเสิงสาง และอำเภอสีคิ้ว เป็นต้น ชาวไทยอีสานพูดภาษาอีสานท้องถิ่นคล้ายกับจังหวัดอื่นๆในภาคอีสาน และมีขนบธรรมเนียมประเพณีเหมือนชาวอีสานทั่วไป กลุ่มชาวไทยอีสานอพยพเข้ามาอยู่ในจังหวัดนครราชสีมาหลายรุ่นตามความเจริญของเศรษฐกิจ ในบางข้อสันนิฐานให้ข้อมูลว่า เดิมชาวโคราชพูดภาษากลางแบบชาวสยาม และมีชาวไทยอีสานอพยพเข้ามาอยู่ปะปนกัน จึงเกิดการผสมผสานเป็นภาษาไทโคราช แต่อย่างไรก็ดีชาวไทยอีสานดั้งเดิมมีถิ่นอาศัยอยู่ในภาคอีสานมานานแล้ว มิได้อพยพมาจากฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง มีความพัวพันกับอาณาจักรไทยในอดีต เช่น โคตรบูรณ์ ศรีจะนาศะ ซึ่งเป็นอาณาจักรของศาสนาพุทธ มิใช่พราหม-ฮินดู แบบจักรวรรดิ์เขมร กล่าวได้ว่าชาวไทยอีสานเป็นชนพื้นเมืองเดิมของภาคอีสานมาช้านานแล้วชาวไทยเชื้อสายลาว ชาวไทยเชื้อสายลาว. อพยพเข้ามาอยู่สมัยสงครามปราบปรามเมืองเวียงจันทน์ในสมัยกรุงธนบุรี และสมัยปราบเจ้าอนุวงศ์ในรัชกาลที่3 มีการกวาดต้อนครอบครัวลาวเข้ามาอยู่ในหัวเมืองชั้นในหลายครั้ง และมีการอพยพเข้ามาโดยสมัครใจเพิ่มขึ้นในระยะหลัง คนกลุ่มที่นี้มักเรียกกันว่า "ลาวเวียง" มีการใช้ภาษาลาวสำเนียงเวียงจันทน์ซึ่งต่างกับภาษาอีสานสำเนียงท้องถิ่นอย่างสิ้นเชิง กระจายอาศัยกันอยู่ทั่วไปในจังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันสืบหาแทบไม่ได้แล้วเนื่อจากการเทครัวมีมานับ200ปีและมีการแต่งงานกับคนพื้นเมือง มีจำนวนน้อยที่สืบหาได้ว่ามีเชื้อสาวลาวเวียงจันทน์ตามคำบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ เช่น การเก็บรักษาผ้าซิ่นแต่เดิมไว้ และข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ เนื่องจากชาวลาวเวียงจันทน์อพยพมาจากเมืองที่มีวัฒนธรรมสูง มักจะมีของมีค่าติดตัวมาด้วย เช่น ผ้าซิ่น ข้าวของเครื่องใช้ รวมถึงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบชาวเวียงจันทน์ที่ยังสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ชาลาวเวียงจันทน์อพยพมากที่สุดในสมัยรัชกาลที่3เนื่องจากมีการทำสงครามกับเวียงจันทน์หลายครั้ง และเป็นครั้งใหญ่ที่ทำลายนครเวียงจันทน์อย่างราบคราบ จึงทำให้ชาวลาวเวียงจันทน์ถูกเกณฑ์เป็นเชลยจำนวนมาก โดยหัวเมืองใหญ่อย่างนครราชสีมารับชาวเชลยไว้เป็นจำหนึ่ง ส่วนที่เหลือกระจายไปตามหัวเมืองต่างๆในภาคกลางมอญ มอญ. จากการสำรวจสำมะโนประชากรของจังหวัดนครราชสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2446 ในสมัยรัชกาลที่ 5 พบว่า มีชาวมอญอยู่จำนวน 2,249 คน จากจำนวนประชากรของนครราชสีมา 402,668 คน ชาวมอญอพยพเข้ามาอยู่บริเวณเมืองนครราชสีมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2318 ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระราชทานครัวมอญที่อพยพเข้ามาสวามิภักดิ์ มีเจ้าพระยามหาโยธา (พญาเจ่ง) ต้นสกุล "คชเสนี" เป็นหัวหน้า แบ่งให้พระยานครราชสีมานำขึ้นมาอยู่ที่เมืองนครราชสีมา ตั้งครัวมอญที่ลำพระเพลิง เขตอำเภอปักธงชัยที่บ้านพลับพลา อำเภอโชคชัย พระยาศรีราชรามัญผู้เป็นหัวหน้าพาญาติพี่น้องมาอยู่ในเมืองเป็นสายกองส่วยทอง ตั้งบ้านเรือนเรียกว่าบ้านมอญ เมื่อเกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์ เมื่อปี พ.ศ. 2336 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี) คุมกองมอญมาสมทบมาร่วมรบกับกำลังฝ่ายไทย เมื่อเสร็จศึกแล้วพวกมอญเห็นเมืองปักธงชัยอุดมสมบูรณ์จึงมาตั้งถิ่นฐาน ปัจจุบันชาวมอญในนครราชสีมายังรักษาวัฒนธรรมประเพณีมอญไว้ เช่น ภาษา การไหว้ผี การเล่นสะบ้าในเขตบ้านท่าโพธิ บ้านสำราญเพลิง ตำบลนกออก อำเภอปักธงชัย ประกอบอาชีพทำนา ทำสวน ทำเครื่องปั้นดินเผา ภาษามอญจะใช้พูดในชาวไทยมอญที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป คนรุ่นหลังจากนี้จะพูดภาษาไทยโคราชทั้งสิ้นส่วย ส่วย. ส่วย หรือ ข่า เป็นชนพื้นเมืองของหัวเมืองเขมรป่าดงและเมืองนครราชสีมา พูดภาษาตระกูลมอญ-เขมร ได้อยู่ในพื้นที่นี้ก่อนที่คนไทยจะเข้ามามีอิทธิพลเหนือดินแดนบริเวณลุ่มแม่น้ำมูลตอนบน เมื่อปี พ.ศ. 2362 เจ้าเมืองนครราชสีมา (ทองอินทร์) ตีข่าได้ แล้วนำมายังเมืองนครราชสีมา ภาษาส่วย เป็นภาษาของชาวส่วยที่อพยพมาจากจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดบุรีรัมย์ ที่มาตั้งหลักแหล่งอยู่ที่ ตำบลห้วยแถลง อำเภอห้วยแถลง ปัจจุบันมีเฉพาะผู้ที่อายุเกิน 40 ปีขึ้นไป ที่ยังคงใช้ภาษาส่วยในกลุ่มของตนเอง นอกจากนั้นจะใช้ภาษาไทยโคราชเป็นพื้นญัฮกุร ญัฮกุร. ญัฮกุร หรือ เนียะกุล เป็นชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ตามไหล่เขาหรือเนินเขาเตี้ย ๆ บริเวณด้านในของที่ราบสูงโคราช ชาวบนอาจสืบเชื้อสายมาจากคนในสมัยทวารวดี อยู่ในบางหมู่บ้านของอำเภอปักธงชัย อำเภอครบุรี และอำเภอหนองบุญมาก ภาษาชาวบน เป็นภาษาตระกูลมอญ-เขมร ปัจจุบันชาวบนพูดภาษาชาวบนเฉพาะผู้ที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป นอกจากนั้นใช้ภาษาไทยโคราชไทยวน ไทยวน. ไทยวน หรือ ไทยโยนก เป็นเผ่าไทยในภาคเหนือของไทย ได้อพยพเข้ามาอยู่ที่อำเภอสีคิ้วสองทางด้วยกันคือ พวกแรกอพยพจากทางเหนือมาอยู่ที่อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ต่อมาเจ้าเมืองสระบุรีต้องการตั้งกองเลี้ยงโคนมที่เมืองนครจันทึก จึงได้แบ่งครอบครัวชาวไทยวนจากอำเภอเสาไห้ไปอยู่ที่อำเภอสีคิ้ว ส่วนอีกพวกหนึ่งอพยพมาจากเวียงจันทน์ ชาวไทยวนยังรักษาประเพณีและวัฒนธรรมแบบโยนกไว้ได้ดีมาก ภาษาไทยวน ใช้พูดในหมู่ไทยวนด้วยกันเองซึ่งมีอยู่ประมาณ 5,000 คน ในเขตอำเภอสีคิ้ว ในท้องที่ตำบลลาดบัวขาว ตำบลสีคิ้ว และตำบลบ้านหัน นอกจากนี้ยังมีกลุ่มเชื้อสาย ชาวจีน, ชาวเวียดนาม, และแขก(อินเดีย, บังคลาเทศ, ปากีสถาน ฯลฯ)การศึกษา การศึกษา. จังหวัดนครราชสีมามีสถาบันการศึกษาหลายแห่ง โดยแบ่งเป็นระดับประถมศึกษา ทั้งหมด 7 เขต และมัธยมศึกษา 1 เขต (ไม่รวมสังกัด อปท.)การแบ่งเขตพื้นที่มัธยมศึกษาการแบ่งเขตพื้นที่มัธยมศึกษา. - สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 - ครอบคลุมโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา 50 แห่ง - สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา - ครอบคลุมโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา 59 แห่งการแบ่งเขตพื้นที่ประถมศึกษา การแบ่งเขตพื้นที่ประถมศึกษา. แบ่งเป็นระดับประถมศึกษา ทั้งหมด 7 เขต- เขต 1 - อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอโนนสูง - เขต 2 - อำเภอจักราช อำเภอหนองบุญมาก อำเภอห้วยแถลง อำเภอเฉลิมพระเกียรติและอำเภอโชคชัย - เขต 3 - อำเภอปักธงชัย อำเภอครบุรี อำเภอเสิงสาง และอำเภอวังน้ำเขียว - เขต 4 - อำเภอสีคิ้ว อำเภอสูงเนินและอำเภอปากช่อง - เขต 5 - อำเภอเทพารักษ์ อำเภอพระทองคำ อำเภอขามสะแกแสง อำเภอขามทะเลสอ อำเภอโนนไทยและอำเภอด่านขุนทด - เขต 6 - อำเภอสีดา อำเภอบัวลาย อำเภอบ้านเหลื่อม อำเภอแก้งสนามนาง อำเภอคงและอำเภอบัวใหญ่ - เขต 7 - อำเภอประทาย อำเภอเมืองยาง อำเภอชุมพวง อำเภอลำทะเมนชัย อำเภอพิมายและอำเภอโนนแดงโรงเรียนโรงเรียน. - โรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัด: โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย - โรงเรียนสตรีประจำจังหวัด: โรงเรียนสุรนารีวิทยา - โรงเรียนสหศึกษาประจำจังหวัด: โรงเรียนบุญวัฒนา - โรงเรียนสหศึกษาประจำจังหวัด: โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์สถาบันอุดมศึกษาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสถาบันอุดมศึกษา. สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (ศูนย์กลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา) - มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา - มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย และศูนย์การศึกษาโคราช - สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า สีคิ้ว) - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (วนศ.นครราชสีมา) - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. - มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล - วิทยาลัยนครราชสีมา - วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์ - สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน ศูนย์การเรียนรู้จังหวัดนครราชสีมา - วิทยาลัยพิชญบัณฑิต นครราชสีมา - วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ วิทยาเขตนครราชสีมาสถาบันอาชีวศึกษาสถาบันการอาชีวศึกษาของรัฐสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 สถาบันอาชีวศึกษา. สถาบันการอาชีวศึกษาของรัฐ. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 ประกอบด้วยวิทยาลัยในสังกัด 9 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา,วิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมา,วิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ, วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี,วิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิ,วิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์,วิทยาลัยเทคนิคคูเมือง,วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร์ และวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ มีที่ตั้งสำนักงานสถาบัน(ชั่วคราว) อยู่ภายในวิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ เป็น 1ในสถาบันการอาชีวศึกษา 19 สถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวงการรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 สำหรับวิทยาลัยในสังกัดในจังหวัดนครราชสีมา ได้แก่- วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา เปิดสอนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ-ปริญญาตรี (สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ) - วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี อ.โชคชัย - วิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ อ.ด่านขุนทด - วิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมา - วิทยาลัยเทคนิคพิมาย (การอาชีพพิมายเดิม)วิทยาลัยอาชีวศึกษาอื่น ๆวิทยาลัยอาชีวศึกษาอื่น ๆ. - วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา - วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยีนครราชสีมา อ.สีคิ้ว - วิทยาลัยเทคนิคปักธงชัย - วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวนครราชสีมา (NR-CBAT) เปิดสอนระดับ ปวช.-ปวส. ในด้านบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมท่องเที่ยว - วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง - วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง วิทยาเขตสูงเนิน - วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ - วิทยาลัยการอาชีพชุมพวงสถาบันอาชีวศึกษา (เอกชน)สถาบันอาชีวศึกษา (เอกชน). - วิทยาลัยเทคโนโลยีชนะพลขันธ์ นครราชสีมา - วิทยาลัยเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา - วิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึษานครราชสีมา - โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - วิทยาลัยอาชีวศึกษาเมรี่เทคโนโลยี - วิทยาลัยเทคโนโลยีมารีย์บริหารธุรกิจ นครราชสีมา (สถาบันในเครือมารีย์วิทยา) - โรงเรียนเทคโนสุระ - บัวใหญ่เทคโนโลยีพณิชยการ - วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการปากช่อง - วิทยาลัยเทคโนโลยีสายมิตร นครราชสีมา - โรงเรียนกุสุมภ์เทคโนโลยีวิทยาลัยเฉพาะทางวิทยาลัยเฉพาะทาง. - วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา เปิดสอนหลักสูตรนาฏศิลป์ชั้นต้น กลาง และสูงสถาบันวิจัยสถาบันวิจัย. - สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) - ศูนย์วิจัยข้าวโพดข้าวฟ่างแห่งชาติการสาธารณสุขการสาธารณสุข. - โรงพยาบาลศูนย์- โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา (1,619 เตียง) เป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข- โรงพยาบาลทั่วไป- โรงพยาบาลปากช่องนานา (300 เตียง) - โรงพยาบาลบัวใหญ่ (268 เตียง) - โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา (200 เตียง) - โรงพยาบาลพิมาย (144 เตียง)- โรงพยาบาลชุมชน - โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย- โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (608 เตียง)- โรงพยาบาลทหาร- โรงพยาบาลค่ายสุรนารี (420 เตียง) - โรงพยาบาลกองบิน 1 (50 เตียง)- โรงพยาบาลเอกชน - โรงพยาบาลเฉพาะทาง- โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ (300 เตียง)- อื่นๆ- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 5 กรมอนามัย (60 เตียง)การคมนาคมทางอากาศ การคมนาคม. ทางอากาศ. -วันที่ 2 กันยายน 2554 ที่ท่าอากาศยานนครราชสีมา อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา บริษัท Thai Regional Aviation จำกัด ได้ทำการเปิดเที่ยวบิน สุวรรณภูมิ-โคราช-สุวรรณภูมิ บริษัทเลือกใช้เครื่องบินรุ่น Piper Navajo Chieftain ซึ่งเป็นเครื่องบินที่ได้รับความนิยมสูง และ มีความปลอดภัยจากประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้เวลาในการเดินทาง 40 นาที -วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 สายการบิน กานต์แอร์ ได้ทำการเปิดเที่ยวบิน จาก ท่าอากาศยานเชียงใหม่ - ท่าอากาศยานนครราชสีมา โดยทำการบิน 4 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ ( จันทร์,พุธ,พฤหัสบดี,เสาร์ ) โดยใช้เครื่องบินรุ่น ATR-72 (ปัจจุบันหยุดให้บริการในสายนี้แล้ว) -วันที่ 3 ธันวาคม 2560 สายการบินนิวเจน แอร์เวย์ส เปิดให้บริการเส้นทางบิน นครราชสีมา - เชียงใหม่ และภูเก็ต -วันที่ 21 ธันวาคม 2560 สายการบินนิวเจน แอร์เวย์ส เปิดให้บริการเส้นทางบิน นครราชสีมา - กรุงเทพฯ(ดอนเมือง)รายชื่อสายการบินรถยนต์ รถยนต์. จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางด้วยรถยนต์ มายังจังหวัดนครราชสีมาได้หลายเส้นทาง คือ- เส้นทางผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (พหลโยธิน) ผ่านรังสิต วังน้อย จนถึงจังหวัดสระบุรี ข้ามทางต่างระดับมิตรภาพ ทางทิศตะวันออก ไปยัง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ผ่านอำเภอแก่งคอย มวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี เรื่อยไปจนถึงอำเภอปากช่อง สีคิ้ว สูงเนิน และจังหวัดนครราชสีมา รวมระยะทางประมาณ 256 กิโลเมตร - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 เส้นทางผ่านเขตมีนบุรี อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา อำเภอพนมสารคาม อำเภอกบินทร์บุรี อำเภอวังน้ำเขียว อำเภอปักธงชัย จนถึงจังหวัดนครราชสีมา รวมระยะทางประมาณ 273 กิโลเมตร - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 305 เส้นทางรังสิต-นครนายก ต่อทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 ไปกบินทร์บุรี แล้วแยกเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ผ่านอำเภอวังน้ำเขียว ปักธงชัย เรื่อยไปจนถึงจังหวัดนครราชสีมารถโดยสารประจำทาง รถโดยสารประจำทาง. มีรถโดยสารธรรมดา และ รถปรับอากาศชั้น 1 ชั้น 2 และรถตู้ปรับอากาศ สาย 21 (กรุงเทพฯ - นครราชสีมา) วิ่งให้บริการจาก สถานีขนส่งหมอชิต 2 กรุงเทพฯ มายังจังหวัดนครราชสีมา ทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง โดยมีบริษัทเอกชน ที่ได้รับสัมปทานเปิดบริการเดินรถโดยสารสาย 21 ดังนี้ รถปรับอากาศชั้น 1 รถปรับอากาศชั้น 2 รถตู้ปรับอากาศ (ไม่รับรายทาง) ซึ่งจะให้บริการ รับ-ส่ง ผู้โดยสารที่สถานีขนส่งทั้งสองแห่ง คือ สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 1 (ถนนบุรินทร์) และ สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 2 (ถนนมิตรภาพ-หนองคาย) นอกจากนั้น ยังสามารถที่จะเลือกเดินทางโดยรถโดยสารประจำทางจากกรุงเทพฯ ปลายทางจังหวัดต่าง ๆ ในภาคอีสานที่ผ่านจังหวัดนครราชสีมาได้ การเดินทางภายในเขตเทศบาลและพื้นที่ใกล้เคียง มีขนส่งสาธารณะให้บริการดังนี้คือ ถ้าต้องการเดินทางไปต่างอำเภอ จะมีรถโดยสารประจำทางหมวด 4 ให้บริการไปยังอำเภอต่าง ๆ ในจังหวัดนครราชสีมา หลายสายด้วยกัน สามารถขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่งแห่งที่ 1 ถนนบุรินทร์ มีทั้งประเภทรถสองแถว และ รถบัสโดยสารประจำทางให้บริการ จะมีรถโดยสารไป อำเภอปักธงชัย อำเภอประทาย อำเภอด่านขุนทด อำเภอปากช่อง อำเภอสูงเนิน สำหรับสถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 2 นั้น จะมีรถโดยสาร ไปเฉพาะ อำเภอพิมาย และ ด่านเกวียน, อำเภอโชคชัย มีทั้งรถโดยสารประจำทางธรรมดา และปรับอากาศ หมวด 2 และ 3 จำนวนหลายเส้นทางในจังหวัดต่าง ๆ วิ่งให้บริการผ่านจังหวัดนครราชสีมาที่สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 2 (ถนนมิตรภาพ-หนองคาย) ทุกวัน นอกจากนี้ มีรถโดยสารประจำทาง ให้บริการรับส่งผู้โดยสารจาก ต้นทางจังหวัดนครราชสีมา ไปยังปลายทางจังหวัดอื่น ในภาคต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ในการเดินทางข้ามแดนจากจังหวัดนครราชสีมา ไปยังนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สามารถใช้หลักฐาน คือหนังสือเดินทางคือหนังสือผ่านแดน หรือหนังสือผ่านแดนชั่วคราวโดยมีแนวปฏิบัติและขั้นตอนดังต่อไปนี้ จังหวัดนครราชสีมา มีสถานีขนส่งผู้โดยสารที่ให้บริการแก่ผู้ที่ต้องเดินทางไปยังอำเภอ หรือ จังหวัดต่างๆ ดังนี้ สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 1 ตั้งอยู่เลขที่ 86 ถนนบุรินทร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองฯ มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 7 ไร่ 2 งาน 98 ตารางวา เปิดใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 บริหารจัดการโดยเทศบาลนครนครราชสีมา ใช้เป็นสถานีขนส่งภายในจังหวัดเป็นหลัก และมีรถโดยสารปรับอากาศ สายที่ 21 กรุงเทพฯ – นครราชสีมา ให้บริการ ประกอบไปด้วย ปัจจุบันสถานีขนส่งฯ แห่งที่ 1 มีรถโดยสารประจำทางเข้าใช้บริการเฉลี่ยวันละ 2,000 เที่ยว/วัน หรือประมาณ 730,000 เที่ยว/ปี และมีผู้โดยสารหมุนเวียนเข้าใช้บริการเฉลี่ย 50,000 คน/วัน หรือประมาณ 18,000,000 คน/ปี สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 2 ตั้งอยู่ที่ ถนนมิตรภาพ-หนองคาย ตำบลในเมือง อำเภอเมืองฯ มีเนื้อที่ 29 ไร่ 50 ตารางวา เป็นสถานีขนส่งฯที่ใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดในจังหวัดนครราชสีมาและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้ง และดำเนินการสถานีขนส่ง คือ บริษัท ไทยสงวนบริการ จำกัด ใช้เป็นสถานีขนส่งผู้โดยสารระหว่างจังหวัดเป็นหลักเส้นทางที่สำคัญคือ สายที่ 21 กรุงเทพฯ – นครราชสีมา ประกอบด้วย ปัจจุบันสถานีขนส่งฯ แห่งที่ 2 มีรถโดยสารประจำทางเข้าใช้บริการเฉลี่ยวันละ 1,300 เที่ยว /วัน หรือประมาณ 470,000 เที่ยว/ปี และมีผู้โดยสารหมุนเวียนเข้าใช้บริการเฉลี่ย 30,000 คน/วัน หรือประมาณ 11,000,000 คน/ปี สถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอโชคชัย ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 12 ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย มีเนื้อที่ 7 ไร่ บริหารจัดการโดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา เปิดดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2539 ประกอบด้วย สถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอโชคชัย มีรถโดยสารประจำทางเข้าใช้บริการวันละประมาณ 210 เที่ยว สถานีขนส่งฯ สามารถรองรับผู้โดยสารได้ประมาณวันละ 2,000 คน /วัน สถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอพิมาย ตั้งอยู่บริเวณตำบลในเมือง อำเภอพิมาย มีเนื้อที่ 6 ไร่ 54 ตารางวา ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้ง และดำเนินการสถานีขนส่งคือ บริษัท ไทยสงวนบริการ จำกัด เปิดดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2538 ประกอบด้วย สถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอพิมาย มีรถโดยสารประจำทางเข้าใช้บริการวันละประมาณ 230 เที่ยว สถานีขนส่งฯ สามารถรองรับผู้โดยสารได้ประมาณวันละ 2,000 คน / วันรถไฟ รถไฟ. มีรถไฟสายภาคตะวันออกเฉียงเหนือกรุงเทพ - อุบลราชธานีและกรุงเทพ - หนองคายทั้งขบวนรถด่วนพิเศษ รถด่วน รถเร็วและรถธรรมดาวิ่งให้บริการจากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ผ่านจังหวัดนครราชสีมาทุกวัน นอกจากนี้ยังมีขบวนรถท้องถิ่นวิ่งให้บริการระหว่างสถานีรถไฟนครราชสีมาไปยังสถานีรถไฟจังหวัดอื่นๆ เช่น สุรินทร์ อุบลราชธานี อุดรธานี หนองคาย และอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรีอีกด้วย สถานีรถไฟนครราชสีมาสร้างขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เป็นสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครราชสีมาและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่ถนนมุขมนตรี อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 264 กิโลเมตรรถไฟความเร็วสูง รถไฟความเร็วสูง. โครงการรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในระหว่างการก่อสร้างเฟสแรก กรุงเทพ - นครราชสีมา (21 ธันวาคม 2560) คาดว่าจะสามารถเปิดให้บริการได้ในปี พ.ศ. 2564- สถานีรถไฟความเร็วสูงปากช่อง - สถานีรถไฟความเร็วสูงนครราชสีมาระยะทางจากอำเภอเมืองไปอำเภอต่างๆระยะทางจากอำเภอเมืองไปอำเภอต่างๆ. - อำเภอเฉลิมพระเกียรติ 24 กิโลเมตร - อำเภอขามทะเลสอ 25 กิโลเมตร - อำเภอโนนไทย 30 กิโลเมตร - อำเภอโชคชัย 33 กิโลเมตร - อำเภอปักธงชัย 36 กิโลเมตร - อำเภอสูงเนิน 36 กิโลเมตร - อำเภอโนนสูง 39 กิโลเมตร - อำเภอจักราช 44 กิโลเมตร - อำเภอขามสะแกแสง 52 กิโลเมตร - อำเภอสีคิ้ว 53 กิโลเมตร - อำเภอหนองบุญมาก 54 กิโลเมตร - อำเภอพระทองคำ 60 กิโลเมตร - อำเภอพิมาย 61 กิโลเมตร - อำเภอด่านขุนทด 62 กิโลเมตร - อำเภอครบุรี 64 กิโลเมตร - อำเภอห้วยแถลง 70 กิโลเมตร - อำเภอโนนแดง 75 กิโลเมตร - อำเภอคง 80 กิโลเมตร - อำเภอวังนํ้าเขียว 82 กิโลเมตร - อำเภอปากช่อง 89 กิโลเมตร - อำเภอสีดา 89 กิโลเมตร - อำเภอเทพารักษ์ 92 กิโลเมตร - อำเภอเสิงสาง 93 กิโลเมตร - อำเภอบัวใหญ่ 95 กิโลเมตร - อำเภอชุมพวง 99 กิโลเมตร - อำเภอประทาย 100 กิโลเมตร - อำเภอบัวลาย 102 กิโลเมตร - อำเภอบ้านเหลื่อม 105 กิโลเมตร - อำเภอแก้งสนามนาง 105 กิโลเมตร - อำเภอลำทะเมนชัย 118 กิโลเมตร - อำเภอเมืองยาง 129 กิโลเมตรทางหลวงทางหลวงพิเศษทางหลวง. ทางหลวงพิเศษ. - ทางหลวงพิเศษหมายเลข 6 หรือ ถนนมอเตอร์เวย์บางปะอิน-นครราชสีมา(กำลังก่อสร้าง)ทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงแผ่นดิน. ทางหลวงสายสำคัญของจังหวัดนครราชสีมามีดังนี้- ทางหลวงหมาดเลขหลักเดียว1. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจาก กลางดง - ปากช่อง - คลองไผ่ - สีคิ้ว - สูงเนิน - โคกกรวด - นครราชสีมา - จอหอ - ตลาดแค - บ้านวัด - สีดา - สิ้นสุดจังหวัดนครราชสีมาในเขตอำเภอบัวลาย- ทางหลวงหมายเลขสองหลัก1. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 (ถนนโชคชัย-เดชอุดม และถนนสถลมารค) ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากทางแยกต่างระดับสีคิ้ว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา - รอยต่ออำเภอหนองบุนนากกับอำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์- ทางหลวงหมายเลขสามหลัก1. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 (ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนรามอินทรา ถนนสุวินทวงศ์) ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากรอยต่อจังหวัดปราจีนบุรีกับอำเภอวังน้ำเขียว - อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 2. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201 ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา - รอยต่ออำเภอด่านขุนทดกับอำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ 3. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202 ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากรอยต่ออำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิกับอำเภอแก้งสนามนาง - รอยต่ออำเภอประทาย กับ อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ จังหวัดบุรีรัมย์ 4. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204 (ถนนเลี่ยงเมืองนครราชสีมา) อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 5. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 205 (ถนนสุรนารายณ์) ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากรอยต่ออำเภอด่านขุนทดกับอำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ - อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 6. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 206 (ทางเข้าเมืองพิมาย และ เลี่ยงเมืองพิมาย) จาก ถนนมิตรภาพ อำเภอโนนสูง - อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา 7. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 207(ถนนพาณิชย์เจริญ) จากอำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา - รอยต่ออำเภอพล จังหวัดขอนแก่น 8. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 224 ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา - รอยต่ออำเภอเสิงสางกับจังหวัดบุรีรัมย์ 9. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226 ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา - รอยต่ออำเภอห้วยแถลงกับจังหวัดบุรีรัมย์ 10. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 290 (ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา) อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมาทางหลวงชนบทกีฬา กีฬา. เนื่องจากจังหวัดนครราชสีมามีศักยภาพหลายด้าน ทำให้จังหวัดนครราชสีมามีโอกาสจัดการแข่งขันกีฬาในระดับชาติ และระดับนานาชาติอยู่เสมอกีฬาระดับชาติกีฬาระดับชาติ. - กีฬาแห่งชาติ- พ.ศ. 2513 จัดกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 4 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2557 จัดกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 43 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 9-19 ธันวาคม พ.ศ. 2557- กีฬาเยาวชนแห่งชาติ- พ.ศ. 2528 จัดกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 1 ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 1 ซึ่งกำหนดการให้มีการแข่งขันระหว่างวันที่ 26 เมษายน 2528 ถึง 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2528- กีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งชาติ- พ.ศ. 2560 จัดกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งชาติ ย่าโมเกมส์ ครั้งที่ 38 วันที่ 23-31 ม.ค. 2560 - กีฬาระดับอุดมศึกษา- พ.ศ. 2541 กีฬาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 15 "ราชมงคลเกมส์" ประจำปีการศึกษา 2540 แข่งขันระหว่างวันที่ 24 – 31 มกราคม 2541 ณ สนามกีฬาวิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา - พ.ศ. 2548 จัดกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32 (สุรนารีเกมส์) จัดการแข่งขันวันที่ 8- 15 มกราคม พ.ศ. 2548 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา - พ.ศ. 2557 จัดกีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30 “อีสานเกมส์” ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ศูนย์กลางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ 31 มกราคม - 7 กุมภาพันธ์ 2557 - พ.ศ. 2560 จัดกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระหว่างวันที่ 21กุมภาพันธ์ - 2 มีนาคม 2560กีฬานานาชาติ กีฬานานาชาติ. จังหวัดนครราชสีมา เป็นรับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติหลายครั้ง- พ.ศ. 2536- วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย 1993 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11 ถึง 19 กันยายน พ.ศ. 2536 - พ.ศ. 2544- วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2001 การแข่งขันในครั้งนี้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23- 30 กันยายน กันยายน พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2550- วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี - วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2007 จัดขึ้นระหว่างวัน 5-13 กันยายน 2550 โดยสนามแข่งขันจัดขึ้น ณ เอ็มซีซีฮอลล์ ศูนย์การค้าเดอะมอลล์นครราชสีมา - กีฬาซีเกมส์ 2007 ณ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 6 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 การจัดการแข่งขันครั้งนี้ ถือเป็นหนึ่งในการเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช - พ.ศ. 2551- กีฬาอาเซียนพาราเกมส์ 2008 ณ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20 มกราคม ถึง 26 มกราคม พ.ศ. 2551 - วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชียนคัพ 2008 จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 20-26 กันยายน 2008 ที่ MCC Hall Convention Center The Mall Korat จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย - วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชียนคัพ 2008โดยจัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 1-7 ตุลาคม 2008 ที่ MCC Hall Convention Center The Mall Korat จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย - พ.ศ. 2552- วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์โลก 2009 จัดตั้งแต่วันที่ 3–12 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2553- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 40 สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 17-23 มกราคม พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2554- จักรยาน ลู่-ถนน ชิงแชมป์เอเชีย 2011 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 9-19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 - พ.ศ. 2555- ฟุตซอลชิงแชมป์โลก ที่อาคารโคราช ชาติชาย ฮอลล์ ในสนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 ร่วมกับกรุงเทพมหานครอีกด้วย โดยจัดในช่วงวันที่ 1 – 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2556- วอลเลย์บอลยุวชนหญิงอายุไม่เกิน 18 ปีชิงแชมป์โลก 2013 ที่อาคารชาติชาย ฮอลล์ และ ลิปตพัลลภ ฮอลล์ จัดการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 26 กรกฎาคม ถึง 4 สิงหาคม พ.ศ. 2556 - วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2013 โดยใช้อาคารชาติชาย ฮอลล์ ร่วมกับ สนาม MCC Hall Convention Center The Mall Korat จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 กันยายน - 21 กันยายน พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2557- วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2014 สนาม MCC Hall Convention Center The Mall Korat จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11 ตุลาคม–19 ตุลาคม พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 43 สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 - จักรยานชิงแชมป์เอเชีย ครั้งที่ 35 ในเวลากลางคืน โดยจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 4 - 16 กุมภาพันธ์ 2558 - พ.ศ. 2559- วอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2016 (u19) ครั้งที่ 18 โดยจัดขึ้นในเดือน กรกฎาคม 2559 - พ.ศ. 2560- วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 ระหว่างวันที่ 13-21 พฤษภาคม 2560 - พ.ศ. 2561- วอลเลย์บอลหญิงเอวีซีคัพ 2018 (ทีมหญิง) วันที่ 17-23 กันยายน 2561 ที่จังหวัดนครราชสีมาการพัฒนากีฬา การพัฒนากีฬา. จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดที่มีความโดดเด่นด้านกีฬาทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ เนื่องจากมีการพัฒนาด้านกีฬาตลอดเวลา ในหลากหลายชนิดกีฬา เช่น- นักมวยโคราช ได้สร้างชื่อจนเป็นที่ยอมรับในวงการมวยไทย และมวยสากล มาเป็นระยะเวลายาวนาน วอลเลย์บอล- ทีมวอลเลย์บอลของโรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา ได้ผลิตนักกีฬาที่มีชื่อเสียงหลายคนเข้าสู่ทีมชาติอย่างต่อเนื่อง - ทีมวอลเลย์บอลประจำจังหวัด คือ สโมสรวอลเลย์บอลนครราชสีมา (แคทเดวิล) โดยมีทั้งทีมชายและทีมหญิง ปัจจุบันเล่นอยู่ในวอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก - วันที่ 17- 25 เมษายน 2557 ทีมสโมสรวอลเลย์บอลนครราชสีมา (หญิง) เข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 2014 ที่ยิมเนเซียมเทศบาลเมืองนครปฐม ได้อันดับที่ 5 ของทวีเปอเชีย- ไทยแลนด์ฟุตซอลลีก- ทีมสโมสรฟุตซอลนครราชสีมา เดอะเดอะมอลล์ วีวัน (ซุปเปอร์แคท) - ฟุตซอลลีก ดิวิชั่น 1- ทีมสโมสรฟุตซอลนครราชสีมา SAT3- ไทยลีก (T1)- ทีมสโมสรฟุตบอลนครราชสีมามาสด้า เอฟซี (สวาทแคท)- ไทยลีก 4 (T4)- ทีมสโมสรฟุตบอลนครราชสีมา ห้วยแถลง ยูไนเต็ด- ไทยลีก อเมเจอร์ ทัวร์นาเมนต์- ทีมสโมสรฟุตบอลเพื่อนปากช่อง - ทีมสโมสรฟุตบอลโคราช (นักรบที่ราบสูง) - ทีมสโมสรฟุตบอลโคราช ยูไนเต็ด (ไอ้กระทิงดุ) - ทีมสโมสรฟุตบอลนครราชสีมา ยูไนเต็ด - ทีมสโมสรฟุตบอลโคราช ซิตี้ - ทีมสโมสรฟุตบอลห้วยแถลง - ทีมสโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยวงชวลิตกุล - ทีมสโมสรฟุตบอลจิมทอมสัน ฟาร์ม- ทีมสโมสรตะกร้อนครราชสีมา (แมวป่าทมิฬ) ปัจจุบันทำการแข่งขันในตะกร้อ ไทยแลนด์ ลีก บาสเกตบอล- ในจังหวัดนครราชสีมามีการจัดการแข่งขันบาสเกตบอลลีกภายในจังหวัด ในชื่อ โคราชบาสเกตบอล ลีกสนามกีฬาสนามกีฬา. - สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550- โคราช ชาติชาย ฮอลล์ - สนามกีฬากลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (นครราชสีมา) - สนามกีฬามหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล - สนามกีฬาเทศบาลนครราชสีมา - สนามกีฬาสุรพลากีฬาสถาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - สนามกีฬากลาง ค่ายสุรนารีบุคคลที่มีชื่อเสียงบุคคลในประวัติศาสตร์พระสงฆ์นายกรัฐมนตรีผู้บัญชาการทหาร/ตำรวจนักการเมืองนักมวยไทย/นักมวยสากลอาชีพนักกีฬานักวิชาการผู้กำกับการแสดงนักเขียนนักแสดง / นายแบบ / นางงามบุคคลที่มีชื่อเสียง. นักแสดง / นายแบบ / นางงาม. - นันทวัน เมฆใหญ่ - จรัสพงษ์ สุรัสวดี - ธงชัย ประสงค์สันติ - เพ็ญพิสุทธิ์ เลิศรัตนชัย - ธนา สุทธิกมล - โสภิตสุดา อิทธิเมธินทร์ - วรัทยา นิลคูหา - วงศกร ปรมัตถากร - พิมพ์อักษิพร วินโกมินทร์ - สุชารัตน์ มานะยิ่ง - กรวรรณ หลอดสันเทียะ - เดอะเฟซไทยแลนด์ ซีซัน 3, เดอะเฟซไทยแลนด์ ซีซัน 4 - เจเน็ต เขียว - ธงธง มกจ๊ก - สุทธิพงษ์ สีสวาท - รพีพร พ่วงเพ็ชร - ชาลิตา แย้มวัณณังค์ - มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2556 - อมร พันธ์ชมภู - ปรภัสสร วรสิรินดา - มิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2014, รองอันดับ 1 มิสซูปราเนชันแนล 2014 - ภาคิน บวรศิริลักษณ์ - ปภาดา กลิ่นสุมาลย์นักร้อง/นักดนตรีเพลงไทยสากลเพลงลูกกรุง, ลูกทุ่ง และเพื่อชีวิตสถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว. - อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี - อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย - อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ - หมู่บ้านทำเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน - หมู่บ้านหินทราย บ้านหนองโสน - วัดบ้านไร่ - สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - พิพิธภัณฑ์จิตรกรรมสามมิติโคราช - สวนสัตว์นครราชสีมา - วัดศาลาลอย - สวนทุ่งลุงพี - วัดโนนกุ๋ม - ตลาดน้ำกลางดง - เขี่อนลำตะคลอง - เขื่อนลำมูลบน/หาดจอมทอง - ผาเก็บตะวัน - เขาแผงม้า - ตลาดเมืองย่า 100 ปี - ตลาดเซฟวัน - เมืองเสมา (รัฐศรีจนาศะ) - ปราสาทหินเมืองแขก - ปราสาทหินเมืองเก่า - ปราสาทหินโนนกู่ - วัดธรรมจักรเสมาราม - สะพานดำ สถานีรถไฟสูงเนิน - สถานีรถไฟสูงเนินเทศกาลและงานประเพณีเทศกาลและงานประเพณี. - งานฉลองวันแห่งชัยชนะของท้าวสุรนารี กำหนดจัดระหว่างวันที่ 23 มีนาคม - 3 เมษายน ของทุกปี ซึ่งถือเป็นวันที่คุณหญิงโมได้รับชัยชนะจากข้าศึก จัดบริเวณอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี - งานแห่เทียนพรรษาโคราช เสริมบุญสร้างบารมี กำหนดจัดงานประเพณีแห่เทียนพรรษา ณ บริเวณสวนรักษ์และลานอนุสาวรีย์ ท้าวสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีความวิจิตรสวยงามตระการตา และมีจำนวนนักท่องเที่ยวมากที่สุดในภูมิภาค กว่า 500,000คน - งานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่โคราช คนร่วมนับถอยหลังสู่ปีใหม่ร่วมกัน นับแต่ปีเป็นการตอกย้ำที่สำคัญว่าเทศกาลส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่เป็นเทศกาลสากลที่ประชาชนให้ความสำคัญ และเป็นศูนย์กลางแห่งการเฉลิมฉลอง ส่งท้ายปีของชาวโคราช และนักท่องเที่ยวจากต่างจังหวัดอีกครั้งเพราะเราเชื่อมั่นว่าโคราชเป็นเมืองซึ่งเป็นศูนย์รวมการท่องเที่ยวเปี่ยมไปด้วยเสน่ห์แห่งรอยยิ้ม และความสวยงามที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวด้วยสีสัน - งานตรุษจีนนครราชสีมา งานตรุษจีนนครราชสีมา กิจกรรมที่เป็นการเชื่อมความสัมพันธ์อันดีต่อกันระหว่างชาวไทยและชาวจีน ซึ่งถือว่าเป็นงานที่มีความยิ่งใหญ่ภายใต้ความเชื่อที่มีมานาน และเป็นการฉลองวันขึ้นปีใหม่ของชาวจีนสุดยิ่งใหญ่อลังการ ณ บริเวณอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และบริเวณสวนอนุสรณ์สถาน อำเภอเมืองนครราชสีมา - สงกรานต์โคราช เทศกาลสงกรานต์ที่โคราชจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีแต่ละปีจะยิ่งใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ - บีบีคิวเฟสติวัลแอตโคราช โดยหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา - งานเบญจมาศบาน ในม่านหมอก จัดขึ้นในช่วงฤดูหนาวของทุกปี ณ หน้าที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลไทยสามัคคี มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับคนในท้องถิ่น อีกทั้งเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของอำเภอวังน้ำเขียวซึ่งมีกิจกรรมที่น่าสนใจ อาทิ การประกวดและจำหน่าย “ดอกเบญจมาศ” แปลงสาธิตดอกเบญจมาศหลากสายพันธุ์ หลากการแสดงและจำหน่ายสินค้าผักเมืองหนาวและกิจกรรมการขี่จักรยานท่องเที่ยวรับสายหมอกและลมหนาวของอำเภอวังน้ำเขียว - การแข่งเรือพิมาย การแข่งเรือเป็นรูปแบบของการเล่นในฤดูน้ำหลากที่สร้างความสามัคคีของคนในหมู่บ้าน และคนต่างหมู่บ้านได้พบปะกัน เป็นการสร้างความสมานสามัคคีของสังคมได้ทางหนึ่งช่วงเวลา จัดหลังวันออกพรรษา แต่ไม่เกินวันเพ็ญเดือนสิบสอง - งานเทศกาลเที่ยวพิมาย จัดในวันเสาร์-อาทิตย์ สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนพฤศจิกายน จัดขึ้นเพื่อเป็นการสร้างสรรค์กิจกรรมส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวหลักของจังหวัด คือ อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงเดียวกับงานประเพณีแข่งเรือพิมาย ภายในงานมีกิจกรรมหลายอย่าง เช่น การแข่งเรือยาวประเพณี การแสดงทางวัฒนธรรม ขบวนแห่พุทธราชาและพุทธประวัติ ขบวนแห่พุทธประทีปและการแสดงประกอบแสง เสียง - งานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาเนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา คณะสงฆ์อำเภอเสิงสางโดยความร่วมมือของเทศบาลตำบลเสิงสาง วัฒนธรรมอำเภอเสิงสาง และพุทธสมาคมอำเภอเสิงสางได้ร่วมกันจัดกิจกรรมสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาเนื่องในวันวิสาขบูชาอำเภอเสิงสางประจำปี จัดที่เทศบาลตำบลเสิงสาง - ไม้ชวนชมประจำอำเภอคง - เทศกาลประเพณีของดีเมืองคง - ประเพณีบุญบั้งไฟตำบลหนองมะนาว อำเภอคง - งานเห็ดเมืองคง - งานผ้าไหมและของดีเมืองปักธงชัย เป็นงานที่ชาวอำเภอปักธงชัย ได้จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมผ้าไหม และสินค้าต่าง ๆ ของอำเภอปักธงชัย จัดในวันที่ 9-15 ธันวาคม ของทุกปี ที่สนามหน้าที่ว่าการอำเภอปักธงชัย - ปากช่องคาวบอยซิตี ริมถนนมิตรภาพสายเก่า บริเวณสวนสาธารณะเขาแคน อำเภอปากช่อง เทศกาลที่ชาวอำเภอปากช่องต่างแต้มสีสันในแบบอย่างที่เป็นเอกลักษณ์ การเนรมิตเมืองปากช่องให้เป็นเมืองคาวบอยตะวันตก - เทศกาลกินหมี่ ประเพณีแห่เทียนพรรษา อำเภอโชคชัย - แข่งเรือพาย ตำบลท่าลาดขาว อำเภอโชคชัย เดือนพฤศจิกายนของทุกปี - แข่งเรือ ตำบลละลมใหม่พัฒนา อำเภอโชคชัย - งานสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ วัดบ้านไร่ วัดบ้านไร่ ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด วันที่ 11 มกราคมของทุกปี - งานของดีอำเภอขามสะแกแสง บริเวณสนามหน้าที่ว่าการอำเภอขามสะแกแสง เพื่อประชาสัมพันธ์ผลผลิตจากเกษตรกรโดยเฉพาะพริก ถือเป็นของดีของอำเภอ เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับรู้ พร้อมส่งเสริมให้เกษตรกรตระหนักถึงความสำคัญในอาชีพเกษตรกร ได้รับความรู้เชิงวิชาการและความรู้ใหม่ในการเพิ่มผลผลิต อีกทั้งการสร้างเสริมการตลาด ส่งเสริมความสามัคคี และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของอำเภอ - ประเพณีกินเข่าค่ำของดีเมืองสูงเนิน จัดขึ้นเป็นประจำในเสาร์ที่2ของเดือนมีนาคมของทุกปี โดยมีการแสดงแสง สี เสียง ชุดนิรมิตกรรมเหนือลำตะคลอง และการแสดงโอทอปประจำตำบลของอำเภอสูงเนิน การประกวดธิดากินเข่าค่ำ จัดขึ้นที่ปราสาทเมืองแขก ตำบลโคราช - เทศกาลกวนข้าวทิพย์ออกพรรษา - เทศกาลน้อยหน่า ของดีปากช่อง และงานกาชาด - เทศกาลเฟื้องฟ้างาม อำเภอหนองบุญมาก - งานเทศกาล มหัศจรรย์ทุ่งดอกจานบานสะพรั่ง อำเภอแก้งสนามนาง - งานบุญข้าวจี่ อำเภอแก้งสนามนาง - งานทอดผ้าไหม อำเภอแก้งสนามนาง - งานบุญบั้งไฟ ตำบลดอนยาวใหญ่ อำเภอโนนแดง - วังน้ำเขียวฟลอร่าแฟนตาเซีย ณ บริเวณแยกวัดโพธิ์เฉลิมพระเกียรติ อำเภอวังน้ำเขียว - งานเทศกาลชมพระอาทิตย์ตกดิน ดอยเจดีย์ อำเภอเทพารักษ์ - พิธีสักการะรูปหล่อหลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ตำบลบึงปรือ อำเภอเทพารักษ์ - ประเพณีงานข้าวใหม่ปลามัน จัดขึ้นในช่วงเดือนธันวาคของทุกปีซึ่งเป็นระยะเวลาที่การเก็บเกี่ยวเสร็จสิ้นแล้วและเชื่อกันว่าหากได้ข้าวและปลาในช่วงดังกล่าวจะมีรสชาติดีเป็นเลิศ อำเภอเมืองยาง - การแข่งขันพายเรืออีโปงในเทศกาลวันสงกรานต์ อำเภอลำทะเมนชัย - งานงิ้วประจำปี ประจำปีของชาวตลาดหนองบัวลายเป็นการบูชาและบวงสรวงแก่เจ้าพ่อที่เป็นที่เคารพของอำเภอบัวลายถือเป็นงานประเพณีที่จัดกันเป็นประจำทุกปีกว่า 30 ปี โดยจะจัดในช่วงเดือนตุลาคมหรือเดือนพฤศจิกายนของทุกปี - งานท้องถิ่นอำเภอสีดา - การจัดงานเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวามหาราช และวันครบรอบการเปิดที่ว่าการอำเภอ หน้าที่ว่าการอำเภอเฉลิมพระเกียรติ 5 ธันวาคมของทุกปี - การจัดงานวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ หน้าที่ว่าการอำเภอเฉลิมพระเกียรติ วันที่ 13 เมษายน ทุกปีกระบวนการยุติธรรมกระบวนการยุติธรรม. - ศาลอุทธรณ์ภาค 3 - ศาลแรงงานภาค 3 - ศาลจังหวัดนครราชสีมา - ศาลจังหวัดสีคิ้ว - ศาลจังหวัดสีคิ้ว(ปากช่อง) - ศาลจังหวัดบัวใหญ่ - ศาลจังหวัดพิมาย - ศาลแขวงนครราชสีมา - ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา - ศาลปกครองนครราชสีมา
จังหวัดใดมีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย
3996
{ "answer_end": [ 756 ], "answer_start": [ 749 ], "text": [ "ดอกสาธร" ] }
5114
จังหวัดนครราชสีมา นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ พ.ศ. 2217สัญลักษณ์ประจำจังหวัดสัญลักษณ์ประจำจังหวัด. - คำขวัญประจำจังหวัด : เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน - ตราประจำจังหวัด : รูปอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีหน้าประตูชุมพล - ธงประจำจังหวัด : รูปอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีหน้าประตูชุมพล ในพื้นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีแสด - ต้นไม้ประจำจังหวัด : ต้นสาธร () - ดอกไม้ประจำจังหวัด : ดอกสาธร - สัตว์น้ำประจำจังหวัด : ปลาบ้าหรือปลาพวง ()ที่มาของชื่อ ที่มาของชื่อ. มีผู้เสนอว่าอาจมีความเป็นไปได้ที่ เมืองนครราช คือเมืองเดียวกันกับเมืองราด ของพ่อขุนผาเมือง เนื่องจากมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเมืองพระนครหลายประการ นอกจากนี้รูปสลักกองทัพชาวสยามบนระเบียงด้านหนึ่งของ นครวัด อาจเป็นชาวสยามจากลุ่มแม่น้ำมูลที่เกี่ยวข้องกับเมืองนครราช และยังมีการกล่าวถึงเมืองนครราชสีมาในพงศาวดารของกัมพูชาหลายครั้งด้วย อย่างไรก็ตาม ผู้ที่มีมุมมองอีกด้านหนึ่งก็ว่า นครราชสีมา นั้นเป็นคำไทยเป็นคำใหม่ แยกเป็นคำได้คือ นคร, ราช และ สีมา หมายความว่า "เมืองใหญ่อันเป็นขอบขัณฑสีมาของราชอาณาจักร" (ราช+สีมา) ส่วนคำว่า โคราช (สำเนียงถิ่น: โค-หฺราด , ไทยกลาง: โค-ราด, เขมร: โก-เรียช ) นั้น น่าจะเพี้ยนมาจาก นครราช (อ่านตามสำเนียงว่า คอน-หฺราด ซึ่งเป็นคำเรียกนครราชสีมาแบบย่อ ๆ ของชาวบ้าน) หรือ อังกอร์เรียจ ต่อมาลดรูปเป็น กอร์เรียจ และเพี้ยนเป็นโคราช ในที่สุด และไม่ได้เพี้ยนมาจากชื่อเมืองโคราฆปุระ (Gorakhpur) ที่เป็นชื่อเมืองสมัยใหม่ในแคว้นเดียวกับเมืองอโยธยา (Ayodhya) ในอินเดีย ตามข้อสันนิษฐานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เดิมทีนั้นชื่อเมืองนครราชสีมา มีการใช้ "นครราชสีมา" และ "นครราชสีห์มา" สลับกันไป จนกระทั่งเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2445 (พ.ศ. 2444 เดิม) ได้มีพระบรมราชโองการฯ ให้ประกาศว่าประวัติศาสตร์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. สมัยก่อนประวัติศาสตร์. จากหลักฐานทางโบราณคดีพบว่า มีชุมชนโบราณซึ่งเป็นร่องรอยของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคหินใหม่ต่อเนื่องมาถึงยุคสำริด และยุคเหล็ก กระจายอยู่ทั่วไปในจังหวัดนครราชสีมา โดยมีแหล่งโบราณคดีที่สำคัญคือ ชุมชนบ้านปราสาท ชุมชนบ้านโนนวัด แหล่งภาพเขียนสีเขาจันท์งาม ซึ่งกำหนดอายุได้ประมาณ 4,500 ปีมาแล้วสมัยประวัติศาสตร์อาณาจักรศรีจนาศะ หรือ จนาศะปุระ สมัยประวัติศาสตร์. อาณาจักรศรีจนาศะ หรือ จนาศะปุระ. มีความเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยทวารวดี ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเสมา ตั้งอยู่บริเวณอำเภอสูงเนินในปัจจุบัน เป็นเมืองใหญ่เชื่อกันว่าเป็นที่ตั้งของรัฐศรีจนาศะ ใน พ.ศ. 1411 ตามจารึก ข้อมูลปฐมภูมิเกี่ยวอาณาจักรนี้ ศึกษาได้จากศิลาจารึก ซึ่งปัจจุบันพบอยู่ 2 หลักคือ 1.  จารึกบ่ออีกา (จารึกด้วยอักษรหลังปัลลวะ ใช้ภาษาสันสกฤต กับ เขมร กำหนดอายุได้ พ.ศ. 1411)  สถานที่พบ บ้านบ่ออีกา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา  เนื้อหาโดยสังเขป  ด้านที่ 1 กล่าวถึงสัตว์และทาสที่พระราชาแห่งศรีจนาศะถวายแก่พระสงฆ์  ด้านที่ 2 เริ่มต้นด้วยการกล่าวสรรเสริญพระศิวะ แล้วกล่าวยกย่องอังศเทพซึ่งเป็นผู้สร้างศิวลึงค์นี้ 2. จารึกศรีจานาศะ (จารึกด้วยอักษรขอมโบราณ ใช้ภาษาสันสกฤต กับ เขมร กำหนดอายุได้ พ.ศ. 1480) สถานที่พบ บริเวณเทวสถาน ใกล้สะพานชีกุน อำเภอเมือง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา  เนื้อหาโดยสังเขป ด้านที่ 1 เริ่มต้นด้วยการสรรเสริญพระศิวะ จากนั้นสรรเสริญนางปารวตี ต่อจากนั้นจึงกล่าวถึงรายพระนามพระราชาแห่งอาณาจักรจานาศปุระ คือ พระราชาองค์แรกทรงพระนามว่าภคทัตต์ ผู้ที่สืบต่อลงมาจากพระเจ้าภคทัตต์องค์หนึ่งทรงพระนามว่า สุนทรปรากรม พระเจ้าสุนทรปรากรมทรงมีโอรสทรงพระนามว่า สุนทรวรมัน พระเจ้าสุนทรวรมันทรงมีโอรส 2 องค์องค์พี่ทรงนามว่านรปติสิงหวรมัน ได้เสด็จขึ้นครองราชย์แห่งอาณาจักรศรีจานาศะ องค์น้องทรงนามว่า มงคลวรมัน ได้โปรดให้สร้างจารึกหลักนี้เพื่อฉลองการสร้างพระรูปพระชนนีเป็นพระราชเทวี คือ ชายาของพระศิวะ เมื่อศักราช 859 (พ.ศ. 1480) ส่วนจารึกด้านที่ ๒ นั้น เป็นรายชื่อของทาส เมืองพิมาย หรือ วิมายปุระ เมืองพิมาย หรือ วิมายปุระ. ชุมชนในเขตลุ่มแม่น้ำมูลเริ่มมีการตั้งถิ่นฐานเป็นบ้านเมืองขึ้นในช่วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 (ประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 6 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7) เมื่อปรากฏเมืองที่มีคันดินล้อมรอบซี่งมีรูปร่างกลมหรือมีรูปร่างไม่แน่นอนกระจายอยู่ทั่วบริเวณ เช่น บริเวณบ้านเมืองฝ้าย ตำบลบ้านฝ้าย อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ บริเวณบ้านโตนด ตำบลโตนด อำเภอโนนสูงบริเวณเมืองพิมาย อำเภอพิมาย บริเวณเมืองเสมา อำเภอเนินสูง บริเวณหินขอนอำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา โดยบริเวณบ้านโตนดที่อยู่ห่างจากเมืองพิมายไปทางด้านใต้ประมาณ 20 กิโลเมตร ได้พบลูกปัดแก้วสีน้ำเงินและลูกปัดหินทำด้วยหินอารเกทและเตอร์เนเสียน มีลายสลับเขียว เหลือง แดง ซึ่งพบมากในชุมชนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา แสดงให้เห็นว่าบ้านเมืองในเขตลุ่มแม่น้ำมูล มีการรับวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามา พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ แสดงความเห็นว่า บริเวณบ้านโตนดน่าจะเป็นหมู่บ้านชนบทของเมืองพิมาย เป็นพื้นที่ทำการเพาะปลูกส่วนหนึ่งของเมืองพิมาย โดยมีแม่น้ำมูลเป็นทางคมนาคมขนส่งในการลำเลียงพืชพันธุ์ธัญญาหารสู่เมืองพิมายในขณะเดียวกัน เมืองพิมายได้ปรากฏชื่ออยู่ในจารึกของเขมรมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าอิศานวรมันที่ 1(พ.ศ. 1159 ถึงราว พ.ศ. 1180 หรือ ค.ศ. 616 ถึงราว ค.ศ. 637) ว่า ภีมปุระ (Bhimapura) ประกอบกับการพบจารึกของพระเจ้ามเหนทรวรมัน (ราว พ.ศ. 1150 ถึง พ.ศ. 1159 หรือ ราว ค.ศ. 607 ถึง ค.ศ. 616) ที่อำเภอนางรองจังหวัดบุรีรัมย์ และที่จังหวัดอุบลราชธานีเป็นจำนวนหลายหลัก แสดงให้เห็นว่า อารยธรรมเขมรได้แผ่ขยายอิทธิพลเข้ามามีบทบาทในเขตลุ่มแม่น้ำมูลตั้งแต่ช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 12 (ครึ่งหลังคริสต์ศตวรรษที่ 6) แล้ว โดยปรากฏชุมชนในวัฒนธรรมเขมรหลายแห่งในบริเวณนี้ เช่น บริเวณแก่งสะพือ อำเภอพิบูล มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี บริเวณบ้านดม อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์  เมืองพิมายได้เจริญขึ้นมามีบทบาทสำคัญเป็นเมืองศูนย์กลางขนาดใหญ่ของอารยธรรมเขมรในเขตลุ่มแม่น้ำมูลในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 1654 (ครึ่งแรกคริสต์ศตวรรษที่ 11)เมื่อมีการสถาปนาราชวงศ์มหิธรปุระ (Mahidrapura) ขึ้นในเขตที่ราบสูงโคราช และเจริญรุ่งเรืองสุดในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ. 1724 ถึงราว พ.ศ. 1763 หรือ ค.ศ. 1181 ถึงราว ค.ศ. 1220) เพราะมีชื่อเมืองพิมายปรากฏในจารึกปราสาทพระขรรค์56 กล่าวว่า “จากเมืองหลวงไปยังเมืองวิมาย (มี) ที่พักพร้อมด้วยไฟ 17 แห่ง”และมีรูปฉลององค์ของพระเจ้าชัยวรมันที่7 และพระชายาอยู่ที่ปราสาทหินพิมายด้วย จารึกปราสาทหินพิมาย         จารึกที่พบที่ปราสาทหินพิมายมีทั้งหมด 6 หลัก คือ         -     จารึกปราสาทหินพิมาย 1 อักษรขอม ภาษาสันสกฤต ศิลาทราย กว้าง 57 เซนติเมตร สูง 40 เซนติเมตร หนา 12เซนติเมตร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าพบในส่วนใดของปราสาท         -    จารึกปราสาทหินพิมาย 2 อักษรขอม ภาษาสันสกฤตและเขมร ศิลารูปใบเสมา กว้าง 23 เซนติเมตร สูง 18 เซนติเมตรหนา 5.5 เซนติเมตร พบที่มุมตะวันออกเฉียงใต้ของปราสาทประธาน         -    จารึกปราสาหินพิมาย 3 อักษรขอม ภาษาเขมร พบที่กรอบประตูซุ้มระเบียงคดด้านทิศใต้         -    จารึกปราสาทหินพิมาย 4 อักษรขอม ภาษาเขมร พบที่ระเบียงคดด้านใต้ซีกตะวันออก เป็นจารึกฐานประติมากรรม         -    จารึกปราสาทหินพิมาย 5 อักษรขอม ภาษาบาลี กว้าง 15 เซนติเมตร ยาว 32เซนติเมตร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าพบในส่วนใดของปราสาท         -    จารึกปราสาทหินพิมาย 6 อักษรขอม ภาษาเขมร แตกชำรุดเป็น 5 ชิ้น ไม่ปรากฏหลักฐานว่าพบส่วนใดของปราสาท         จารึกที่มีข้อความพอที่จะศึกษาได้ คือ จารึกปราสาทหินพิมาย 2 จารึกปราสาทหินพิมาย 3 และจารึกปราสาทหินพิมาย 4 โดยเนื้อหาสาระของจารึกมีประเด็นที่สำคัญ คือ         1.     การบูชาและถวายของแด่พระพุทธเจ้า         2.     การกล่าวสรรเสริญพระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 (พ.ศ. 1545 – 1593 / ค.ศ. 1002 –1050)         3.     การทำนุบำรุงศาสนสถานโดยการสร้างรูปเคารพ การทำพิธีต่างๆ และการถวายที่ดิน ข้าทาส สิ่งของแก่ศาสนสถานเพื่ออุทิศบุญกุศลแก่บรรพบุรุษ         4.     การสร้างเมืองและศาสนสถาน         จากจารึกปราสาทหินพิมาย 2 มีการกล่าวถึง มหาศักราช 95858 เทียบได้กับ พ.ศ. 1579 (ค.ศ. 1036) และพระนาม“ศรีสูรยวรมะ” ซึ่งหมายถึง พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 ทำให้นักวิชาการมีความเห็นว่า ปราสาทหินพิมายคงจะสร้างขึ้นในรัชสมัยนี้โดยปามังติเอร์ (H.Parmentier) ให้ความเห็นว่า รูปแบบศิลปะของซุ้มและมุขหน้าปราสาทประธาน น่าจะเป็นฝีมือช่างในสมัยพระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 ซึ่งเทียบได้กับศิลปะที่ปราสาทวัดเอกและวัดบาเสตในเมืองพระตะบองซึ่งสร้างขึ้นในรัชกาลนี้แต่จารึกหลักนี้มีปัญหาที่ว่าไม่ได้เป็นจารึกที่อยู่ติดกับตัวปราสาทหินพิมาย จึงไม่อาจสรุปลงไปได้อย่างชัดเจนว่า ปราสาทหินพิมายสร้างขึ้นในรัชสมัย พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1อย่างไรก็ตาม จารึกปราสาทหินพิมาย 3 ซึ่งเป็นจารึกที่ติดกับศาสนสถานได้กล่าวถึงมหาศักราช1030 หรือ พ.ศ. 1651 (ค.ศ. 1108) ซึ่งตรงกับรัชกาลพระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1 (พ.ศ. 1650 – 1656 หรือ ค.ศ. 1107 – 1113) “...กมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมะเมืองโฉกวะกุลสถาปนากมรเตงชคตเสนาบดีไตรโลกยวิชัย ซึ่งเป็นเสนาบดีแห่งกมรเตงชคต-วิมายะฯ...” ได้แสดงให้เห็นว่าในปี พ.ศ. 1651 (ค.ศ. 1108) ต้องมีศาสนสถานปราสาทหิน พิมายอยู่แล้ว เพราะมีรูปเคารพกมรเตงชคตวิมายะ ซึ่งเป็นประธานของปราสาทหินพิมายแล้ว โดยนักวิชาการแสดงความเห็นว่ากมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมะนั้นน่าจะหมายถึง เจ้าเมืองหรือขุนนางของพระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1 ที่ครองเมืองพิมายอยู่ในขณะนั้น เพราะชื่อ ศรีวิเรนทราธิบดีวรมะเป็นชื่อตามปราสาทหินพิมายที่ปรากฏในจารึก คือ ศรีวิเรนทราศรม ซึ่งหมายถึง อาศรมของศรีวิเรนทราธิบดี และไซเดนฟาเดน (E. Seidenfaden) ได้แสดงความเห็นว่า กมรเตงอัญศรีวิเรนทราธิบดีวรมะ ต่อมาก็ได้เป็นพระเจ้าสูรยวรมันที่ 2 (พ.ศ. 1656ถึงหลัง พ.ศ. 1688 หรือ ค.ศ.1113 ถึงหลัง ค.ศ. 1145)         นอกจากนี้ ในตอนท้ายจารึกปราสาทหินพิมาย 3 ยังได้กล่าวถึงศักราช 1031 (พ.ศ. 1652 / ค.ศ. 1109) กมรเตงอัญศรีวีรวรมะได้ถวายของและข้าพระแด่กมรเตงชคตเสนาบดีไตรโลกวิชัย เพื่อถวายผลนั้นแด่พระบาทกมรเตงอัญศรีธรณีนทรวรมเทวะฯ ซึ่งหมายถึง พระเจ้าธรณีนทรวรมันที่ 1 ที่ครองราชย์อยู่ที่เมืองพระนครขณะนั้น         จากจารึกทั้งสองหลักพอจะสันนิษฐานได้ว่า ปราสาทหินพิมายคงจะสร้างขึ้นก่อนปี พ.ศ. 1651 (ค.ศ. 1108) ซึ่งกรอสลิเย่ (Bernard Philippe Groslier) กล่าวว่า คงเริ่มสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 (พ.ศ. 1623 – 1650 / ค.ศ. 1080 – 1107) เนื่องจากเมืองพิมายเป็นราชธานีของพระองค์มาก่อน โดยพระองค์โปรดให้สร้างปราสาทหินพิมายขึ้นเพื่ออุทิศถวายแด่บรรพบุรุษในราชวงศ์มหิธรปุระ พุทธศาสนาที่ปราสาทหินพิมาย         เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า ปราสาทหินพิมายเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นในคติพุทธศาสนา เพราะประธานเป็นรูปพระพุทธรูปนาคปรกศิลามีพระนาม กมรเตงชคตวิมายะ แต่การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้นักวิชาการส่วนมากเข้าใจว่าพุทธศาสนาลัทธิวัชรยานหรือตันตระยาน เป็นนิกายหนึ่งของพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ซึ่งเมื่อศึกษาถึงปรัชญาและจุดมุ่งหมายของวัชรยานและมหายานแล้ว จะเห็นได้ว่าทั้งวัชรยานและมหายานต่างก็มีปรัชญาที่ต่างกัน ดังนั้นวัชรยานและมหายานจึงเป็นลัทธิที่แยกออกจากกันอย่างชัดเจน เมื่อพิจารณาจากหลักฐานที่ปรากฏที่ปราสาทหินพิมายทั้งจากตัวศิลปะและจารึกกล่าวได้ว่า ปราสาทหินพิมายสร้างขึ้นในพุทธศาสนาลัทธิวัชรยาน เนื่องจากด้านหน้าทางเข้าปราสาทประธาน ปรากฏรูปพระวัชรสัตวพุทธะ คือ พระชินพุทธะองค์ที่ 6 ของลัทธิวัชรยานแสดงรูปโดยทรงถือวัชระในพระหัตถ์ขวา และทรงถือกระดิ่งในพระหัตถ์ซ้าย และจากการศึกษาประติมากรรมเครื่องใช้สัมฤทธิ์ที่บริเวณเมืองพิมายและบริเวณใกล้เคียง พบวัชระและกระดิ่งที่ภิกษุในลัทธิวัชรยานใช้ในการประกอบพิธีกรรมเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้รูปเคารพที่ปรากฏอยู่บนทับหลังประดับประตูด้านในวิมานของปราสาทประธาน ยังแสดงถึงรูปเทพเจ้าในลัทธิวัชรยานด้วย คือทับหลังประดับทิศใต้ แสดงภาพกมรเตงชคตวิมายะอยู่ตรงกลาง ตอนบนของทับหลัง คือ พระชินพุทธะ 6 พระองค์ ด้านละ 3 พระองค์ ทับหลังประดับทิศตะวันตก ตอนบนแสดงภาพพระอมิตาภพุทธะ พระชินพุทธะ ประจำทิศตะวันตกส่วนตอนล่างแสดงภาพความรื่นรมย์บนสวรรค์สุขาวดี ทับหลังประดับทิศเหนือ ตรงกลางเป็นรูปเทพเจ้า 3 พักตร์ 6 กร โดยพระหัตถ์ล่างอยู่ในท่าปางสมาธิ พระหัตถ์ขวากลางถือลูกประคำ และพระหัตถ์ซ้ายกลางถือกระดิ่ง ซึ่งก็คือเหวัชระ หรือพระวัชรินตามชื่อที่ปรากฏในจารึกของกัมพูชาทับหลังประดับทิศตะวันออก แสดงภาพเทพเจ้า 4 พักตร์ 8 กร โดยพระพักตร์ที่ 4อยู่ด้านหลังสองกรล่างอยู่ในท่าแสดงธรรม ร่ายรำอยู่ในท่าอรรธปรยังกะ บนพระไภรวะและนางกาลราตรี และทรงถือหนังช้าง เทพเจ้าองค์นี้คือ สังวร ซึ่งอยู่ในสกุลพระอักโษภยะพระชินพุทธะประจำทิศตะวันออกนอกจากนี้ ยังปรากฏทับหลังประดับประตูชิ้นหนึ่งไม่ทราบตำแหน่งเดิมจากปราสาทหินพิมาย คือ ทับหลังภาพเจ้าเมืองทำอัษฎางคประดิษฐ์ ในพระหัตถ์มีหม้อน้ำที่รองรับน้ำมนตร์จากพระกมรเตงชคตวิมายะ ที่แสดงภาพอยู่ตอนกลางด้านบนของทับหลัง  การถวายอัษฎางคประดิษฐ์เป็นการถวายความเคารพในลัทธิวัชรยาน ซึ่งยังคงปรากฏอยู่ในประเทศธิเบตและเนปาลปัจจุบัน ลัทธิวัชรยานเริ่มปรากฏในเขมรมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าราเชนทรวรมัน (พ.ศ. 1474 –1511 หรือ ค.ศ. 935 – 968) เพราะจารึกปราสาทเบ็งเวียนได้กล่าวถึงพระโลเกศวรและนางปรัชญาปารมิตา ผู้ประทานกำเนิดพระชินพุทธะและธาตุทั้ง 5 (มูลปฺรกฤติ)ในไตรโลก นอกจากนี้จารึกบ้านสับบาก อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ใน พ.ศ. 1609 (ค.ศ. 1066) ได้กล่าวถึงพระปาญจสุคต ซึ่งคือ พระชินพุทธะในลัทธิวัชรยาน และยังกล่าวถึงคัมภีร์ศรีสมาจะ ซึ่งเป็นชื่อย่อของคัมภีร์ศรีคุหยสมาจตันตระ(การสนทนาที่เป็นความลับ) เป็นคัมภีร์เก่าสุดที่พระพุทธเจ้าพระนามว่า สรรว-ตถาคต-กาย-วาก-จิตต์ ประทานให้กับพุทธสมาคมและเป็นต้นตำรับของวัชรยาน ทั้งยังเป็น 1 ใน 9 คัมภีร์หลักของเนปาลจารึกทั้งสองหลักแสดงให้เห็นว่าพุทธศาสนาลัทธิวัชรยานได้มีการวางรากฐานในอารยธรรมเขมรมาตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 15 (ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10) และคงแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในเขตที่ราบสูงโคราชช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 17 (กลางคริสต์ศตวรรษที่ 11) จากนั้นก็เจริญรุ่งเรืองสุดในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7โดยมีศูนย์กลางของลัทธิวัชรยานในประเทศไทยที่เมืองพิมาย และมีปราสาทหินพิมายเป็นศาสนสถานที่สำคัญของลัทธินี้ บทบาทและหน้าที่ของปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินพิมายเป็นปราสาทในอารยธรรมเขมรแบบ “ที่มีระเบียงคดล้อมรอบปรางค์ประธาน” และเป็นศูนย์กลางลัทธิวัชรยานจากกัมพูชาที่สำคัญในประเทศไทย อีกทั้งในจารึกปราสาทพระขรรค์ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ยังกล่าวถึงเมืองพิมายในฐานะที่เป็นเมืองปลายทางของเส้นทางหลักสายหนึ่งในจำนวน 6 เส้นทางจากเมืองพระนคร ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของเมืองพิมายในช่วงระยะเวลานี้ได้อย่างดี ประกอบกับภายนอกกำแพงเมืองด้านทิศใต้มีสิ่งก่อสร้างที่สำคัญของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 หลงเหลืออยู่ คือ อโรคยศาลที่พระองค์โปรดให้สร้างขึ้นทั่วพระราชอาณาจักรของพระองค์ เพราะทรงมีความปรารถนาที่จะช่วยเหลือราษฎรให้พ้นจากความทุกข์กายอันได้แก่ความไม่มีโรค จากลักษณะดังกล่าวต่างเป็นสิ่งแสดงถึงฐานะของเมืองพิมายที่มิใช่เป็นเพียง “ดินแดนนอกกัมพุชเทศ” เท่านั้น แต่มีความสำคัญในฐานะที่เป็นดินแดนปิตุภูมิของกษัตริย์เขมรในราชวงศ์มหิธรปุระอีกประการหนึ่งที่สำคัญ คือ รูปแบบศิลปะสถาปัตยกรรมของปราสาทหินพิมายที่จัดอยู่ในศิลปะเขมรแบบนครวัดตอนต้นนี้ ยังส่งอิทธิพลกลับคืนไปยังศูนย์กลางที่เมืองพระนครด้วยความเป็นศูนย์กลางของพิมายในลุ่มแม่น้ำมูลตอนบนเช่นนี้ ทำให้ปราสาทหินพิมายไม่ได้เป็นเพียงปราสาทของราชวงศ์มหิธรปุระเท่านั้น หากยังเป็นศาสนสถานที่รับใช้ชุมชนพิมายเองด้วย ดังปรากฏในจารึกปราสาทหินพิมาย 2 ที่กล่าวถึงการทำบุญในวันสำคัญต่างๆ และการไปนมัสการพระพุทธเจ้าเพื่อให้เกิดความเจริญในชีวิต อีกทั้งภายในบริเวณเมืองพิมายเองก็มีการขุดสระหรือบารายขนาดใหญ่ คือ สระแก้ว สระพรุ่ง (สระศรี) และสระขวัญ และภายนอกกำแพงเมืองด้านตะวันออก คือ สระเพลง นอกกำแพงด้านทิศใต้ คือ สระช่องแมว ซึ่งแสดงให้เห็นถึงระบบการชลประทานขนาดใหญ่ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อรับใช้ชุมชนที่มีขนาดใหญ่ ดังนั้นปราสาทหินพิมายจึงมีความสำคัญในฐานะที่เป็นปราสาทประจำราชวงศ์มหิธรปุระ และเป็นศาสนสถานในลัทธิวัชรยานของชุมชนแม่น้ำมูลตอนบนสมัยอยุธยา สมัยอยุธยา. เนื่องจากตั้งอยู่เป็นบริเวณที่เป็นชายขอบระหว่างรัฐที่มีอำนาจ เป็นรัฐกันชน นครราชสีมาจึงมีประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวพันกับความขัดแย้งระหว่างรัฐอยู่เสมอ เช่น ระหว่างสยามกับกัมพูชา หรือ ระหว่างสยามกับล้านช้าง หรือ ในบางครั้งได้มีความพยายามที่จะตั้งตัวเป็นรัฐอิสระไม่ขึ้นกับผู้ใด เฉกเช่นเดียวกับบรรดาเมืองใหญ่อื่น ๆ ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 อาณาจักรอยุธยาสามารถเอาชนะกัมพูชาได้ รวมทั้งได้ทำการรวบรวมหัวเมืองในลุ่มแม่น้ำมูลเข้ามาอยู่ในอำนาจ เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. 1991 - 2031 ได้สืบราชสมบัติต่อมา มีการจัดระดับเมืองพระยามหานคร 8 หัวเมือง คือ พิษณุโลก ศรีสัชนาลัย สุโขทัย กำแพงเพชร นครศรีธรรมราช นครราชสีมา ตะนาวศรี และทวาย ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เริ่มปรากฏชื่อเมืองนครราชสีมาเป็นเมืองสำคัญในขอบขัณฑสีมา และได้ดำรงความสำคัญสืบต่อมาในประวัติศาสตร์อยุธยาและรัตนโกสินทร์ ตามระบบระบบบรรดาศักดิ์ขุนนางไทย เจ้าเมืองนครราชสีมานับเป็นขุนนางระดับสูงมีบรรดาศักดิ์เป็น ออกญากำแหงสงครามรามภักดีพิรียภาหะ มีศักดินา 10,000 ไร่ ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพเมืองนครราชสีมาได้ถูกมอบหมายให้เป็นกำลังหลักในการโจมตีเมืองเสียมราฐ และภาคตะวันออกของทะเลสาบจนได้ชัยชนะเหนือพระยาละแวก ในที่สุด ครั้นถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงเห็นว่าเป็นหัวเมืองใหญ่และมีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ เนื่องจากเป็นเมืองหน้าด่านของอยุธยาติดกับพรมแดนลาว (เข้าใจว่าเลยลำสะแทด ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของแม่น้ำมูลเหนือเมืองพิมายเป็นเขตแดนลาว เพราะมีบันทึกไว้ในนิราศหนองคาย สอดคล้องกับวัฒนธรรมและภาษาที่เปลี่ยนไปด้วย) จึงโปรดให้ย้ายเมืองเสมา มาสร้างเมืองใหม่ ณ ที่ตั้งปัจจุบัน โดยมีการวางผังเมืองเป็นตารางรูปสีเหลี่ยม ขนาดกว้าง 1,000 เมตร ความยาว 1,700 เมตร มีกำแพงเมืองขนาดใหญ่ มีป้อมค่ายหอรบ และพระราชทานนามว่า "เมืองนครราชสีมา" จุลศักราช 1036 (พุทธศักราช 2217) โปรดให้พระยายมราช (สังข์)เป็นเจ้าเมือง ในคราวเดียวกันกับที่แต่งตั้ง เจ้าพระยารามเดโช เป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ ชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้เขียนรายงานและบันทึกไว้ในจดหมายเหตุ ว่า เมืองโคราชสีมา (Corazema) เป็นหัวเมืองใหญ่ 1 ใน 7 มณฑล ตั้งอยู่ติดชายแดนของราชอาณาจักรสยามกับเมืองลาว มีเมืองบริวาร 5 เมือง ในแผ่นดิน สมเด็จพระเพทราชา พระยายมราชเจ้าเมืองนครราชสีมาที่แต่งตั้งโดยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้แข็งเมือง เนื่องจากไม่พอใจสมเด็จพระเพทราชา ที่ก่อการยึดอำนาจและเปลี่ยนราชวงศ์ จึงไม่ขอขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยา แต่ถูกกองทัพกรุงศรีอยุธยาใช้เวลาปราบปรามโดยล้อมเมืองอยู่ประมาณ 2 ปี โดยใช้อุบายและกลยุทธปราบลงได้ พระยายมราช เจ้าเมืองนครราชสีมาได้หนีไปพึ่ง เจ้าพระยารามเดโชเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชซึ่งไม่พอใจสมเด็จพระเพทราชาเช่นกัน แต่ถูกกองทัพอยุธยาตามไปปราบปรามลงได้ นับแต่นั้นเมืองนครราชสีมาได้ถูกลดความสำคัญลงไม่เข้มแข็งดังแต่ก่อนสมัยกรุงธนบุรี สมัยกรุงธนบุรี. หลังกรุงศรีอยุธยาล่มสลาย เจ้าเมืองพิมายและกรมหมื่นเทพพิพิธได้ตั้งตัวเป็นชุมนุมอิสระที่สำคัญชุมนุมหนึ่งแต่ถูกปราบลงโดยพระเจ้าตาก หลังจากนั้นเมืองนครราชสีมาได้เป็นฐานกำลังทางทหารและการปกครองที่สำคัญของไทยมาโดยตลอด โดยในสมัยกรุงธนบุรีได้ถูกใช้เป็นฐานรวบรวมกำลังของ พระยาอภัยรณฤทธิ์ และ พระยาอนุชิตราชา ในการสงครามกับล้านช้างและกัมพูชา ในคราวสงครามตีเมืองเวียงจันทน์และได้พระแก้วมรกต หลวงยกกระบัตรเมืองพิมายอยู่ในทัพหน้า มีความดีความชอบจึงได้รับการแต่งตั้งเป็น พระยานครราชสีมา และ เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น) ในที่สุด ต่อมาพระยากำแหงสงคราม (บุญคง) ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองนครราชสีมา ในช่วงปลายรัชสมัยพระเจ้าตาก เมื่อเกิดการกบฏพระยาสรรค์ขึ้น พระสุริยอภัย กรรมการเมืองนครราชสีมา ได้นำกำลังทหารชาวนครราชสีมากลับเข้าควบคุมสถานการณ์ในกรุงธนบุรีไว้ได้ก่อนที่ เจ้าพระยาจักรี และ เจ้าพระยาสุรสีห์ จะยกทัพกลับมาจากกัมพูชาและเกิดการเปลี่ยนแผ่นดิน ในครั้งนั้น พระยากำแหงสงคราม (บุญคง) เจ้าเมืองนครราชสีมา ที่นำทัพไปกัมพูชาพร้อมกับ เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์ ถูกประหารชีวิตไปพร้อมกับเชื้อพระวงศ์ และขุนนางเดิมของพระเจ้าตาก จำนวนหนึ่ง และได้มีการเปลี่ยนตัวเจ้าเมืองนครราชสีมาเป็นพระยานครราชสีมา (เที่ยง) ผู้ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น)สมัยรัตนโกสินทร์ สมัยรัตนโกสินทร์. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เมืองนครราชสีมามีฐานะเป็นเมืองชั้นเอก กำกับตรวจตราเมืองประเทศราช ๓ เมือง คือ เวียงจันทน์ นครพนม จำปาศักดิ์ ให้รวมทั้งปกครองหัวเมืองเขมร พระยานครราชสีมา (เที่ยง) เป็นผู้สำเร็จราชการ และในรัชสมัยนี้ ชาวเมืองนครราชสีมาได้น้อมเกล้าถวายช้างเผือก 2 เชือก ในสมัยรัชกาลที่ 2 เกิดกบฏ อ้ายสาเกียดโง้ง ที่จำปาศักดิ์ มีรับสั่งให้พระยานครราชสีมา (เที่ยง) นำกองทัพไปปราบ แต่ เจ้าอนุวงศ์ เจ้าประเทศราชเวียงจันทน์ส่งเจ้าราชวงศ์ไปปราบกบฏได้เสร็จสิ้นก่อน และเจ้าราชวงศ์ได้ครองเมืองจำปาศักดิ์ต่อมา ต่อมาทองอิน เชื้อสายของพระเจ้าตาก และบุตรบุญธรรมของเจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น) ได้เป็นผู้สำเร็จราชการต่อจากพระยานครราชสีมา (เที่ยง) ในสมัยรัชกาลที่ 3 เจ้าอนุวงศ์ ฉวยโอกาสที่เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) นำกองทหารไปราชการต่างเมือง ยกทัพลาวมายึดครองเมืองนครราชสีมา และส่งกองทหารไปกวาดต้อนครอบครัวลาวถึงเขตเมืองสระบุรีก่อนที่จะถอยทัพเมื่อกองทัพสยามจากพระนครเริ่มรวมพลได้ทัน เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2369 ก่อนกองทัพลาวจะถอยทัพออกจากเมืองนครราชสีมา ไปยังทางเหนือเพื่อสมทบกับกองทัพของเจ้าสุทธิสาร โดยก่อนไป ได้ถอนเสาหลักเมืองออกเพื่อให้เป็นเมืองร้าง และเจ้าอนุวงศ์ได้สั่งการให้ทหารกองหลังรื้อกำแพงเมืองออก เผาประตูเมือง และสถานที่สำคัญๆในเมืองให้หมดสิ้น ให้ตัดต้นไม้ที่ให้ผลให้เหลือแต่ตอ ด้วยที่จะได้กลับมายึดเมืองนครราชสีมาได้สะดวกในภายหลัง ทำให้ต้นไม้ผลถูกตัดหมดสิ้น กำแพงเมืองจากมุมทิศอิสานและกำแพงเมืองด้านทิศตะวันออกถูกรื้อออกหมด กำแพงเมืองทางทิศใต้ถูกรื้อมาถึงด้านหลังวัดสระแก้ว ส่วนกำแพงเมืองจากมุมทิศอิสานและกำแพงเมืองทางทิศเหนือถูกรื้อ กำแพงเมืองด้านทิศตะวันตกถูกรื้อออก 1 ส่วนเหลือ 2 ส่วน ประตูเมืองถูกเผาบางส่วน 3 ประตูคือ ประตูเมืองทางทิศตะวันเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันออก ชาวเมืองนครราชสีมาผู้เฒ่าผู้แก่ที่ไม่ได้ถูกกวาดต้อน ได้รับข่าวว่ากองทัพจากพระนครที่ส่งกำลังมาช่วยเหลือ กำลังจะเดินทัพมามาถึงทุ่งโพธิ์เตี้ยห่างจากเมืองนครราชสีมา 10 กม. ในอีกไม่นาน ทำให้กำลังทหารลาวกองหลังของเจ้าอนุวงศ์ที่กำลังทำรื้อกำแพง และเผาทำลายเมืองนครราชสีมาอยู่นั้น เกิดความหวาดกลัวและถอยทัพออกไป ทำให้เมืองนครราชสีมาถูกเผาทำลายลงไปเพียงบางส่วน ส่วนชาวเมืองนครราชสีมาที่ถูกกวาดต้อนไปนั้น ได้รวมตัวกันต่อต้านกองทัพลาวของเจ้าอนุวงศ์ โดยมีพระยาปลัดนครราชสีมา พระยายกกระบัตร และ พระณรงค์สงคราม (มี) เป็นผู้นำในการรบ ณ ทุ่งสัมฤทธิ และผู้นำในการสนับสนุนช่วยเหลือการรบ คือ คุณหญิงโม ภริยาปลัดเมืองนครราชสีมา และนางสาวบุญเหลือ บุตรบุญธรรมคุณหญิงโม ต่อมากองทัพชาวนครราชสีมาได้ร่วมกับกองทัพหลวงของกรมพระราชวังบวรฯ ในการรบครั้งต่อๆมาจนกระทั่งเข้ายึดเมืองเวียงจันทน์ได้ในที่สุด ภายหลัง คุณหญิงโมได้รับการแต่งตั้งเป็นท้าวสุรนารี และ พระณรงค์สงครามได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพระยาณรงค์สงคราม ในการสงครามเจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) และพระยาณรงค์สงคราม ได้เป็นทัพหน้าของกองทัพที่นำโดยเจ้าพระยาบดินทรเดชานำพลชาวนครราชสีมาทำการรบอย่างกล้าหาญในสงครามกับเวียดนาม และสามารถรุกไปถึงเขตแดนเมืองไซ่ง่อน ก่อนที่จะต้องถอยทัพเนื่องจากกองทัพไทยพ่ายแพ้ในแนวรบด้านอื่น ต่อมาพระยาณรงค์สงคราม ได้เป็นนายทัพสำคัญในกองทัพของเจ้าพระยาบดินทรเดชา จนสิ้นสุดสงคราม เมื่อ เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) ถึงแก่กรรม พระพรหมบริรักษ์ (เกษ) บุตรชายคนโตของเจ้าพระยาบดินทรเดชาได้รับการแต่งตั้งให้เป็น เจ้าเมืองนครราชสีมาคนต่อมา เมื่อว่างเว้นจากสงคราม เมืองโคราชได้ฟื้นตัวขึ้นใหม่กลายเป็นชุมทาง การค้าที่สำคัญ ในการติดต่อระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับภาคกลาง มีกองเกวียน กองคาราวานการค้า ขนาดใหญ่ผ่าน และ หยุดพักอยู่เสมอ ในสมัยรัชกาลที่ 4 บาทหลวงปาลเลกัวซ์ ได้เขียนว่า ตัวเมืองโคราชล้อมรอบด้วยกำแพงตั้งอยู่บนที่ราบสูง เดินทางจากบางกอกใช้เวลา 6 วันโดยไต่ระดับสูงขึ้นไปตามเส้นทาง ดงพญาไฟ ประชากรโคราชมีประมาณ 60,000 คน ครึ่งหนึ่งเป็นคนสยาม อีกครึ่งหนึ่งเป็นคนเขมร ในตัวเมืองมีประชากร 7,000 คน มีคนจีนประมาณ 700 คน มีเหมืองแร่ทองแดง มีโรงหีบอ้อย สินค้า คือ ข้าว งาช้าง หนังสัตว์ เขาสัตว์ ไม้เต็ง อบเชย ในรัชกาลนี้ เจ้าพระยานครราชสีมา (เกษ) ได้เลื่อนเป็น เจ้าพระยามุขมนตรี (เกษ) และ เจ้าเมืองนครราชสีมาคนต่อมาคือ พระยานครราชสีมา (แก้ว) บุตรชายคนรองของเจ้าพระยาบดินทรเดชา หลังจากนั้น พระยานครราชสีมา (แก้ว) ได้เลื่อนเป็น เจ้าพระยายมราช (แก้ว) และ เจ้าเมืองคนต่อมาคือ พระยานครราชสีมา (เมฆ) บุตรชายคนโตของ เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระยานครราชสีมา (เมฆ) บุตรของ เจ้าพระยานครราชสีมา (ทองอิน) ได้เป็นแม่ทัพบกไปปราบจีนฮ่อที่เมืองหนองคาย ต่อมาเมื่อมีการจัดตั้งมณฑลนครราชสีมาเพื่อควบคุมดูแลหัวเมืองในบริเวณใกล้เคียง เป็นมณฑลแรกของประเทศ มีพระยานครราชสีมา (กาจ สิงหเสนี) บุตรเขยของพระยานครราชสีมา (เมฆ) เป็นผู้ว่าราชการคนแรก มีการจัดตั้งกองทหารประจำมณฑลตามหลักสากล มีการตั้งโรงเรียนนายร้อยตำรวจที่นครราชสีมา มีการสร้างทางรถไฟจากกรุงเทพฯ ผ่านอยุธยา สระบุรี ดงพญาไฟ ไปสู่นครราชสีมา จนเปิดการเดินรถไฟหลวง สายกรุงเทพ - นครราชสีมา ได้สำเร็จ การคมนาคมติดต่อสะดวกขึ้นเป็นอย่างมาก ในช่วงเดียวกันฝรั่งเศสได้เข้ามามีอำนาจเหนือคาบสมุทรอินโดจีน ทำให้สยามจำต้องเร่งการปรับปรุงพัฒนาราชอาณาจักรโดยเฉพาะในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีการจัดตั้งการขนส่งปรษณียภัณฑ์ทางอากาศ และ สายการบินระหว่าง กรุงเทพ - นครราชสีมา มีการขยายเส้นทางรถไฟสายอีสาน จนสามารถขยายเส้นทางการเดินรถไฟจาก นครราชสีมา ถึง ขอนแก่น และ นครราชสีมา ถึง อุบลราชธานี ได้สำเร็จในสมัยรัชกาลที่ 7ยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง. ในช่วงหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระองค์เจ้าบวรเดช ได้รวบรวมกองกำลังทหารจากมณฑลนครราชสีมาเป็นหลัก ร่วมกับ พันเอกพระยาศรีสิทธิ์สงคราม เพื่อทำการต่อสู้กับคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครอง คณะผู้ก่อการได้ยกกองกำลังเข้ามาล้อมกรุงเทพฯ แต่เมื่อการต่อสู้ยืดเยื้อในที่สุดก็ต้องถอยทัพและประสบความพ่ายแพ้เนื่องจากมีกำลังที่น้อยกว่า เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้ พันโทหลวงพิบูลสงครามผู้บัญชาการกองกำลังผสมฝ่ายรัฐบาล มีอำนาจในการควบคุมกำลังทหารมากขึ้นส่งผลให้ได้อำนาจทางการเมืองและจัดตั้งรัฐบาลทหารได้ในเวลาต่อมา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง กองทหารในสังกัด มณฑลทหารบกที่ 3 นครราชสีมา ได้ทำการร่วมรบในกรณีพิพาทอินโดจีน กองทัพไทยสามารถยึดดินแดนกลับคืนมาบางส่วน เป็นการชั่วคราว หลังสงครามยุติสหรัฐอเมริกาได้ให้ความช่วยเหลือสร้างถนนมิตรภาพ จาก สระบุรี ถึง นครราชสีมา ซึ่งเป็นทางหลวงที่ได้มาตรฐานดีที่สุดของประเทศในขณะนั้น ในช่วงสงครามเวียดนาม สหรัฐอเมริกาได้ขอใช้นครราชสีมาเป็นฐานบัญชาการการรบ มีการสร้างฐานบินโคราช และต่อมาไทยได้เปลี่ยนให้เป็น กองบิน 1 ซึ่งเป็นฐานกำลังรบทางอากาศหลักของกองทัพอากาศไทยในปัจจุบัน โดยมีมีเครื่องบิน F-16 ประจำการอยู่สองฝูงบิน ในปี พ.ศ. 2523 มีความพยายามรัฐประหารโดยกลุ่มทหารของ พลเอกสัณห์ จิตรปฏิมา แต่ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์นายกรัฐมนตรี ได้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระราชวงศ์ทรงแปรพระราชฐานไปประทับที่นครราชสีมา กองกำลังทหารจากกองทัพภาคที่ 2 นำโดยพลตรี อาทิตย์ กำลังเอกได้เป็นกองกำลังหลักในการปราบกบฏลงได้ในที่สุด หลังจากนั้น อดีตผู้บัญชาการกองทัพภาคที่ 2 หลายท่านได้ก้าวเข้าสู่ตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกในเวลาต่อมา เนื่องจากความสำคัญทางยุทธศาสตร์ ปัจจุบัน นครราชสีมา จึงได้กลายเป็นเมืองศูนย์กลางการรบที่สำคัญรองจากกรุงเทพมหานคร เป็นประตูสู่อิสาน เป็นศูนย์กลางการคมนาคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งเป็นที่ตั้งของกองฐานกำลังรบหลักของกองทัพบก และกองทัพอากาศในปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2553 ได้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในจังหวัดนครราชสีมา เนื่องจากฝนช่วงปลายฤดูตกหนักในบริเวณต้นแม่น้ำมูล นับเป็นอุทกภัยครั้งร้ายแรงที่สุดในรอบ 50 ปีภูมิศาสตร์ภูมิประเทศ ภูมิศาสตร์. ภูมิประเทศ. จังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่บนที่ราบสูงโคราช ห่างจากกรุงเทพ 259 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 20,493.964 ตารางกิโลเมตร (12,808,728 ไร่) เป็นพื้นที่ป่าไม้ 2,297,735 ไร่ โดยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติคืออุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และอุทยานแห่งชาติทับลานร้อยละ 61.4 และเป็นแหล่งน้ำ 280,313 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดชัยภูมิ และขอนแก่น ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดปราจีนบุรี นครนายก และสระแก้ว ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดบุรีรัมย์ และทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดสระบุรี ชัยภูมิ และลพบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางระหว่าง 150-300 เมตร มีเทือกเขาสันกำแพง และเทือกเขาพนมดงรัก เป็นแนวยาวทางด้านทิศใต้และทิศตะวันตก ส่วนบริเวณตอนล่างค่อนไปทางเหนือและตะวันออกเป็นที่ราบลุ่ม โดยมีลำตะคองและลำน้ำสาขาอื่น ๆ ไหลหล่อเลี้ยงบริเวณด้านเหนือของเมือง และ เป็นสาขาหนึ่งของแม่น้ำสำคัญคือแม่น้ำมูลซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือภูมิอากาศ ภูมิอากาศ. สภาพภูมิอากาศของจังหวัดนครราชสีมาจัดอยู่ในประเภททุ่งหญ้าเขตร้อน มีลมมรสุมหลักพัดผ่านคือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้อากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง กับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้มีอากาศชุ่มชื้นและมีฝนตกชุก โดยทั่วไปสามารถแบ่งฤดูกาลออกได้เป็น 3 ฤดู คือ ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม มีฝนตกชุก ตั้งแต่เดือนเมษายนจนถึงเดือนตุลาคม โดยมีปริมาณน้ำฝนสูงสุดในเดือนตุลาคม ฤดูหนาว สภาพอากาศจะเริ่มเปลี่ยนจากฤดูฝนไปสู่ฤดูหนาวตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ระยะนี้ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นลมหนาวและแห้งพัดจากประเทศจีน และฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ ถึงกลางเดือนพฤษภาคม เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดนครราชสีมาเป็นพื้นที่ราบสูง มีป่าและทิวเขาสูงกั้นเขตแดนเป็นแนวยาว อากาศจึงค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน และในฤดูหนาวก็ค่อนข้างหนาวเย็นโดยอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปีประมาณ 27.4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 22.7 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 33 อาศาเซลเซียส มีค่าความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดทั้งปี 71 % ความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดเฉลี่ย 89% ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำสุดเฉลี่ย 49 %ข้อมูลการปกครองการปกครองส่วนภูมิภาค ข้อมูลการปกครอง. การปกครองส่วนภูมิภาค. แบ่งปกครองแบ่งออกเป็น 32 อำเภอ 289 ตำบล 3,743 หมู่บ้าน เนื้อที่รวม 20,493.968 ตารางกิโลเมตรการปกครองส่วนท้องถิ่น การปกครองส่วนท้องถิ่น. มีจำนวนทั้งสิ้น 334 แห่ง แบ่งออกเป็น เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 4 แห่ง เทศบาลตำบล 85 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนตำบล 243 แห่ง โดยเทศบาลสามารถจำแนกได้ตามพื้นที่ดังนี้รายนามผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมาเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ. โครงสร้างเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดนครราชสีมามีโครงสร้างที่สำคัญ ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร และการค้าส่งค้าปลีก ซึ่งมีอัตราสัดส่วนโครงสร้างร้อยละ 22.46, 19.82 และ 14.91 ตามลำดับ ในภาคการเกษตร จังหวัดมีพื้นที่เกษตรกรรมทั้งสิ้น 8,931,032 ไร่ แบ่งเป็น ปลูกข้าว จำนวน 4,329,724 ไร่ พืชไร่จำพวกข้าวโพด มันสำปะหลัง ปอ ฝ้าย และข้าวฟ่าง จำนวน 3,793,602 ไร่ และปลูกพืชสวน 632,170 ไร่ มีครัวเรือนเกษตรกรรวมทั้งสิ้น 326,587 ครัวเรือน โดยมีพืชเศรษฐกิจ 3 อันดับแรก คือ ข้าว มันสำปะหลัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงสัตว์ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด การเลี้ยงไหมโดยเฉพาะที่อำเภอปักธงชัยเป็นแหล่งผ้าไหมที่ขึ้นชื่อ อาชีพการทำป่าไม้ และการประมงน้ำจืดตามลุ่มน้ำ ในภาคอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2553 จังหวัดนครราชสีมามีโรงงานทั้งสิ้น 2,398 โรงงาน มีมูลค่าการลงทุน ประมาณ 119 ล้านบาท ซึ่งโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมการเกษตรมีสัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ 18.84 อุตสาหกรรมขนส่งเฉลี่ยร้อยละ 12.27 อุตสาหกรรมอโลหะเฉลี่ยร้อยละ 11.38 และอุตสาหกรรมอาหารเฉลี่ยร้อยละ 10.02 สำหรับอุตสาหกรรมเหมืองแร่ มีแร่ที่สำคัญคือ หินบะซอลต์ หินปูน และ เกลือหิน โดยเฉพาะเกลือหิน พบมากในตอนเหนือและตอนกลางของจังหวัด ปี พ.ศ. 2557 (2014) มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product - GPP) เท่ากับ 245,248 ล้านบาท อยู่ในลำดับที่ 1 ของภาตตะวันออกเฉียงเหนือ ลำดับที่ 10 ของประเทศ และ ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อคน (GPP per capita) เท่ากับ 97,963 บาท เป็นอันดับ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และอันดับ 37 ของประเทศ ในปี พ.ศ. 2558 (year 2015) จังหวัดนครราชสีมามีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product - GPP) เท่ากับ 264,964 ล้านบาท อยู่ในลำดับที่ 1 ของภาตตะวันออกเฉียงเหนือ ลำดับที่ 10 ของประเทศ และ ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อคน (GPP per capita) เท่ากับ 106,000 บาท อยู่ในลำดับที่ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลำดับที่ 32 ของประเทศ ภาคการเงินการธนาคาร จังหวัดนครราชสีมามีจำนวนสำนักงานของธนาคารทั้งสิ้น 187 สำนักงาน(มีนาคม พ.ศ. 2560) เงินรับฝากรวมทุกประเภท (มีนาคม พ.ศ. 2557) ทั้งสิ้น 115,893 ล้านบาท และ เงินให้สินเชื่อรวมทุกประเภท (มี.ค.2557) ทั้งสิ้น 123,798 ล้านบาทนิคมอุตสาหกรรมนิคมอุตสาหกรรม. - นิคมอุตสาหกรรมนวนคร 2 นครรราชสีมา - เขตอุตสาหกรรมสุรนารี - นิคมอุตสาหกรรมสูงเนิน (โครงการ) ประชากรศาสตร์ชาติพันธุ์ ประชากรศาสตร์. ชาติพันธุ์. ปัจจุบันจังหวัดนครราชสีมามีประชากรมากเป็นอันดับหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมากเป็นอันดับสองของประเทศรองจากกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติหรือหลายชาติพันธุ์ แต่กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดนครราชสีมาที่มีจำนวนมากมีอยู่สองกลุ่มใหญ่คือ ไทย (หรือเรียกอีกอย่างว่า ไทโคราช) และอีกกลุ่มคือชาวลาว (ตอนบนและด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเขตจังหวัด) และมีชนกลุ่มน้อยอีกได้แก่ มอญ กุย (หรือส่วย) ชาวบน จีน ไทยวน ญวน และแขกไทโคราช ไทโคราช. กลุ่มชาติพันธุ์ไทยที่อยู่ในนครราชสีมาเรียกอีกอย่างว่า ไทโคราช เป็นคนกลุ่มใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครราชสีมา คนกลุ่มนี้ใช้ภาษาคล้ายคนไทยภาคกลาง เพียงแต่เสียงวรรณยุกต์เพี้ยนไปบ้าง และมีคำศัพท์สำนวนบางอย่างที่มีลักษณะเป็นของตนเอง เดิมถิ่นนี้ชาวพื้นเมืองเป็นละว้า ชาวไทยภาคกลางได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัย สมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทองให้ขุนหลวงพะงั่วยกกองทัพมารวบรวมดินแดนแถบนี้เข้ากับกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทองโปรดฯให้กองทหารอยุธยาตั้งด่านอยู่ประจำ และส่งช่างชาวอยุธยามาก่อสร้างบ้านเรือนและวัดวาอารามเป็นอันมาก ชาวไทยอยุธยาได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัยเพิ่มขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และได้อพยพมาอยู่นครราชสีมาอีกระลอกหนึ่งคือ คราวเสียกรุงครั้งที่2 โดยมีชาวไทยชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกได้อพยพเข้ามาเพิ่มด้วย ชาวไทยกลุ่มนี้และชาวไทยพื้นเมืองเดิม (เข้าใจว่าเป็นชาวสยามลุ่มน้ำมูล) สืบเชื้อสายเป็นชาวไทยโคราชและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีสืบทอดกันมา กลุ่มไทโคราชเป็นกลุ่มที่แสดงเอกลักษณ์ของเมืองนครราชสีมา เพราะสำเนียงแตกต่างจากกลุ่มอื่น เป็นกลุ่มที่พูดภาษาไทยโคราชซึ่งคล้ายคลึงภาษาไทยกลางแต่สำเนียงเพี้ยน เหน่อ ห้วนสั้น เกิ่นเสียง มีคำไทยลาว (อีสาน) ปะปนบ้างเล็กน้อย ชาวไทยโคราชแต่งกายแบบไทยภาคกลาง รับประทานข้าวเจ้า อาหารทั่วไปคล้ายคลึงภาคกลาง ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมคล้ายไทยภาคกลาง ปัจจุบัน กลุ่มไทยโคราชอาศัยอยู่ในทุกอำเภอในจังหวัดนครราชสีมา ยกเว้นบางอำเภอที่มีชาวไทยอีสานมากกว่า (อำเภอบัวใหญ่ ปักธงชัย และสูงเนิน) และยังพบชาวไทยโคราชในบางส่วนของจังหวัดสระบุรี จังหวัดลพบุรี จังหวัดชัยภูมิ (อำเภอบำเหน็จณรงค์และจัตุรัส) และจังหวัดบุรีรัมย์ (อำเภอเมืองบุรีรัมย์ นางรอง และหนองกี่)ชาวไทอีสาน ชาวไทอีสาน. ชาวไทอีสานเป็นกลุ่มหนึ่งที่มีจำนวนประชากรมากรองจากกลุ่มไทโคราช อาศัยอยู่มากในบางอำเภอของจังหวัดนครราชสีมา เช่น อำเภอบัวใหญ่ อำเภอบัวลาย อำเภอสีดา อำเภอแก้งสนามนาง อำเภอประทาย อำเภอโนนแดง อำเภอบ้านเหลื่อม อำเภอเมืองยาง อำเภอลำทะเมนชัย อำเภอปักธงชัย อำเภอสูงเนิน และบางส่วนของอำเภอคง อำเภอห้วยแถลง อำเภอชุมพวง อำเภอครบุรี อำเภอเสิงสาง และอำเภอสีคิ้ว เป็นต้น ชาวไทยอีสานพูดภาษาอีสานท้องถิ่นคล้ายกับจังหวัดอื่นๆในภาคอีสาน และมีขนบธรรมเนียมประเพณีเหมือนชาวอีสานทั่วไป กลุ่มชาวไทยอีสานอพยพเข้ามาอยู่ในจังหวัดนครราชสีมาหลายรุ่นตามความเจริญของเศรษฐกิจ ในบางข้อสันนิฐานให้ข้อมูลว่า เดิมชาวโคราชพูดภาษากลางแบบชาวสยาม และมีชาวไทยอีสานอพยพเข้ามาอยู่ปะปนกัน จึงเกิดการผสมผสานเป็นภาษาไทโคราช แต่อย่างไรก็ดีชาวไทยอีสานดั้งเดิมมีถิ่นอาศัยอยู่ในภาคอีสานมานานแล้ว มิได้อพยพมาจากฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง มีความพัวพันกับอาณาจักรไทยในอดีต เช่น โคตรบูรณ์ ศรีจะนาศะ ซึ่งเป็นอาณาจักรของศาสนาพุทธ มิใช่พราหม-ฮินดู แบบจักรวรรดิ์เขมร กล่าวได้ว่าชาวไทยอีสานเป็นชนพื้นเมืองเดิมของภาคอีสานมาช้านานแล้วชาวไทยเชื้อสายลาว ชาวไทยเชื้อสายลาว. อพยพเข้ามาอยู่สมัยสงครามปราบปรามเมืองเวียงจันทน์ในสมัยกรุงธนบุรี และสมัยปราบเจ้าอนุวงศ์ในรัชกาลที่3 มีการกวาดต้อนครอบครัวลาวเข้ามาอยู่ในหัวเมืองชั้นในหลายครั้ง และมีการอพยพเข้ามาโดยสมัครใจเพิ่มขึ้นในระยะหลัง คนกลุ่มที่นี้มักเรียกกันว่า "ลาวเวียง" มีการใช้ภาษาลาวสำเนียงเวียงจันทน์ซึ่งต่างกับภาษาอีสานสำเนียงท้องถิ่นอย่างสิ้นเชิง กระจายอาศัยกันอยู่ทั่วไปในจังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันสืบหาแทบไม่ได้แล้วเนื่อจากการเทครัวมีมานับ200ปีและมีการแต่งงานกับคนพื้นเมือง มีจำนวนน้อยที่สืบหาได้ว่ามีเชื้อสาวลาวเวียงจันทน์ตามคำบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ เช่น การเก็บรักษาผ้าซิ่นแต่เดิมไว้ และข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ เนื่องจากชาวลาวเวียงจันทน์อพยพมาจากเมืองที่มีวัฒนธรรมสูง มักจะมีของมีค่าติดตัวมาด้วย เช่น ผ้าซิ่น ข้าวของเครื่องใช้ รวมถึงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบชาวเวียงจันทน์ที่ยังสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ชาลาวเวียงจันทน์อพยพมากที่สุดในสมัยรัชกาลที่3เนื่องจากมีการทำสงครามกับเวียงจันทน์หลายครั้ง และเป็นครั้งใหญ่ที่ทำลายนครเวียงจันทน์อย่างราบคราบ จึงทำให้ชาวลาวเวียงจันทน์ถูกเกณฑ์เป็นเชลยจำนวนมาก โดยหัวเมืองใหญ่อย่างนครราชสีมารับชาวเชลยไว้เป็นจำหนึ่ง ส่วนที่เหลือกระจายไปตามหัวเมืองต่างๆในภาคกลางมอญ มอญ. จากการสำรวจสำมะโนประชากรของจังหวัดนครราชสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2446 ในสมัยรัชกาลที่ 5 พบว่า มีชาวมอญอยู่จำนวน 2,249 คน จากจำนวนประชากรของนครราชสีมา 402,668 คน ชาวมอญอพยพเข้ามาอยู่บริเวณเมืองนครราชสีมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2318 ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระราชทานครัวมอญที่อพยพเข้ามาสวามิภักดิ์ มีเจ้าพระยามหาโยธา (พญาเจ่ง) ต้นสกุล "คชเสนี" เป็นหัวหน้า แบ่งให้พระยานครราชสีมานำขึ้นมาอยู่ที่เมืองนครราชสีมา ตั้งครัวมอญที่ลำพระเพลิง เขตอำเภอปักธงชัยที่บ้านพลับพลา อำเภอโชคชัย พระยาศรีราชรามัญผู้เป็นหัวหน้าพาญาติพี่น้องมาอยู่ในเมืองเป็นสายกองส่วยทอง ตั้งบ้านเรือนเรียกว่าบ้านมอญ เมื่อเกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์ เมื่อปี พ.ศ. 2336 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี) คุมกองมอญมาสมทบมาร่วมรบกับกำลังฝ่ายไทย เมื่อเสร็จศึกแล้วพวกมอญเห็นเมืองปักธงชัยอุดมสมบูรณ์จึงมาตั้งถิ่นฐาน ปัจจุบันชาวมอญในนครราชสีมายังรักษาวัฒนธรรมประเพณีมอญไว้ เช่น ภาษา การไหว้ผี การเล่นสะบ้าในเขตบ้านท่าโพธิ บ้านสำราญเพลิง ตำบลนกออก อำเภอปักธงชัย ประกอบอาชีพทำนา ทำสวน ทำเครื่องปั้นดินเผา ภาษามอญจะใช้พูดในชาวไทยมอญที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป คนรุ่นหลังจากนี้จะพูดภาษาไทยโคราชทั้งสิ้นส่วย ส่วย. ส่วย หรือ ข่า เป็นชนพื้นเมืองของหัวเมืองเขมรป่าดงและเมืองนครราชสีมา พูดภาษาตระกูลมอญ-เขมร ได้อยู่ในพื้นที่นี้ก่อนที่คนไทยจะเข้ามามีอิทธิพลเหนือดินแดนบริเวณลุ่มแม่น้ำมูลตอนบน เมื่อปี พ.ศ. 2362 เจ้าเมืองนครราชสีมา (ทองอินทร์) ตีข่าได้ แล้วนำมายังเมืองนครราชสีมา ภาษาส่วย เป็นภาษาของชาวส่วยที่อพยพมาจากจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดบุรีรัมย์ ที่มาตั้งหลักแหล่งอยู่ที่ ตำบลห้วยแถลง อำเภอห้วยแถลง ปัจจุบันมีเฉพาะผู้ที่อายุเกิน 40 ปีขึ้นไป ที่ยังคงใช้ภาษาส่วยในกลุ่มของตนเอง นอกจากนั้นจะใช้ภาษาไทยโคราชเป็นพื้นญัฮกุร ญัฮกุร. ญัฮกุร หรือ เนียะกุล เป็นชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ตามไหล่เขาหรือเนินเขาเตี้ย ๆ บริเวณด้านในของที่ราบสูงโคราช ชาวบนอาจสืบเชื้อสายมาจากคนในสมัยทวารวดี อยู่ในบางหมู่บ้านของอำเภอปักธงชัย อำเภอครบุรี และอำเภอหนองบุญมาก ภาษาชาวบน เป็นภาษาตระกูลมอญ-เขมร ปัจจุบันชาวบนพูดภาษาชาวบนเฉพาะผู้ที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป นอกจากนั้นใช้ภาษาไทยโคราชไทยวน ไทยวน. ไทยวน หรือ ไทยโยนก เป็นเผ่าไทยในภาคเหนือของไทย ได้อพยพเข้ามาอยู่ที่อำเภอสีคิ้วสองทางด้วยกันคือ พวกแรกอพยพจากทางเหนือมาอยู่ที่อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ต่อมาเจ้าเมืองสระบุรีต้องการตั้งกองเลี้ยงโคนมที่เมืองนครจันทึก จึงได้แบ่งครอบครัวชาวไทยวนจากอำเภอเสาไห้ไปอยู่ที่อำเภอสีคิ้ว ส่วนอีกพวกหนึ่งอพยพมาจากเวียงจันทน์ ชาวไทยวนยังรักษาประเพณีและวัฒนธรรมแบบโยนกไว้ได้ดีมาก ภาษาไทยวน ใช้พูดในหมู่ไทยวนด้วยกันเองซึ่งมีอยู่ประมาณ 5,000 คน ในเขตอำเภอสีคิ้ว ในท้องที่ตำบลลาดบัวขาว ตำบลสีคิ้ว และตำบลบ้านหัน นอกจากนี้ยังมีกลุ่มเชื้อสาย ชาวจีน, ชาวเวียดนาม, และแขก(อินเดีย, บังคลาเทศ, ปากีสถาน ฯลฯ)การศึกษา การศึกษา. จังหวัดนครราชสีมามีสถาบันการศึกษาหลายแห่ง โดยแบ่งเป็นระดับประถมศึกษา ทั้งหมด 7 เขต และมัธยมศึกษา 1 เขต (ไม่รวมสังกัด อปท.)การแบ่งเขตพื้นที่มัธยมศึกษาการแบ่งเขตพื้นที่มัธยมศึกษา. - สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 - ครอบคลุมโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา 50 แห่ง - สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา - ครอบคลุมโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา 59 แห่งการแบ่งเขตพื้นที่ประถมศึกษา การแบ่งเขตพื้นที่ประถมศึกษา. แบ่งเป็นระดับประถมศึกษา ทั้งหมด 7 เขต- เขต 1 - อำเภอเมืองนครราชสีมาและอำเภอโนนสูง - เขต 2 - อำเภอจักราช อำเภอหนองบุญมาก อำเภอห้วยแถลง อำเภอเฉลิมพระเกียรติและอำเภอโชคชัย - เขต 3 - อำเภอปักธงชัย อำเภอครบุรี อำเภอเสิงสาง และอำเภอวังน้ำเขียว - เขต 4 - อำเภอสีคิ้ว อำเภอสูงเนินและอำเภอปากช่อง - เขต 5 - อำเภอเทพารักษ์ อำเภอพระทองคำ อำเภอขามสะแกแสง อำเภอขามทะเลสอ อำเภอโนนไทยและอำเภอด่านขุนทด - เขต 6 - อำเภอสีดา อำเภอบัวลาย อำเภอบ้านเหลื่อม อำเภอแก้งสนามนาง อำเภอคงและอำเภอบัวใหญ่ - เขต 7 - อำเภอประทาย อำเภอเมืองยาง อำเภอชุมพวง อำเภอลำทะเมนชัย อำเภอพิมายและอำเภอโนนแดงโรงเรียนโรงเรียน. - โรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัด: โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย - โรงเรียนสตรีประจำจังหวัด: โรงเรียนสุรนารีวิทยา - โรงเรียนสหศึกษาประจำจังหวัด: โรงเรียนบุญวัฒนา - โรงเรียนสหศึกษาประจำจังหวัด: โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์สถาบันอุดมศึกษาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสถาบันอุดมศึกษา. สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (ศูนย์กลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา) - มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา - มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย และศูนย์การศึกษาโคราช - สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า สีคิ้ว) - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (วนศ.นครราชสีมา) - วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. - มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล - วิทยาลัยนครราชสีมา - วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์ - สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน ศูนย์การเรียนรู้จังหวัดนครราชสีมา - วิทยาลัยพิชญบัณฑิต นครราชสีมา - วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ วิทยาเขตนครราชสีมาสถาบันอาชีวศึกษาสถาบันการอาชีวศึกษาของรัฐสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 สถาบันอาชีวศึกษา. สถาบันการอาชีวศึกษาของรัฐ. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 ประกอบด้วยวิทยาลัยในสังกัด 9 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา,วิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมา,วิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ, วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี,วิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิ,วิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์,วิทยาลัยเทคนิคคูเมือง,วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร์ และวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ มีที่ตั้งสำนักงานสถาบัน(ชั่วคราว) อยู่ภายในวิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ เป็น 1ในสถาบันการอาชีวศึกษา 19 สถาบัน ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวงการรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 สำหรับวิทยาลัยในสังกัดในจังหวัดนครราชสีมา ได้แก่- วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา เปิดสอนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ-ปริญญาตรี (สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ) - วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี อ.โชคชัย - วิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ อ.ด่านขุนทด - วิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมา - วิทยาลัยเทคนิคพิมาย (การอาชีพพิมายเดิม)วิทยาลัยอาชีวศึกษาอื่น ๆวิทยาลัยอาชีวศึกษาอื่น ๆ. - วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา - วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยีนครราชสีมา อ.สีคิ้ว - วิทยาลัยเทคนิคปักธงชัย - วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวนครราชสีมา (NR-CBAT) เปิดสอนระดับ ปวช.-ปวส. ในด้านบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมท่องเที่ยว - วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง - วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง วิทยาเขตสูงเนิน - วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ - วิทยาลัยการอาชีพชุมพวงสถาบันอาชีวศึกษา (เอกชน)สถาบันอาชีวศึกษา (เอกชน). - วิทยาลัยเทคโนโลยีชนะพลขันธ์ นครราชสีมา - วิทยาลัยเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา - วิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึษานครราชสีมา - โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - วิทยาลัยอาชีวศึกษาเมรี่เทคโนโลยี - วิทยาลัยเทคโนโลยีมารีย์บริหารธุรกิจ นครราชสีมา (สถาบันในเครือมารีย์วิทยา) - โรงเรียนเทคโนสุระ - บัวใหญ่เทคโนโลยีพณิชยการ - วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการปากช่อง - วิทยาลัยเทคโนโลยีสายมิตร นครราชสีมา - โรงเรียนกุสุมภ์เทคโนโลยีวิทยาลัยเฉพาะทางวิทยาลัยเฉพาะทาง. - วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา เปิดสอนหลักสูตรนาฏศิลป์ชั้นต้น กลาง และสูงสถาบันวิจัยสถาบันวิจัย. - สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) - ศูนย์วิจัยข้าวโพดข้าวฟ่างแห่งชาติการสาธารณสุขการสาธารณสุข. - โรงพยาบาลศูนย์- โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา (1,619 เตียง) เป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข- โรงพยาบาลทั่วไป- โรงพยาบาลปากช่องนานา (300 เตียง) - โรงพยาบาลบัวใหญ่ (268 เตียง) - โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา (200 เตียง) - โรงพยาบาลพิมาย (144 เตียง)- โรงพยาบาลชุมชน - โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย- โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (608 เตียง)- โรงพยาบาลทหาร- โรงพยาบาลค่ายสุรนารี (420 เตียง) - โรงพยาบาลกองบิน 1 (50 เตียง)- โรงพยาบาลเอกชน - โรงพยาบาลเฉพาะทาง- โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ (300 เตียง)- อื่นๆ- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 5 กรมอนามัย (60 เตียง)การคมนาคมทางอากาศ การคมนาคม. ทางอากาศ. -วันที่ 2 กันยายน 2554 ที่ท่าอากาศยานนครราชสีมา อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา บริษัท Thai Regional Aviation จำกัด ได้ทำการเปิดเที่ยวบิน สุวรรณภูมิ-โคราช-สุวรรณภูมิ บริษัทเลือกใช้เครื่องบินรุ่น Piper Navajo Chieftain ซึ่งเป็นเครื่องบินที่ได้รับความนิยมสูง และ มีความปลอดภัยจากประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้เวลาในการเดินทาง 40 นาที -วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 สายการบิน กานต์แอร์ ได้ทำการเปิดเที่ยวบิน จาก ท่าอากาศยานเชียงใหม่ - ท่าอากาศยานนครราชสีมา โดยทำการบิน 4 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ ( จันทร์,พุธ,พฤหัสบดี,เสาร์ ) โดยใช้เครื่องบินรุ่น ATR-72 (ปัจจุบันหยุดให้บริการในสายนี้แล้ว) -วันที่ 3 ธันวาคม 2560 สายการบินนิวเจน แอร์เวย์ส เปิดให้บริการเส้นทางบิน นครราชสีมา - เชียงใหม่ และภูเก็ต -วันที่ 21 ธันวาคม 2560 สายการบินนิวเจน แอร์เวย์ส เปิดให้บริการเส้นทางบิน นครราชสีมา - กรุงเทพฯ(ดอนเมือง)รายชื่อสายการบินรถยนต์ รถยนต์. จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางด้วยรถยนต์ มายังจังหวัดนครราชสีมาได้หลายเส้นทาง คือ- เส้นทางผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (พหลโยธิน) ผ่านรังสิต วังน้อย จนถึงจังหวัดสระบุรี ข้ามทางต่างระดับมิตรภาพ ทางทิศตะวันออก ไปยัง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ผ่านอำเภอแก่งคอย มวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี เรื่อยไปจนถึงอำเภอปากช่อง สีคิ้ว สูงเนิน และจังหวัดนครราชสีมา รวมระยะทางประมาณ 256 กิโลเมตร - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 เส้นทางผ่านเขตมีนบุรี อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา อำเภอพนมสารคาม อำเภอกบินทร์บุรี อำเภอวังน้ำเขียว อำเภอปักธงชัย จนถึงจังหวัดนครราชสีมา รวมระยะทางประมาณ 273 กิโลเมตร - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 305 เส้นทางรังสิต-นครนายก ต่อทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 ไปกบินทร์บุรี แล้วแยกเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ผ่านอำเภอวังน้ำเขียว ปักธงชัย เรื่อยไปจนถึงจังหวัดนครราชสีมารถโดยสารประจำทาง รถโดยสารประจำทาง. มีรถโดยสารธรรมดา และ รถปรับอากาศชั้น 1 ชั้น 2 และรถตู้ปรับอากาศ สาย 21 (กรุงเทพฯ - นครราชสีมา) วิ่งให้บริการจาก สถานีขนส่งหมอชิต 2 กรุงเทพฯ มายังจังหวัดนครราชสีมา ทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง โดยมีบริษัทเอกชน ที่ได้รับสัมปทานเปิดบริการเดินรถโดยสารสาย 21 ดังนี้ รถปรับอากาศชั้น 1 รถปรับอากาศชั้น 2 รถตู้ปรับอากาศ (ไม่รับรายทาง) ซึ่งจะให้บริการ รับ-ส่ง ผู้โดยสารที่สถานีขนส่งทั้งสองแห่ง คือ สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 1 (ถนนบุรินทร์) และ สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 2 (ถนนมิตรภาพ-หนองคาย) นอกจากนั้น ยังสามารถที่จะเลือกเดินทางโดยรถโดยสารประจำทางจากกรุงเทพฯ ปลายทางจังหวัดต่าง ๆ ในภาคอีสานที่ผ่านจังหวัดนครราชสีมาได้ การเดินทางภายในเขตเทศบาลและพื้นที่ใกล้เคียง มีขนส่งสาธารณะให้บริการดังนี้คือ ถ้าต้องการเดินทางไปต่างอำเภอ จะมีรถโดยสารประจำทางหมวด 4 ให้บริการไปยังอำเภอต่าง ๆ ในจังหวัดนครราชสีมา หลายสายด้วยกัน สามารถขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่งแห่งที่ 1 ถนนบุรินทร์ มีทั้งประเภทรถสองแถว และ รถบัสโดยสารประจำทางให้บริการ จะมีรถโดยสารไป อำเภอปักธงชัย อำเภอประทาย อำเภอด่านขุนทด อำเภอปากช่อง อำเภอสูงเนิน สำหรับสถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 2 นั้น จะมีรถโดยสาร ไปเฉพาะ อำเภอพิมาย และ ด่านเกวียน, อำเภอโชคชัย มีทั้งรถโดยสารประจำทางธรรมดา และปรับอากาศ หมวด 2 และ 3 จำนวนหลายเส้นทางในจังหวัดต่าง ๆ วิ่งให้บริการผ่านจังหวัดนครราชสีมาที่สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 2 (ถนนมิตรภาพ-หนองคาย) ทุกวัน นอกจากนี้ มีรถโดยสารประจำทาง ให้บริการรับส่งผู้โดยสารจาก ต้นทางจังหวัดนครราชสีมา ไปยังปลายทางจังหวัดอื่น ในภาคต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ในการเดินทางข้ามแดนจากจังหวัดนครราชสีมา ไปยังนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สามารถใช้หลักฐาน คือหนังสือเดินทางคือหนังสือผ่านแดน หรือหนังสือผ่านแดนชั่วคราวโดยมีแนวปฏิบัติและขั้นตอนดังต่อไปนี้ จังหวัดนครราชสีมา มีสถานีขนส่งผู้โดยสารที่ให้บริการแก่ผู้ที่ต้องเดินทางไปยังอำเภอ หรือ จังหวัดต่างๆ ดังนี้ สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 1 ตั้งอยู่เลขที่ 86 ถนนบุรินทร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองฯ มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 7 ไร่ 2 งาน 98 ตารางวา เปิดใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 บริหารจัดการโดยเทศบาลนครนครราชสีมา ใช้เป็นสถานีขนส่งภายในจังหวัดเป็นหลัก และมีรถโดยสารปรับอากาศ สายที่ 21 กรุงเทพฯ – นครราชสีมา ให้บริการ ประกอบไปด้วย ปัจจุบันสถานีขนส่งฯ แห่งที่ 1 มีรถโดยสารประจำทางเข้าใช้บริการเฉลี่ยวันละ 2,000 เที่ยว/วัน หรือประมาณ 730,000 เที่ยว/ปี และมีผู้โดยสารหมุนเวียนเข้าใช้บริการเฉลี่ย 50,000 คน/วัน หรือประมาณ 18,000,000 คน/ปี สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งที่ 2 ตั้งอยู่ที่ ถนนมิตรภาพ-หนองคาย ตำบลในเมือง อำเภอเมืองฯ มีเนื้อที่ 29 ไร่ 50 ตารางวา เป็นสถานีขนส่งฯที่ใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดในจังหวัดนครราชสีมาและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้ง และดำเนินการสถานีขนส่ง คือ บริษัท ไทยสงวนบริการ จำกัด ใช้เป็นสถานีขนส่งผู้โดยสารระหว่างจังหวัดเป็นหลักเส้นทางที่สำคัญคือ สายที่ 21 กรุงเทพฯ – นครราชสีมา ประกอบด้วย ปัจจุบันสถานีขนส่งฯ แห่งที่ 2 มีรถโดยสารประจำทางเข้าใช้บริการเฉลี่ยวันละ 1,300 เที่ยว /วัน หรือประมาณ 470,000 เที่ยว/ปี และมีผู้โดยสารหมุนเวียนเข้าใช้บริการเฉลี่ย 30,000 คน/วัน หรือประมาณ 11,000,000 คน/ปี สถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอโชคชัย ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 12 ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย มีเนื้อที่ 7 ไร่ บริหารจัดการโดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา เปิดดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2539 ประกอบด้วย สถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอโชคชัย มีรถโดยสารประจำทางเข้าใช้บริการวันละประมาณ 210 เที่ยว สถานีขนส่งฯ สามารถรองรับผู้โดยสารได้ประมาณวันละ 2,000 คน /วัน สถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอพิมาย ตั้งอยู่บริเวณตำบลในเมือง อำเภอพิมาย มีเนื้อที่ 6 ไร่ 54 ตารางวา ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้ง และดำเนินการสถานีขนส่งคือ บริษัท ไทยสงวนบริการ จำกัด เปิดดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2538 ประกอบด้วย สถานีขนส่งผู้โดยสารอำเภอพิมาย มีรถโดยสารประจำทางเข้าใช้บริการวันละประมาณ 230 เที่ยว สถานีขนส่งฯ สามารถรองรับผู้โดยสารได้ประมาณวันละ 2,000 คน / วันรถไฟ รถไฟ. มีรถไฟสายภาคตะวันออกเฉียงเหนือกรุงเทพ - อุบลราชธานีและกรุงเทพ - หนองคายทั้งขบวนรถด่วนพิเศษ รถด่วน รถเร็วและรถธรรมดาวิ่งให้บริการจากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ผ่านจังหวัดนครราชสีมาทุกวัน นอกจากนี้ยังมีขบวนรถท้องถิ่นวิ่งให้บริการระหว่างสถานีรถไฟนครราชสีมาไปยังสถานีรถไฟจังหวัดอื่นๆ เช่น สุรินทร์ อุบลราชธานี อุดรธานี หนองคาย และอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรีอีกด้วย สถานีรถไฟนครราชสีมาสร้างขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เป็นสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครราชสีมาและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่ถนนมุขมนตรี อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 264 กิโลเมตรรถไฟความเร็วสูง รถไฟความเร็วสูง. โครงการรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในระหว่างการก่อสร้างเฟสแรก กรุงเทพ - นครราชสีมา (21 ธันวาคม 2560) คาดว่าจะสามารถเปิดให้บริการได้ในปี พ.ศ. 2564- สถานีรถไฟความเร็วสูงปากช่อง - สถานีรถไฟความเร็วสูงนครราชสีมาระยะทางจากอำเภอเมืองไปอำเภอต่างๆระยะทางจากอำเภอเมืองไปอำเภอต่างๆ. - อำเภอเฉลิมพระเกียรติ 24 กิโลเมตร - อำเภอขามทะเลสอ 25 กิโลเมตร - อำเภอโนนไทย 30 กิโลเมตร - อำเภอโชคชัย 33 กิโลเมตร - อำเภอปักธงชัย 36 กิโลเมตร - อำเภอสูงเนิน 36 กิโลเมตร - อำเภอโนนสูง 39 กิโลเมตร - อำเภอจักราช 44 กิโลเมตร - อำเภอขามสะแกแสง 52 กิโลเมตร - อำเภอสีคิ้ว 53 กิโลเมตร - อำเภอหนองบุญมาก 54 กิโลเมตร - อำเภอพระทองคำ 60 กิโลเมตร - อำเภอพิมาย 61 กิโลเมตร - อำเภอด่านขุนทด 62 กิโลเมตร - อำเภอครบุรี 64 กิโลเมตร - อำเภอห้วยแถลง 70 กิโลเมตร - อำเภอโนนแดง 75 กิโลเมตร - อำเภอคง 80 กิโลเมตร - อำเภอวังนํ้าเขียว 82 กิโลเมตร - อำเภอปากช่อง 89 กิโลเมตร - อำเภอสีดา 89 กิโลเมตร - อำเภอเทพารักษ์ 92 กิโลเมตร - อำเภอเสิงสาง 93 กิโลเมตร - อำเภอบัวใหญ่ 95 กิโลเมตร - อำเภอชุมพวง 99 กิโลเมตร - อำเภอประทาย 100 กิโลเมตร - อำเภอบัวลาย 102 กิโลเมตร - อำเภอบ้านเหลื่อม 105 กิโลเมตร - อำเภอแก้งสนามนาง 105 กิโลเมตร - อำเภอลำทะเมนชัย 118 กิโลเมตร - อำเภอเมืองยาง 129 กิโลเมตรทางหลวงทางหลวงพิเศษทางหลวง. ทางหลวงพิเศษ. - ทางหลวงพิเศษหมายเลข 6 หรือ ถนนมอเตอร์เวย์บางปะอิน-นครราชสีมา(กำลังก่อสร้าง)ทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงแผ่นดิน. ทางหลวงสายสำคัญของจังหวัดนครราชสีมามีดังนี้- ทางหลวงหมาดเลขหลักเดียว1. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจาก กลางดง - ปากช่อง - คลองไผ่ - สีคิ้ว - สูงเนิน - โคกกรวด - นครราชสีมา - จอหอ - ตลาดแค - บ้านวัด - สีดา - สิ้นสุดจังหวัดนครราชสีมาในเขตอำเภอบัวลาย- ทางหลวงหมายเลขสองหลัก1. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 (ถนนโชคชัย-เดชอุดม และถนนสถลมารค) ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากทางแยกต่างระดับสีคิ้ว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา - รอยต่ออำเภอหนองบุนนากกับอำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์- ทางหลวงหมายเลขสามหลัก1. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 (ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนรามอินทรา ถนนสุวินทวงศ์) ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากรอยต่อจังหวัดปราจีนบุรีกับอำเภอวังน้ำเขียว - อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 2. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201 ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา - รอยต่ออำเภอด่านขุนทดกับอำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ 3. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202 ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากรอยต่ออำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิกับอำเภอแก้งสนามนาง - รอยต่ออำเภอประทาย กับ อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ จังหวัดบุรีรัมย์ 4. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204 (ถนนเลี่ยงเมืองนครราชสีมา) อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 5. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 205 (ถนนสุรนารายณ์) ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากรอยต่ออำเภอด่านขุนทดกับอำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ - อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 6. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 206 (ทางเข้าเมืองพิมาย และ เลี่ยงเมืองพิมาย) จาก ถนนมิตรภาพ อำเภอโนนสูง - อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา 7. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 207(ถนนพาณิชย์เจริญ) จากอำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา - รอยต่ออำเภอพล จังหวัดขอนแก่น 8. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 224 ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา - รอยต่ออำเภอเสิงสางกับจังหวัดบุรีรัมย์ 9. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226 ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เริ่มจากอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา - รอยต่ออำเภอห้วยแถลงกับจังหวัดบุรีรัมย์ 10. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 290 (ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา) อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมาทางหลวงชนบทกีฬา กีฬา. เนื่องจากจังหวัดนครราชสีมามีศักยภาพหลายด้าน ทำให้จังหวัดนครราชสีมามีโอกาสจัดการแข่งขันกีฬาในระดับชาติ และระดับนานาชาติอยู่เสมอกีฬาระดับชาติกีฬาระดับชาติ. - กีฬาแห่งชาติ- พ.ศ. 2513 จัดกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 4 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2557 จัดกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 43 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 9-19 ธันวาคม พ.ศ. 2557- กีฬาเยาวชนแห่งชาติ- พ.ศ. 2528 จัดกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 1 ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 1 ซึ่งกำหนดการให้มีการแข่งขันระหว่างวันที่ 26 เมษายน 2528 ถึง 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2528- กีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งชาติ- พ.ศ. 2560 จัดกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งชาติ ย่าโมเกมส์ ครั้งที่ 38 วันที่ 23-31 ม.ค. 2560 - กีฬาระดับอุดมศึกษา- พ.ศ. 2541 กีฬาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 15 "ราชมงคลเกมส์" ประจำปีการศึกษา 2540 แข่งขันระหว่างวันที่ 24 – 31 มกราคม 2541 ณ สนามกีฬาวิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา - พ.ศ. 2548 จัดกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32 (สุรนารีเกมส์) จัดการแข่งขันวันที่ 8- 15 มกราคม พ.ศ. 2548 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา - พ.ศ. 2557 จัดกีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30 “อีสานเกมส์” ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ศูนย์กลางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ 31 มกราคม - 7 กุมภาพันธ์ 2557 - พ.ศ. 2560 จัดกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระหว่างวันที่ 21กุมภาพันธ์ - 2 มีนาคม 2560กีฬานานาชาติ กีฬานานาชาติ. จังหวัดนครราชสีมา เป็นรับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติหลายครั้ง- พ.ศ. 2536- วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย 1993 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11 ถึง 19 กันยายน พ.ศ. 2536 - พ.ศ. 2544- วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2001 การแข่งขันในครั้งนี้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23- 30 กันยายน กันยายน พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2550- วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี - วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2007 จัดขึ้นระหว่างวัน 5-13 กันยายน 2550 โดยสนามแข่งขันจัดขึ้น ณ เอ็มซีซีฮอลล์ ศูนย์การค้าเดอะมอลล์นครราชสีมา - กีฬาซีเกมส์ 2007 ณ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 6 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 การจัดการแข่งขันครั้งนี้ ถือเป็นหนึ่งในการเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช - พ.ศ. 2551- กีฬาอาเซียนพาราเกมส์ 2008 ณ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20 มกราคม ถึง 26 มกราคม พ.ศ. 2551 - วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชียนคัพ 2008 จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 20-26 กันยายน 2008 ที่ MCC Hall Convention Center The Mall Korat จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย - วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชียนคัพ 2008โดยจัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 1-7 ตุลาคม 2008 ที่ MCC Hall Convention Center The Mall Korat จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย - พ.ศ. 2552- วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์โลก 2009 จัดตั้งแต่วันที่ 3–12 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2553- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 40 สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 17-23 มกราคม พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2554- จักรยาน ลู่-ถนน ชิงแชมป์เอเชีย 2011 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 9-19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 - พ.ศ. 2555- ฟุตซอลชิงแชมป์โลก ที่อาคารโคราช ชาติชาย ฮอลล์ ในสนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 ร่วมกับกรุงเทพมหานครอีกด้วย โดยจัดในช่วงวันที่ 1 – 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2556- วอลเลย์บอลยุวชนหญิงอายุไม่เกิน 18 ปีชิงแชมป์โลก 2013 ที่อาคารชาติชาย ฮอลล์ และ ลิปตพัลลภ ฮอลล์ จัดการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 26 กรกฎาคม ถึง 4 สิงหาคม พ.ศ. 2556 - วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2013 โดยใช้อาคารชาติชาย ฮอลล์ ร่วมกับ สนาม MCC Hall Convention Center The Mall Korat จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13 กันยายน - 21 กันยายน พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2557- วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2014 สนาม MCC Hall Convention Center The Mall Korat จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11 ตุลาคม–19 ตุลาคม พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 43 สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 - จักรยานชิงแชมป์เอเชีย ครั้งที่ 35 ในเวลากลางคืน โดยจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 4 - 16 กุมภาพันธ์ 2558 - พ.ศ. 2559- วอลเลย์บอลเยาวชนหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2016 (u19) ครั้งที่ 18 โดยจัดขึ้นในเดือน กรกฎาคม 2559 - พ.ศ. 2560- วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 ระหว่างวันที่ 13-21 พฤษภาคม 2560 - พ.ศ. 2561- วอลเลย์บอลหญิงเอวีซีคัพ 2018 (ทีมหญิง) วันที่ 17-23 กันยายน 2561 ที่จังหวัดนครราชสีมาการพัฒนากีฬา การพัฒนากีฬา. จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดที่มีความโดดเด่นด้านกีฬาทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ เนื่องจากมีการพัฒนาด้านกีฬาตลอดเวลา ในหลากหลายชนิดกีฬา เช่น- นักมวยโคราช ได้สร้างชื่อจนเป็นที่ยอมรับในวงการมวยไทย และมวยสากล มาเป็นระยะเวลายาวนาน วอลเลย์บอล- ทีมวอลเลย์บอลของโรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา ได้ผลิตนักกีฬาที่มีชื่อเสียงหลายคนเข้าสู่ทีมชาติอย่างต่อเนื่อง - ทีมวอลเลย์บอลประจำจังหวัด คือ สโมสรวอลเลย์บอลนครราชสีมา (แคทเดวิล) โดยมีทั้งทีมชายและทีมหญิง ปัจจุบันเล่นอยู่ในวอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก - วันที่ 17- 25 เมษายน 2557 ทีมสโมสรวอลเลย์บอลนครราชสีมา (หญิง) เข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 2014 ที่ยิมเนเซียมเทศบาลเมืองนครปฐม ได้อันดับที่ 5 ของทวีเปอเชีย- ไทยแลนด์ฟุตซอลลีก- ทีมสโมสรฟุตซอลนครราชสีมา เดอะเดอะมอลล์ วีวัน (ซุปเปอร์แคท) - ฟุตซอลลีก ดิวิชั่น 1- ทีมสโมสรฟุตซอลนครราชสีมา SAT3- ไทยลีก (T1)- ทีมสโมสรฟุตบอลนครราชสีมามาสด้า เอฟซี (สวาทแคท)- ไทยลีก 4 (T4)- ทีมสโมสรฟุตบอลนครราชสีมา ห้วยแถลง ยูไนเต็ด- ไทยลีก อเมเจอร์ ทัวร์นาเมนต์- ทีมสโมสรฟุตบอลเพื่อนปากช่อง - ทีมสโมสรฟุตบอลโคราช (นักรบที่ราบสูง) - ทีมสโมสรฟุตบอลโคราช ยูไนเต็ด (ไอ้กระทิงดุ) - ทีมสโมสรฟุตบอลนครราชสีมา ยูไนเต็ด - ทีมสโมสรฟุตบอลโคราช ซิตี้ - ทีมสโมสรฟุตบอลห้วยแถลง - ทีมสโมสรฟุตบอลมหาวิทยาลัยวงชวลิตกุล - ทีมสโมสรฟุตบอลจิมทอมสัน ฟาร์ม- ทีมสโมสรตะกร้อนครราชสีมา (แมวป่าทมิฬ) ปัจจุบันทำการแข่งขันในตะกร้อ ไทยแลนด์ ลีก บาสเกตบอล- ในจังหวัดนครราชสีมามีการจัดการแข่งขันบาสเกตบอลลีกภายในจังหวัด ในชื่อ โคราชบาสเกตบอล ลีกสนามกีฬาสนามกีฬา. - สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550- โคราช ชาติชาย ฮอลล์ - สนามกีฬากลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (นครราชสีมา) - สนามกีฬามหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล - สนามกีฬาเทศบาลนครราชสีมา - สนามกีฬาสุรพลากีฬาสถาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - สนามกีฬากลาง ค่ายสุรนารีบุคคลที่มีชื่อเสียงบุคคลในประวัติศาสตร์พระสงฆ์นายกรัฐมนตรีผู้บัญชาการทหาร/ตำรวจนักการเมืองนักมวยไทย/นักมวยสากลอาชีพนักกีฬานักวิชาการผู้กำกับการแสดงนักเขียนนักแสดง / นายแบบ / นางงามบุคคลที่มีชื่อเสียง. นักแสดง / นายแบบ / นางงาม. - นันทวัน เมฆใหญ่ - จรัสพงษ์ สุรัสวดี - ธงชัย ประสงค์สันติ - เพ็ญพิสุทธิ์ เลิศรัตนชัย - ธนา สุทธิกมล - โสภิตสุดา อิทธิเมธินทร์ - วรัทยา นิลคูหา - วงศกร ปรมัตถากร - พิมพ์อักษิพร วินโกมินทร์ - สุชารัตน์ มานะยิ่ง - กรวรรณ หลอดสันเทียะ - เดอะเฟซไทยแลนด์ ซีซัน 3, เดอะเฟซไทยแลนด์ ซีซัน 4 - เจเน็ต เขียว - ธงธง มกจ๊ก - สุทธิพงษ์ สีสวาท - รพีพร พ่วงเพ็ชร - ชาลิตา แย้มวัณณังค์ - มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2556 - อมร พันธ์ชมภู - ปรภัสสร วรสิรินดา - มิสแกรนด์ไทยแลนด์ 2014, รองอันดับ 1 มิสซูปราเนชันแนล 2014 - ภาคิน บวรศิริลักษณ์ - ปภาดา กลิ่นสุมาลย์นักร้อง/นักดนตรีเพลงไทยสากลเพลงลูกกรุง, ลูกทุ่ง และเพื่อชีวิตสถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว. - อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี - อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย - อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ - หมู่บ้านทำเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน - หมู่บ้านหินทราย บ้านหนองโสน - วัดบ้านไร่ - สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - พิพิธภัณฑ์จิตรกรรมสามมิติโคราช - สวนสัตว์นครราชสีมา - วัดศาลาลอย - สวนทุ่งลุงพี - วัดโนนกุ๋ม - ตลาดน้ำกลางดง - เขี่อนลำตะคลอง - เขื่อนลำมูลบน/หาดจอมทอง - ผาเก็บตะวัน - เขาแผงม้า - ตลาดเมืองย่า 100 ปี - ตลาดเซฟวัน - เมืองเสมา (รัฐศรีจนาศะ) - ปราสาทหินเมืองแขก - ปราสาทหินเมืองเก่า - ปราสาทหินโนนกู่ - วัดธรรมจักรเสมาราม - สะพานดำ สถานีรถไฟสูงเนิน - สถานีรถไฟสูงเนินเทศกาลและงานประเพณีเทศกาลและงานประเพณี. - งานฉลองวันแห่งชัยชนะของท้าวสุรนารี กำหนดจัดระหว่างวันที่ 23 มีนาคม - 3 เมษายน ของทุกปี ซึ่งถือเป็นวันที่คุณหญิงโมได้รับชัยชนะจากข้าศึก จัดบริเวณอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี - งานแห่เทียนพรรษาโคราช เสริมบุญสร้างบารมี กำหนดจัดงานประเพณีแห่เทียนพรรษา ณ บริเวณสวนรักษ์และลานอนุสาวรีย์ ท้าวสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีความวิจิตรสวยงามตระการตา และมีจำนวนนักท่องเที่ยวมากที่สุดในภูมิภาค กว่า 500,000คน - งานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่โคราช คนร่วมนับถอยหลังสู่ปีใหม่ร่วมกัน นับแต่ปีเป็นการตอกย้ำที่สำคัญว่าเทศกาลส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่เป็นเทศกาลสากลที่ประชาชนให้ความสำคัญ และเป็นศูนย์กลางแห่งการเฉลิมฉลอง ส่งท้ายปีของชาวโคราช และนักท่องเที่ยวจากต่างจังหวัดอีกครั้งเพราะเราเชื่อมั่นว่าโคราชเป็นเมืองซึ่งเป็นศูนย์รวมการท่องเที่ยวเปี่ยมไปด้วยเสน่ห์แห่งรอยยิ้ม และความสวยงามที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวด้วยสีสัน - งานตรุษจีนนครราชสีมา งานตรุษจีนนครราชสีมา กิจกรรมที่เป็นการเชื่อมความสัมพันธ์อันดีต่อกันระหว่างชาวไทยและชาวจีน ซึ่งถือว่าเป็นงานที่มีความยิ่งใหญ่ภายใต้ความเชื่อที่มีมานาน และเป็นการฉลองวันขึ้นปีใหม่ของชาวจีนสุดยิ่งใหญ่อลังการ ณ บริเวณอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และบริเวณสวนอนุสรณ์สถาน อำเภอเมืองนครราชสีมา - สงกรานต์โคราช เทศกาลสงกรานต์ที่โคราชจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีแต่ละปีจะยิ่งใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ - บีบีคิวเฟสติวัลแอตโคราช โดยหอการค้าจังหวัดนครราชสีมา - งานเบญจมาศบาน ในม่านหมอก จัดขึ้นในช่วงฤดูหนาวของทุกปี ณ หน้าที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลไทยสามัคคี มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับคนในท้องถิ่น อีกทั้งเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของอำเภอวังน้ำเขียวซึ่งมีกิจกรรมที่น่าสนใจ อาทิ การประกวดและจำหน่าย “ดอกเบญจมาศ” แปลงสาธิตดอกเบญจมาศหลากสายพันธุ์ หลากการแสดงและจำหน่ายสินค้าผักเมืองหนาวและกิจกรรมการขี่จักรยานท่องเที่ยวรับสายหมอกและลมหนาวของอำเภอวังน้ำเขียว - การแข่งเรือพิมาย การแข่งเรือเป็นรูปแบบของการเล่นในฤดูน้ำหลากที่สร้างความสามัคคีของคนในหมู่บ้าน และคนต่างหมู่บ้านได้พบปะกัน เป็นการสร้างความสมานสามัคคีของสังคมได้ทางหนึ่งช่วงเวลา จัดหลังวันออกพรรษา แต่ไม่เกินวันเพ็ญเดือนสิบสอง - งานเทศกาลเที่ยวพิมาย จัดในวันเสาร์-อาทิตย์ สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนพฤศจิกายน จัดขึ้นเพื่อเป็นการสร้างสรรค์กิจกรรมส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวหลักของจังหวัด คือ อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงเดียวกับงานประเพณีแข่งเรือพิมาย ภายในงานมีกิจกรรมหลายอย่าง เช่น การแข่งเรือยาวประเพณี การแสดงทางวัฒนธรรม ขบวนแห่พุทธราชาและพุทธประวัติ ขบวนแห่พุทธประทีปและการแสดงประกอบแสง เสียง - งานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาเนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา คณะสงฆ์อำเภอเสิงสางโดยความร่วมมือของเทศบาลตำบลเสิงสาง วัฒนธรรมอำเภอเสิงสาง และพุทธสมาคมอำเภอเสิงสางได้ร่วมกันจัดกิจกรรมสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาเนื่องในวันวิสาขบูชาอำเภอเสิงสางประจำปี จัดที่เทศบาลตำบลเสิงสาง - ไม้ชวนชมประจำอำเภอคง - เทศกาลประเพณีของดีเมืองคง - ประเพณีบุญบั้งไฟตำบลหนองมะนาว อำเภอคง - งานเห็ดเมืองคง - งานผ้าไหมและของดีเมืองปักธงชัย เป็นงานที่ชาวอำเภอปักธงชัย ได้จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมผ้าไหม และสินค้าต่าง ๆ ของอำเภอปักธงชัย จัดในวันที่ 9-15 ธันวาคม ของทุกปี ที่สนามหน้าที่ว่าการอำเภอปักธงชัย - ปากช่องคาวบอยซิตี ริมถนนมิตรภาพสายเก่า บริเวณสวนสาธารณะเขาแคน อำเภอปากช่อง เทศกาลที่ชาวอำเภอปากช่องต่างแต้มสีสันในแบบอย่างที่เป็นเอกลักษณ์ การเนรมิตเมืองปากช่องให้เป็นเมืองคาวบอยตะวันตก - เทศกาลกินหมี่ ประเพณีแห่เทียนพรรษา อำเภอโชคชัย - แข่งเรือพาย ตำบลท่าลาดขาว อำเภอโชคชัย เดือนพฤศจิกายนของทุกปี - แข่งเรือ ตำบลละลมใหม่พัฒนา อำเภอโชคชัย - งานสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ วัดบ้านไร่ วัดบ้านไร่ ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด วันที่ 11 มกราคมของทุกปี - งานของดีอำเภอขามสะแกแสง บริเวณสนามหน้าที่ว่าการอำเภอขามสะแกแสง เพื่อประชาสัมพันธ์ผลผลิตจากเกษตรกรโดยเฉพาะพริก ถือเป็นของดีของอำเภอ เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับรู้ พร้อมส่งเสริมให้เกษตรกรตระหนักถึงความสำคัญในอาชีพเกษตรกร ได้รับความรู้เชิงวิชาการและความรู้ใหม่ในการเพิ่มผลผลิต อีกทั้งการสร้างเสริมการตลาด ส่งเสริมความสามัคคี และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของอำเภอ - ประเพณีกินเข่าค่ำของดีเมืองสูงเนิน จัดขึ้นเป็นประจำในเสาร์ที่2ของเดือนมีนาคมของทุกปี โดยมีการแสดงแสง สี เสียง ชุดนิรมิตกรรมเหนือลำตะคลอง และการแสดงโอทอปประจำตำบลของอำเภอสูงเนิน การประกวดธิดากินเข่าค่ำ จัดขึ้นที่ปราสาทเมืองแขก ตำบลโคราช - เทศกาลกวนข้าวทิพย์ออกพรรษา - เทศกาลน้อยหน่า ของดีปากช่อง และงานกาชาด - เทศกาลเฟื้องฟ้างาม อำเภอหนองบุญมาก - งานเทศกาล มหัศจรรย์ทุ่งดอกจานบานสะพรั่ง อำเภอแก้งสนามนาง - งานบุญข้าวจี่ อำเภอแก้งสนามนาง - งานทอดผ้าไหม อำเภอแก้งสนามนาง - งานบุญบั้งไฟ ตำบลดอนยาวใหญ่ อำเภอโนนแดง - วังน้ำเขียวฟลอร่าแฟนตาเซีย ณ บริเวณแยกวัดโพธิ์เฉลิมพระเกียรติ อำเภอวังน้ำเขียว - งานเทศกาลชมพระอาทิตย์ตกดิน ดอยเจดีย์ อำเภอเทพารักษ์ - พิธีสักการะรูปหล่อหลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ตำบลบึงปรือ อำเภอเทพารักษ์ - ประเพณีงานข้าวใหม่ปลามัน จัดขึ้นในช่วงเดือนธันวาคของทุกปีซึ่งเป็นระยะเวลาที่การเก็บเกี่ยวเสร็จสิ้นแล้วและเชื่อกันว่าหากได้ข้าวและปลาในช่วงดังกล่าวจะมีรสชาติดีเป็นเลิศ อำเภอเมืองยาง - การแข่งขันพายเรืออีโปงในเทศกาลวันสงกรานต์ อำเภอลำทะเมนชัย - งานงิ้วประจำปี ประจำปีของชาวตลาดหนองบัวลายเป็นการบูชาและบวงสรวงแก่เจ้าพ่อที่เป็นที่เคารพของอำเภอบัวลายถือเป็นงานประเพณีที่จัดกันเป็นประจำทุกปีกว่า 30 ปี โดยจะจัดในช่วงเดือนตุลาคมหรือเดือนพฤศจิกายนของทุกปี - งานท้องถิ่นอำเภอสีดา - การจัดงานเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวามหาราช และวันครบรอบการเปิดที่ว่าการอำเภอ หน้าที่ว่าการอำเภอเฉลิมพระเกียรติ 5 ธันวาคมของทุกปี - การจัดงานวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ หน้าที่ว่าการอำเภอเฉลิมพระเกียรติ วันที่ 13 เมษายน ทุกปีกระบวนการยุติธรรมกระบวนการยุติธรรม. - ศาลอุทธรณ์ภาค 3 - ศาลแรงงานภาค 3 - ศาลจังหวัดนครราชสีมา - ศาลจังหวัดสีคิ้ว - ศาลจังหวัดสีคิ้ว(ปากช่อง) - ศาลจังหวัดบัวใหญ่ - ศาลจังหวัดพิมาย - ศาลแขวงนครราชสีมา - ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา - ศาลปกครองนครราชสีมา
ดอกไม้ประจำจังหวัดนครราชสีมาในประเทศไทยคือดอกอะไร
3997
{ "answer_end": [ 386 ], "answer_start": [ 381 ], "text": [ "ราบัต" ] }
20722
ประเทศโมร็อกโก โมร็อกโก (; ชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก, เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐเอกราชที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคมาเกร็บในแอฟริกาเหนือ เป็นหนึ่งในถิ่นกำเนินชนเบอร์เบอร์ ในทางภูมิศาสตร์โมร็อกโกมีเทือกเขาหินขรุขระตรงกลาง มีทะเลทรายขนาดใหญ่และมีชายฝั่งยาวมาตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน โมร็อกโกมีพื้นที่ประมาณ 710,850 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 33.8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อราบัตและมีเมืองใหญ่สุดชื่อกาซาบล็องกา นอกจากนี้ยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ อีกอาทิมาร์ราคิช แทงเจียร์ ซาเล่ห์ แฟ็ส แม็กแน็สและ วัจด้า ในทางประวัติศาสตร์โมร็อกโกเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคมีความเป็นอิสระและไม่ได้ถูกยุ่งเกียวหรือรุกรานโดยเพื่อนบ้านตั้งแต่สุลต่าน โมเลย์ อิดริส ที่ 1ก่อตั้งรัฐโมร็อกโกครั้งแรกใน พ.ศ. 1332 ประเทศถูกปกครองโดยระบบราชวงศ์และเจริญสุดขีดในช่วงราชวงศ์อัลโมราวิดและราชวงศ์อัลโลฮัดซึ่งครอบครองส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ ราชวงศ์มารีนิดและราชวงศ์ซาดีได้ยืนหยัดต่อต้านการรุกร่านจากต่างประเทศ อีกทั้งโมร็อกโกเป็นประเทศในแอฟริกาเหนือประเทศเดียวที่เลี่ยงการยึดครองจากจักรวรรดิออตโตมันได้ ราชวงศ์อเลาอัวซึ่งปกครองประเทศอยู่ในปัจุบันนั้นขึ้นมามีอำนาจในโมร็อกโกตั้งแต่ พ.ศ. 2174 ใน พ.ศ. 2455 โมร็อกโกถูกแบ่งเป็นโมร็อกโกในอารักขาของฝรั่งเศส โมร็อกโกในอารักขาของสเปนกับเขตสากลในแทนเจียร์และกลับมาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2499 วัฒนธรรมชาวโมร็อกโกจะเป็นแบบผสมผสานตามอิทธิพลของเบอร์เบอร์ อาหรับ แอฟริกาตะวันตกและยุโรป โมร็อกโกอ้างว่าเวสเทิร์นสะฮาราซึ่งเป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองซึ่งเคยเป็นสะฮาราของสเปนนั้นเป็นจังหวัดทางใต้ของโมร็อกโก หลังจากสเปนตกลงที่จะปลดปล่อยดินแดนนี้ให้โมร็อกโกและมอริเตเนียใน พ.ศ. 2518 ชาวซาห์ราวีได้ทำสงครามแบบกองโจร มอริเตเนียถอนตัวออกจากดินแดนที่มีสิทธิครอบครองใน พ.ศ. 2522 และสงครามอันยืดเยื้อก็ยุติจากการหยุดยิงใน พ.ศ. 2534 ปัจจุบันโมร็อกโกครอบครองดินแดนสองในสาม โมร็อกโกปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญกับรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง กษัตริย์โมร็อกโกมีอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติอย่างมาก โดยเฉพาะการทหาร นโยบายต่างประเทศและศาสนา อำนาจบริหารออกใช้โดยรัฐบาล ขณะที่สภานิติบัญญัติเป็นของรัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรโมร็อกโกและราชมนตรีสภาทั้งสองสภา กษัตริย์สามารถออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่าดาฮีร์ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย นอกจากนี้กษัตริย์สามารถยุบสภาหลังจากปรึกษานายกรัฐมนตรีและประธานศาลรัฐธรรมนูญ ชาวโมร็อกโกส่วนมากนับถือศาสนาอิสลามมีภาษาราชการคือภาษาอาหรับและภาษาเบอร์เบอร์ ภาษาเบอร์เบอร์เป็นภาษาหลักของโมร็อกโกก่อนที่อาหรับจะมามีบทบาทในคริสศ์ศตวรรษที่ 600 ภาษาอาหรับในโมร็อกโกเรียกว่า Darija โมร็อกโกเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ สหภาพเมดิเตอร์เรเนียนและสหภาพแอฟริกา และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ห้าของแอฟริกาภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. โมร็อกโกมีชายฝั่งยาวตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกยาวขึ้นไปผ่านช่องแคบยิบรอลตาร์จนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน ทางเหนือติดกับสเปน (เซวตา เมลียาและโขดหินเบเลซเดลาโกเมรา) ทางทิศตะวันออกจรดแอลจีเรีย จรดซาฮาราตะวันตกทางทิศใต้ ตั้งแต่โมร็อกโกควบคุมส่วนใหญ่ของซาฮาราตะวันตกจึงมีพรมแดนด้านใต้ติดกับประเทศมอริเตเนียโดยพฤตินัย ประเทศโมร็อกโกตั้งอยูที่ละติจูด 27 องศาถึง36 องศาเหนือและจากลองจิจูด 1 องศาถึง 17 องศาตะวันตก แต่หากร่วมพื้นที่ซาฮาราตะวันตกโมร็อกโกจะตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 21 องศาถึง36 องศาเหนือและจากลองจิจูด 1 องศาถึง 17 องศาตะวันตก พื้นที่ของโมร็อกโกครอบคลุมตั้งแต่ชายฝั่งแอตแลนติก พื้นที่ภูเขาตรงกลางและทะเลทรายซาฮาร่า โมร็อกโกเป็นประเทสในแอฟริกาเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนระกว่างแอลจีเรียกับซาฮาราตะวันตก และเป็นหนึ่งในสามประเทศที่มีชายฝั่งติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (อีกสองประเทศคือสเปนและฝรั่งเศส) พื้นที่ส่วนใหญ่ของโมร็อกโกเป็นภูเขา เทือกเขาแอตลาสตั้งอยู่ตรงกลางและทางตอนใต้ของประเทศ เทือกเขาริฟอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ เทือกกเขาทั้งสองนี้มีชาวเบอร์เบอร์อาศัยอยู่ หากไม่นับซาฮาราตะวันตกจะมีพื้นที่ 446,550 กิโลเมตรมีขนาดเป็นอันดับที่ 57ของโลก ติดกับแอลจีเรียทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้แม้ว่าชายแดนระหว่างสองประเทศถูกปิดตั้งแต่ พ.ศ. 2537 มีดินแดนห้าแห่งของสเปนบนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในแอฟริกาเหนือที่ติดและอยู่ใกล้กับโมร็อกโกได้แก่เซวตาและเมลียา หมู่เกาะชาฟารีนัส โขดหินอาลูเซมัสและโขดหินเบเลซเดลาโกเมราและดินแดนพิพาทอีก 1 แห่งคือเกาะเล็กแพราจิล นอกจากนี้ชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกยังใกล้กับหมู่เกาะคะแนรีของสเปน และมาเดราของโปรตุเกสทางเหนือของโมร็อกโกมีพรมแดนติดกับช่องแคบยิบรอลตาร์ที่สามารถส่งสินค้าระหว่างประเทศไปมาระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนได้ เทือกเขาริฟทอดตัวยาวตามชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจากตะวันตกเฉียงเหนือไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ เทือกเขาแอตลาสที่อยู่กลางคล้ายกระดูกสันหลังของประเทศนั้นทอดตัวตั้งแต่ตะวันออกเฉียงเหนือไปตะวันตกเฉียงใต้ ทางตะวันออกเฉียงใต้ประเทศมีทะเลทรายซาฮาราซึ่งไม่ค่อยมีประชากรอาศัยและไม่มีการก่อผลทางเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือบริเวณ 2 เทือกเขานี้ ขณะที่ประชากรทางใต้จะอยู่ในซาฮาราตะวันตกซึ่งเป็นอาณานิคมของสเปนในอดีตที่ถูกผนวกโดยโมร็อกโกเมื่อ พ.ศ. 2518 และอ้างว่าเป็นจังหวัดทางใต้ เมืองหลวงของโมร็อกโกคือเมืองราบัต เมืองใหญ่สุดเป็นเมืองท่าชื่อกาซาบล็องกา และเมืองอื่น ๆ ที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คนในการสำรวจสำมะโนประชากรโมร็อกโก 2557 อย่างมาร์ราคิช แฟ็ส แม็กแน็ส แทงเจียร์และซาเล่ห์ โมร็อกโกใช้ MA ในมาตรฐาน ISO 3166-1 alpha-2 รหัสนี้ใช้เป็นพื้นฐานของโดเมนระดับบนสุดของโมร็อกโก.ma
เมืองหลวงของประเทศโมร็อกโกมีชื่อว่าอะไร
3998
{ "answer_end": [ 134 ], "answer_start": [ 130 ], "text": [ "2532" ] }
355975
คิง เพาเวอร์ กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ (อังกฤษ: King Power Group) เป็นบริษัทด้านธุรกิจค้าปลีกสินค้าปลอดอากรของไทย ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2532 โดยวิชัย ศรีวัฒนประภา ใช้ชื่อเดิมว่า บริษัท ดาวน์ทาวน์ ดี.เอฟ.เอส (ไทยแลนด์) จำกัด ได้ร่วมทุนกับ ททท. เปิดดำเนินกิจการร้านค้าปลอดอากรในเมืองเป็นรายแรกในประเทศไทย ณ อาคารมหาทุนพลาซ่า ถนนเพลินจิต ต่อมาในปี พ.ศ. 2536 - 2549 ได้รับสัมปทานจากการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย (ปัจจุบันคือ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)) เข้าบริหารร้านค้าปลอดภาษี ที่ท่าอากาศยานดอนเมือง เชียงใหม่ ภูเก็ต และหาดใหญ่ ซึ่งได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท คิง เพาเวอร์ แท็กซ์ฟรี จำกัด และในปี พ.ศ. 2549 ได้เข้ามาดำเนินการสินค้าปลอดอากร ที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทได้รับพระราชทานตราตั้งห้างครุฑ ตั้งอยู่ที่สำนักงานใหญ่ ถนนรางน้ำ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 วิชัยพร้อมด้วยผู้ร่วมทุนในนามกิจการร่วมค้าเอเชียนฟุตบอลอินเวสต์เมนท์ ได้ซื้อกิจการสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตี พร้อมเปลี่ยนชื่อสนามจาก วอล์กเกอร์ส สเตเดี้ยม เป็น คิงเพาเวอร์สเตเดียม และในปี 2014 ได้บริหารทีมสโมสรเลสเตอร์ซิตี จนคว้าแชมป์ เดอะแชมเปี้ยนชิพ และเข้าไปเล่นในพรีเมียร์ลีกได้สำเร็จในฤดูกาล 2014-2015 ในฤดูกาล 2015–16 เลสเตอร์ซิตีสามารถคว้าแชมป์พรีเมียร์เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสร ต่อมาในวันที่ 16 พฤษภาคม 2560 ทางกลุ่มคิงเพาเวอร์ได้รับอนุมัติให้มีการซื้อขายสโมสร เอาด์-เฮเฟอร์เลเลอเฟิน ซึ่งเป็นสโมสรในระดับดิวิชั่น 2 ของประเทศเบลเยี่ยม และได้มีการดึงตัว กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์ ผู้รักษาประตูทีมชาติไทย ให้มาร่วมกับทีมในช่วงเปิดตลาดซื้อขายนักเตะของลีกเบลเยียมช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2561ธุรกิจของบริษัทธุรกิจของบริษัท. - ห้างสรรพสินค้าปลอดอากร- ดาวน์ทาวน์ คอมเพล็กซ์ ถนนรางน้ำ - อินทาวน์ สโตร์ (มหานครคิวบ์) - ศรีวารี - พัทยา - ภูเก็ต - ร้านค้าปลอดอากร- สุวรรณภูมิ - ดอนเมือง (อาคารผู้โดยสาร 1) - เชียงใหม่ - ภูเก็ต - หาดใหญ่ - โรงละครอักษรา - โรงแรมพูลแมน กรุงเทพ คิง เพาเวอร์ - กิจการร่วมค้าเอเชียนฟุตบอลอินเวสต์เมนท์- สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตี - สโมสรเอาด์-เฮเฟอร์เลเลอเฟิน (ประเทศเบลเยียม) - คิง เพาเวอร์ มหานคร
กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ เป็นบริษัทด้านธุรกิจค้าปลีกสินค้าปลอดอากรของไทย ก่อตั้งในปี พ.ศ. ใด
3999
{ "answer_end": [ 156 ], "answer_start": [ 138 ], "text": [ "วิชัย ศรีวัฒนประภา" ] }
355975
คิง เพาเวอร์ กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์ (อังกฤษ: King Power Group) เป็นบริษัทด้านธุรกิจค้าปลีกสินค้าปลอดอากรของไทย ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2532 โดยวิชัย ศรีวัฒนประภา ใช้ชื่อเดิมว่า บริษัท ดาวน์ทาวน์ ดี.เอฟ.เอส (ไทยแลนด์) จำกัด ได้ร่วมทุนกับ ททท. เปิดดำเนินกิจการร้านค้าปลอดอากรในเมืองเป็นรายแรกในประเทศไทย ณ อาคารมหาทุนพลาซ่า ถนนเพลินจิต ต่อมาในปี พ.ศ. 2536 - 2549 ได้รับสัมปทานจากการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย (ปัจจุบันคือ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)) เข้าบริหารร้านค้าปลอดภาษี ที่ท่าอากาศยานดอนเมือง เชียงใหม่ ภูเก็ต และหาดใหญ่ ซึ่งได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท คิง เพาเวอร์ แท็กซ์ฟรี จำกัด และในปี พ.ศ. 2549 ได้เข้ามาดำเนินการสินค้าปลอดอากร ที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทได้รับพระราชทานตราตั้งห้างครุฑ ตั้งอยู่ที่สำนักงานใหญ่ ถนนรางน้ำ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 วิชัยพร้อมด้วยผู้ร่วมทุนในนามกิจการร่วมค้าเอเชียนฟุตบอลอินเวสต์เมนท์ ได้ซื้อกิจการสโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตี พร้อมเปลี่ยนชื่อสนามจาก วอล์กเกอร์ส สเตเดี้ยม เป็น คิงเพาเวอร์สเตเดียม และในปี 2014 ได้บริหารทีมสโมสรเลสเตอร์ซิตี จนคว้าแชมป์ เดอะแชมเปี้ยนชิพ และเข้าไปเล่นในพรีเมียร์ลีกได้สำเร็จในฤดูกาล 2014-2015 ในฤดูกาล 2015–16 เลสเตอร์ซิตีสามารถคว้าแชมป์พรีเมียร์เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสร ต่อมาในวันที่ 16 พฤษภาคม 2560 ทางกลุ่มคิงเพาเวอร์ได้รับอนุมัติให้มีการซื้อขายสโมสร เอาด์-เฮเฟอร์เลเลอเฟิน ซึ่งเป็นสโมสรในระดับดิวิชั่น 2 ของประเทศเบลเยี่ยม และได้มีการดึงตัว กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์ ผู้รักษาประตูทีมชาติไทย ให้มาร่วมกับทีมในช่วงเปิดตลาดซื้อขายนักเตะของลีกเบลเยียมช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2561ธุรกิจของบริษัทธุรกิจของบริษัท. - ห้างสรรพสินค้าปลอดอากร- ดาวน์ทาวน์ คอมเพล็กซ์ ถนนรางน้ำ - อินทาวน์ สโตร์ (มหานครคิวบ์) - ศรีวารี - พัทยา - ภูเก็ต - ร้านค้าปลอดอากร- สุวรรณภูมิ - ดอนเมือง (อาคารผู้โดยสาร 1) - เชียงใหม่ - ภูเก็ต - หาดใหญ่ - โรงละครอักษรา - โรงแรมพูลแมน กรุงเทพ คิง เพาเวอร์ - กิจการร่วมค้าเอเชียนฟุตบอลอินเวสต์เมนท์- สโมสรฟุตบอลเลสเตอร์ซิตี - สโมสรเอาด์-เฮเฟอร์เลเลอเฟิน (ประเทศเบลเยียม) - คิง เพาเวอร์ มหานคร
ใครคือผู้ก่อตั้งบริษัทด้านธุรกิจค้าปลีกสินค้าปลอดอากรของไทยชื่อว่า กลุ่มบริษัท คิง เพาเวอร์
4000