translation
dict |
---|
{
"en": "Diabetic foot ulcers are a major complication in people with diabetes. Which is caused by the degeneration of peripheral nerves and the degeneration of the arteries that together with the pressure on the soles of the feet. This can cause foot ulcers and may cause the patient to have the foot or leg amputated, causing a disability to affect oneself both physically and mentally, causing the family to have an additional burden of care. A burden of society and may be die. Self-management is the key to preventing foot ulcers. If the people with diabetes have good foot care and can self-management with enhanced foot care. Therefore, foot care is very important for people with diabetes. Nurse is an important person who supports self-management in assessing the risk of foot ulcers, for example: assess blood flow, vascular condition, foot examination, the fit and proper fit of shoes. Every time people with diabetes visit the doctor, Assess the knowledge and behavior of diabetic foot care, self-management abilities regarding self-control behaviors of diabetes and follow up to visit service recipients continuously. Therefore, nurse and patient communication are an important proactive tool It must reflect to the service recipients the importance of taking care that is seriously beneficial to the service recipients themselves. In addition to teaching demonstrations and doing it together with the service recipient will help develop the ability to manage themselves more effectively.",
"th": "แผลเบาหวานที่เท้าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญในผู้เป็นเบาหวาน ซึ่งเกิดจากเส้นประสาท ส่วนปลายเสื่อม และความเสื่อมของหลอดเลือดแดงที่มาเลี้ยงเท้า ร่วมกับแรงกดที่ฝ่าเท้า ทำให้เกิดแผลที่เท้าและอาจทำให้ผู้ป่วยต้องถูกตัดเท้าหรือขา ก่อให้เกิดภาวะทุพพลภาพ ส่งผลกระทบต่อตนเอง ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ ทำให้ครอบครัวมีภาระการดูแลเพิ่มขึ้น เป็นภาระของสังคม และอาจเสียชีวิตได้ การจัดการตนเองถือเป็นหัวใจสำคัญของการป้องกันการเกิดแผลที่เท้า หากผู้เป็นเบาหวานมีการดูแลเท้าที่ดีและ มีความสามารถในการจัดการตนเองกับการดูแลเท้าที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นการดูแลเท้าจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อผู้เป็นเบาหวาน พยาบาลเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนการจัดการตนเองของผู้เป็นเบาหวาน ในการประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลที่เท้า เช่น ประเมินการไหลเวียนหลอดเลือด สภาพหลอดเลือด การตรวจสุขภาพเท้าทุกครั้งที่มาพบแพทย์ ความพอดีและเหมาะสมของรองเท้า ประเมินความรู้และพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเท้าของผู้เป็นเบาหวาน สร้างเสริมความสามารถในจัดการตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมการควบคุมเบาหวานด้วยตนเอง และติดตามเยี่ยมผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการสื่อสาร ของพยาบาลกับผู้รับบริการจึงเป็นเครื่องมือสำคัญเชิงรุก โดยต้องสะท้อนให้ผู้รับบริการเห็นในประเด็นสำคัญของการดูแลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้รับบริการเองอย่างจริงจัง นอกจากนี้การสอนสาธิต และปฏิบัติไปพร้อมกันกับผู้รับบริการจะช่วยพัฒนาความสามารถในการจัดการตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น"
} |
{
"en": "This research is a descriptive research. The objectives are as follows: 1) to study the happiness level of Nursing Students of Faculty of Nursing, Chaiyaphum Rajabhat University, 2) to compare happiness levels of nursing students Classified by grade level 3) to study factors related to happiness of Nursing Students of Faculty of Nursing, Chaiyaphum Rajabhat University. The sample group was Nursing Students of Faculty of Nursing, Chaiyaphum Rajabhat Universit, Academic Year 2018, consisted of 359 people. and a questionnaire on the Happiness Index (TMHI - 55) of the Department of Mental Health. It is a 4-level rating scale with 55 items to determine the confidence. Using Cronbach’s alpha coefficient, the value 0.984. The statistics used were descriptive statistics, one-way ANOVA and Chi-Square. The results showed that happiness of Nursing Students of Faculty of Nursing, overall, found that the happiness level was lower than the general population of 352 ( 98.05 percent ) and the happiness level was the same as that of the general population of 7 people (1.94%). Year 1 had the highest average happiness level was 124.95 and the year of study correlated with happiness of Nursing Students of Faculty of Nursing, Chaiyaphum Rajabhat University with statistical significance at the .05 level. can lead to Basic information for planning, organizing activities, teaching and learning to encourage students to be happy in study life.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับความสุขของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของนักศึกษาพยาบาล จำแนกตามระดับชั้นปี 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสุขของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏชัยภูมิ ปีการศึกษา 2561 จำนวน 359 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มี 2 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบสอบถามเกี่ยวกับดัชนีชี้วัดความสุข (TMHI - 55) ของกรมสุขภาพจิต เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 4 ระดับ จำนวน 55 ข้อ หาค่าความเชื่อมั่น โดยใช้สัมประสิทธิ์ แอลฟาของครอนบาค มีค่า 0.984 สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา one-way ANOVA และ Chi-Square ผลการวิจัยพบว่า ความ สุขของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ โดยรวม พบว่า มีความสุขในระดับต่ำกว่าคนทั่วไป จำนวน 352 คน (ร้อยละ 98.05) และมีระดับความสุขเท่ากับคนทั่วไป จำนวน 7 คน (ร้อยละ 1.94) และพบว่า ชั้นปีที่ศึกษา มีความสัมพันธ์กับความสุขของนักศึกษา พยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไป เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งผลต่อความสุขของนักศึกษาในการเรียน"
} |
{
"en": "This research was a cross-sectional study. The objectives of this research are; to study the situation of health literacy on cannabis for medical use among adult and elderly in Chiang Rai province. Method: This research is a study of 463 people. A random sample selected by multi-stage sampling method, collected data by the questionnaire (Cronbach’s alpha coefficiency 0.95). The data were by descriptive statistics, Odds ratio (OR) and Independence t-test. Results: The participants were in adulthood (n = 359) and older adults (n =114). The majority of the adult participants had poor health literacy (68.4%). Most of the older adult participants had poor health literacy (86.8%). The adult participants had a moderately level to very good level of health literacy more than the older adult participants (OR= 3; 95% CI: 1.69-5.48). Most of the adult participants had low health literacy in communication skill and decision skill. Most of older adult participants had low health literacy in Access skill, knowledge skill, media literacy skill, communication skill and decision skill. Conclusion: Most of participants had a low level of health literacy about cannabis for medical use, especially the elderly group. Therefore, program of enhancing health literacy about cannabis for medical use program may be necessary, especially among the older adult.",
"th": "งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานศึกษาแบบภาคตัดขวาง วัตถุประสงค์คือเพื่อศึกษาความรอบรู้เกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์ ของวัยผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุ ในจังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่าง 463 คน สุ่มคัดเลือกโดยวิธี multi-stage sampling เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความเชื่อมั่นได้ค่า Cronbach’s alpha coefficiency 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Odds ratio (OR) และสถิติ Independence t-test ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง อยู่ในวัยผู้ใหญ่ (n = 359) และวัยผู้สูงอายุ (n = 114) วัยผู้ใหญ่ส่วนใหญ่มีความรอบรู้ทางสุขภาพอยู่ในระดับไม่ดี (ร้อยละ 68.4) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความรอบรู้ทางสุขภาพอยู่ในระดับไม่ดี (ร้อยละ 86.8) วัยผู้ใหญ่มีความรอบรู้ทางสุขภาพในระดับพอใช้ ถึงระดับดีมากมากกว่าวัยผู้สูงอายุ (OR = 3; 95% CI: 1.69-5.48) วัยผู้ใหญ่ส่วนใหญ่มีความรอบรู้ทางสุขภาพต่ำในด้านทักษะสื่อสาร ข้อมูล และด้านทักษะการตัดสินใจปฏิบัติ วัยผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความรอบรู้ทางสุขภาพต่ำในด้านทักษะการเข้าถึงข้อมูล ทักษะ ความรู้ ทักษะรู้เท่าทันสื่อ ทักษะการสื่อสารข้อมูล และทักษะการตัดสินใจปฏิบัติ สรุปผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีความรอบรู้เกี่ยวกับกัญชาทางการแพทย์อยู่ในระดับต่ำโดยเฉพาะผู้สูงอายุ ดังนั้น โปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้เกี่ยวกับกัญชา ทางการแพทย์อย่างถูกต้องอาจมีความจำเป็นโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ"
} |
{
"en": "This study is a cross-sectional study that aims to study factors relating to drug administration of home patients by using a sample group of patients and caregivers referred to the home health care unit. 70 samples are selected by purposive sampling. Research instruments used include a questionnaire for general information of patients and caregivers, an evaluation form for ability to do daily routines and a monitoring form for drug administration error at home. The inter rater reliability is found to be 0.68 – 0.79 and 1.00, respectively. Data is analyzed using descriptive statistics and Chi-Square (χ2) test statistics From the analysis of the patient factor relating to home drug administration based on 6Rs, it is found that gender and the amount of drug are significantly correlated with the right dose medication at the statistical level of .05 (χ2 = .020 and χ2 = .02, respectively). Comorbidities and the amount of drug are significantly correlated with the right patient medication at the statistical level of .05 (χ2 = .037 and χ2 = .042, respectively). As for the caregiver factor, it is found that the age of caregiver is significantly correlated with the right time medication at the statistical level of .05 (χ2 = .021). This study finds that a dependent elderly patient with medication or a higher number of comorbidities need a main caregiver to help with home drug administration in order to reduce the drug administration error.",
"th": "การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบริหารยาของ ผู้ป่วยที่บ้าน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อมายังหน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน เลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 70 คน เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยและผู้ดูแล แบบประเมิน ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยและแบบบันทึกการติดตามการบริหารยาคลาดเคลื่อนที่บ้าน มีความเที่ยง โดยหาความสอดคล้องระหว่างผู้สังเกตเท่ากับ 0.68 – 0.79 และ 1.00 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติ ทดสอบไคสแควร์ จากการวิเคราะห์ปัจจัยด้านผู้ป่วยที่มีความสัมพันธ์กับการบริหารยาที่บ้านตามหลัก 6Rs พบว่า เพศและจำนวนยามีความ สัมพันธ์กับการให้ยาถูกขนาดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (χ2 = .020 และ χ2 = .029 ตามลำดับ) จำนวนโรคร่วมและ จำนวนยามีความสัมพันธ์กับการให้ยาถูกคนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (χ2 = .037 และ χ2 = .042 ตามลำดับ) สำหรับ ปัจจัยด้านผู้ดูแลพบว่า อายุของผู้ดูแลมีความสัมพันธ์กับการให้ยาถูกเวลา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (χ2 = .0) การศึกษา นี้พบว่า ผู้ป่วยสูงอายุและช่วยเหลือตนเองได้น้อยมียาหรือมีโรคร่วมมากจำเป็นต้องมีผู้ดูแลหลักช่วยบริหารจัดการยาที่บ้านเพื่อลด ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา"
} |
{
"en": "The purpose of this qualitative research was to describe the violent behaviors in males who had schizophrenia and amphetamine addiction. 15 key informants participated in this study. The qualitative data were accessed by in-depth interviews. Data were analyzed by content analysis method. Five-main themes emerged from the data’s meaning: 1) The meaning of the violent behaviors based on the views of the patients found as the action with warning signs, cannot be stopped of aggressive mood and action to stop and defense violence. 2) Their violent behaviors included verbal and physical aggression. 3) Internal causes of the violent behaviors included impatience and a perceived inability to control behavior; external causes included arousing words from others, a lack of supportive family relationships, and the use of amphetamine or alcohol. 4) Perceived effects of violent behaviors were their feelings of guilt and regret over physical injuries, insecurity and fear of the other’s reactions, and that life seemed ruined. 5) The informants wanted family members to be aware of the warning signs of violent behavior, wanting others to listen and stop talking, and wishing to have appropriate caring responses. The findings can be used to raise awareness of harmful internal and external causes of violent behaviors and their perceived effects. Health care providers should develop a community-based violence prevention program for males with schizophrenia and amphetamine addiction.",
"th": "การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการรับรู้พฤติกรรมรุนแรงของผู้ป่วยจิตเภทชายที่เสพแอมเฟตามีน ผู้ให้ ข้อมูลหลักจำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาข้อค้นพบ จากงานวิจัยนี้ มี 5 ประเด็นหลัก คือ 1) การรับรู้ความหมายพฤติกรรมรุนแรงตามมุมมองของผู้ป่วยเอง ให้ความหมายว่า เป็นการ กระทำที่มีสัญญาณเตือน เป็นอารมณ์รุนแรงไม่สามารถหยุดได้ และเป็นสิ่งที่ทำเพื่อหยุดยั้งความรุนแรง 2) การแสดงออกพฤติกรรม รุนแรง คือ ก้าวร้าวด้วยคำพูดและการทำร้ายร่างกาย 3) สาเหตุของพฤติกรรมรุนแรงมาจากภายในตนเอง คือ การมีนิสัยใจร้อนและ ควบคุมตนเองไม่ได้ และสาเหตุของพฤติกรรมรุนแรงมาจากภายนอก คือ คำพูดกระตุ้น การมีสัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี และ การเสพแอมเฟตามีนหรือดื่มสุรา 4) การรับรู้ผลที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมรุนแรง คือ รู้สึกผิดและเสียใจ ร่างกายเกิดการบาดเจ็บ หวั่น ใจกับท่าทีของคนอื่นที่มีต่อตนเอง และเหมือนชีวิตล้มละลาย 5) ความต้องการให้สมาชิกครอบครัวมีความตระหนักสัญญาณเตือน ของพฤติกรรมรุนแรง ต้องการให้คนอื่นรับฟังและหยุดพูด และอยากให้มีการดูแลและการตอบสนองที่เหมาะสม ผลการศึกษานี้ สามารถนำไปใช้ในการเพิ่มความตระหนักถึงอันตรายของพฤติกรรมรุนแรงจากสาเหตุภายในตนเองและ จากภายนอก รวมทั้งผลที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมรุนแรง บุคลากรด้านสุขภาพควรพัฒนารูปแบบการป้องกันพฤติกรรมรุนแรงในชุมชน สำหรับผู้ป่วยจิตเภทชายที่เสพแอมเฟตามีนกลุ่มนี้"
} |
{
"en": "This cross-sectional research aimed to assess the level of mental health status, burnout, and their relationship among registered nurses in a general hospital, Chonburi province during the COVID-19 pandemic. The online questionnaires; including personal information, Depression Anxiety and Stress Scales (DASS-21)- Thai version, and Maslach Burnout Inventory-General Survey (MBI-GS)-Thai version, were conducted among registered nurses from February to March 2022. All data were analyzed using descriptive statistics, and Pearson’s correlation coefficient was applied to calculate a relationship between mental health status and burnout. The statistical significant is determined at p < .05. The results showed that the mean age of participants was 36.89 years, and the majority were female (89.10 %). Most participants reported at least mild degree of depression, anxiety, and stress (51.65 %, 41.76%, and 57.14 %, respectively). More than half of respondents reported high level of emotional exhaustion and cynicism dimensions of burnout (50.56 %, and 58.24 %, respectively). Professional efficacy dimension was still high in most of respondents (71.42%). The results revealed negative correlation between professional efficacy and three mental health aspects; depression, stress, and anxiety (r = -.529, p = <.001, r = -.560, p = < .001 and r = -.331, p= .003, respectively). The study also revealed positive correlation between stress and emotional exhaustion (r = .190, p= .027). The study results indicated that most of registered nurses were dealingwith mental health problems especially during COVID-19 pandemic. Thus, effective mental health interventions for registered nurses should be considered in occupational health care system.\n ",
"th": "การวิจัยแบบภาคตัดขวางครั้งนี้เป็นการศึกษาระดับของภาวะสุขภาพจิต ภาวะหมดไฟในการทำงาน และความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะสุขภาพจิตกับภาวะหมดไฟในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรีระหว่างการ ระบาดของโรคโควิด-19 ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้กลุ่มตัวอย่าง 91 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามออนไลน์ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึง มีนาคม พ.ศ. 2565 ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินภาวะสุขภาพจิต และ แบบประเมินภาวะหมดไฟในการทำงาน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสุขภาพจิตและภาวะหมดไฟในการทำงานโดยใช้ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ p < .05 ผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 36.89 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 89.10 มีความเครียด ร้อยละ 57.14 มี ความวิตกกังวล ร้อยละ 41.76 มีอาการของภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 51.65 มีภาวะหมดไฟในการทำงานด้านความอ่อนล้าทางอารมณ์ ในระดับสูง ร้อยละ 50.56 ด้านการเมินเฉยต่องานในระดับสูง ร้อยละ 58.24 มีความรู้สึกเกี่ยวกับความสามารถในการทำงานใน ระดับสูง ร้อยละ 71.42 และพบความสัมพันธ์เชิงลบระหว่างความสามารถในการทำงาน กับ ภาวะสุขภาพจิตทั้ง 3 ด้าน ทั้งภาวะ ซึมเศร้าความเครียด และความวิตกกังวล (r = -.529, p= <.001, r = -.560, p= -.560, p= <.001 และ r= -.331, p= .03 ตามลำดับ) และ ความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างความอ่อนล้าทางอารมณ์ กับ ความเครียด (r = .190, p= .027) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p < .05 จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าในสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด-19 พยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่กำลังประสบกับปัญหาด้านสุขภาพจิต และตระหนักได้ว่าการดูแลสุขภาพจิตของพยาบาลวิชาชีพเป็นประเด็นที่สำคัญทางอาชีวอนามัย องค์กรควรมีระบบการดูแลและส่งเสริมสุขภาพจิตรวมถึงการป้องกันภาวะหมดไฟในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ"
} |
{
"en": "In Thailand, there are many people make a living by being construction worker. The workers tend to live in crowded group, result in higher risk of spreading of COVID-19. From the “Measure to prevent the spread of COVID-19” published either by Department of Health, Ministry of Public Health, or by Division of Health Promotion and Preventive Medicine, Royal Thai Army Medical Department, still missing in some parts that could be fulfilled to accommodate the situation as it alters periodically. The army should choose “COVID-19 preventive measure in workers’ camp” proposed from this study, and conduct simultaneously in all levels (policy, personal, environment) in order to create a better workers’ camp. And there should be update for latest information periodically as the newer guideline comes out in the future.",
"th": "ในประเทศไทยมีคนประกอบอาชีพคนงานก่อสร้างเป็นจำนวนมาก การอยู่อาศัยมักอยู่รวมกันเป็นกลุ่มอย่างแออัด ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงในการระบาดของโรคติดเชื้อโดยเฉพาะโรคโควิด-19 ได้สูงขึ้น มาตรการป้องกันโควิด-19 ในที่พักชั่วคราว คนงานก่อสร้างซึ่งประกาศทั้งจากกรมอนามัย และจากกรมแพทย์ทหารบก ต่างยังมีประเด็นที่ขาดการพิจารณาในบางหัวข้อ จึงควรมีการวิเคราะห์หามาตรการที่เหมาะสมมากขึ้น เพื่อปรับตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อในประเทศไทย รวมถึง นโยบายที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นระยะ โดยการหาแนวทางป้องกันการแพร่กระจายโควิด-19 ที่เหมาะสม จะเป็นการช่วยควบคุม การแพร่กระจายโรคโควิด-19 ได้ในระดับประเทศไปในตัว หน่วยงานกองทัพบกที่มีการก่อสร้างในพื้นที่ควรเลือกมาตรการที่ เหมาะสมสำหรับการป้องกันควบคุมโควิด-19 ในที่พักอาศัยชั่วคราวของคนงานก่อสร้าง โดยดำเนินการร่วมกันทั้งระดับนโยบาย ระดับบุคคล และระดับสิ่งแวดล้อม ตามมาตรการที่ได้ทำการเสนอแนะ เพื่อความปลอดภัยจากการแพร่กระจายของโควิด-19 ในพื้นที่รับผิดชอบ ทั้งนี้ควรมีการติดตามข้อมูลข่าวสารใหม่เป็นระยะ เพื่อการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมในอนาคตต่อไป"
} |
{
"en": "COVID 19 is a fast spreading pandemic with a high mortality rate. People around the world have to adjust to the new living style including medical personnel who need to adapt to the new working circumstances. Home health care units also need to carry out the country’s main mission in caring for general patients and patients with COVID 19. In other words, they need to perform discharge planning, home visit, continuous follow up, and referral service in the community continuing care by applying the patient care principles to provide appropriate nursing services in terms of preventing infection and spread of diseases, encouraging patients and their families to recognize the importance of vaccination, and applying technology in taking care of patients in response to the hospital missions. This serves as part of the public health system to promote well-being for everyone and to overcome this COVID 19 pandemic situation.",
"th": "โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคระบาดที่มีการแพร่กระจายที่รวดเร็วและมีอัตราการตายสูง ทำให้ประชากรทั่วโลก ต้องมีการปรับตัวในการใช้ชีวิต รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์ต้องมีการปรับตัวในการทำงาน หน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน เป็นอีกหน่วยที่ตอบสนองภารกิจหลักของประเทศในเรื่องการดูแลผู้ป่วยทั่วไป และผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กล่าวคือ การวางแผนเตรียมความพร้อมแก่ผู้ป่วย ผู้ดูแล และครอบครัวก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล การดูแลสุขภาพของผู้ป่วยที่บ้าน การดูแลติดตามผลการให้บริการพยาบาลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง การประสานงานกับแหล่งประโยชน์ทางสุขภาพในชุมชนร่วมดูแล ต่อเนื่อง โดยนำหลักการดูแลผู้ป่วยมาปรับใช้ในการพยาบาลให้เหมาะสม ทั้งด้านการป้องกันการติดและแพร่กระจายเชื้อ การกระตุ้น ให้ผู้ป่วยและครอบครัวเห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีน และการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการดูแลผู้ป่วย เพื่อตอบ สนองพันธกิจของ โรงพยาบาล และเป็นส่วนหนึ่งของระบบสาธารณสุขเพื่อให้เกิดสุขภาวะที่ดี และก้าวผ่านสถานการณ์การระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไปได้"
} |
{
"en": "A biocellulose as updated wound dressings is an innovation that has challenged the mission of modern nursing practice to enhance the healing of a chronic hard-to-heal wound. This research aimed to compare the area of chronic hard-to-heal wounds after applying biocellulose wound dressing. The 20 hard-to-heal wounds had cared for at an advanced wound care clinic, one tertiary military hospital, Bangkok, Thailand. Research instruments consisted of 1) a protocol of wound care with biocellulose wound dressing 2) a personal case record form 3) a case record form of hard-to-heal wound characteristics and wound dressing techniques 4) a computer program for image analysis of intractable chronic hard-to-heal wound through mobile phone screen to assess wound size (Tissue Analytic Platform). The results revealed that compared average size of the chronic hard-to-heal wound between 1st week and 2nd, 3rd, and 4th week after applying biocellulose wound dressing, wound size was smaller (mean difference = -0.65, - 0.62, and -2.40), respectively. In addition, average wound size was statistically significant differences (t = -2.90, p < .05) without any complications and allergic reactions. The better wound healing show reddish wound, more moisture, little necrotic tissue and in overall the wounds size were shallower and smaller. In sum, biocellulose wound dressings ought to be an effective wound dressing for hard-to-heal wounds.",
"th": "นวัตกรรมเพื่อส่งเสริมกำรหำยของแผลเรื้อรังหำยยำกด้วยกำรใช้วัสดุปิดแผลไบโอเซลลูโลส เป็นภำรกิจท้าทายสำหรับ การปฏิบัติการพยาบาลยุคใหม่ วัตถุประสงค์การวิจัยนี้ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบขนาดพื้นที่แผลเรื้อรังหายยากหลังการใช้วัสดุปิดแผล ไบโอเซลลูโลส กลุ่มตัวอย่างคือ แผลเรื้อรังหายยาก 20 แผล ณ คลินิกดูแลแผลเรื้อรังหายยากด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง (Advance Wound Care Clinic) โรงพยาบาลทหารระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) แนวปฏิบัติ การดูแลแผลเรื้อรังหายยากโดยการใช้วัสดุปิดแผลไบโอเซลลูโลส 2) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 3) แบบบันทึกวิธีการทำแผลเรื้อรัง หายยากโดยการใช้วัสดุปิดแผลไบโอเซลลูโลส 4) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประมวลผลขนำดพื้นที่แผลเรื้อรังหายยากภาพผ่านบนจอ มือถือ (Tissue Analytic Platform) ผลการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยขนาดพื้นที่แผลเรื้อรังหายยาก ระหว่างสัปดาห์แรกกับ สัปดาห์ที่ 2, 3, และ 4 หลังการใช้วัสดุปิดแผลไบโอเซลลูโลส พบขนาดพื้นที่แผลเล็กลงตามลำดับ (mean difference = -0.65, -0.62, และ -2.40) ตลอดจนพบความแตกต่างของขนาดพื้นที่แผลเรื้อรังหายยากอย่างมีนัยสำคัญทสงสถิติ ระหว่างสัปดาห์แรกกับ สัปดาห์ที่ 4 (t = -2.90, p < .01) โดยไม่พบภาวะแทรกซ้อนและอาการแพ้ใดๆ ซึ่งการหายของแผลเป็นลักษณะแผลแดงดี มีความชุ่มชื้น เนื้อตายที่ต้องตัดแต่งลดลง และโดยรวมแผลตื้นขึ้นและขนาดพื้นที่เล็กลง ดังนั้นการใช้วัสดุปิดแผลไบโอเซลลูโลส มีผลส่งเสริมการหายของแผลเรื้อรังหายยากได้"
} |
{
"en": "This quasi-experimental research, two group pretest–posttest design, aimed to study the effect of the empowerment program on COVID-19 prevention practices of village health volunteers. The participants were fifty persons of village health volunteers who assigned to an experimental group (n = 25) and a control group (n = 25). The research instruments consisted of 1) The empowerment program on COVID-19 prevention practices of village health volunteers for 4-week period 2) Guidebook of knowledge on the COVID-19 prevention practices and 3) COVID-19 prevention practices of village health volunteers’ questionnaire with Cronbach’s alpha coefficient was 0.89. Data were analyzed descriptive statistics and pair t-test and independent t-test. The results revealed that the experimental group had the mean scores on COVID-19 prevention practices of village health volunteers at a highest level ( = 4.59, SD = 0.27) higher than before receiving the empowerment program at a high level ( = 3.53, SD = 0.17) and higher than the control group at a high level ( = 3.55, SD = 0.29) with statistical significance (p<0.001). Research findings can be used as a guideline to promote community nurses and health care teams to reinforce the empowerment of village health volunteers to provide effective and efficiency in COVID-19 prevention practices. They can also be used to prevent the infection of oneself and the community.",
"th": "การศึกษาวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้ เป็นแบบ 2 กลุ่ม วัดผลซ้ำก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของ โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ 2) คู่มือความรู้สำหรับการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และ 3) แบบสอบถามการปฏิบัติ การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ค่าความเชื่อมั่นเป็นค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติเชิงพรรณนา และค่าที ผลการวิจัยพบว่า หลังได้รับโปรแกรมฯ กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับมากที่สุด ( = 4.59, SD = 0.27) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ ที่ระดับมาก ( = 3.53, SD = 0.17) และสูงกว่ากลุ่ม เปรียบเทียบที่ระดับมาก ( = 3.55, SD = 0.29) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทาง ในการส่งเสริมให้พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและทีมสุขภาพ นำไปใช้ในการสร้างเสริมพลังอำนาจของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้านให้มีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชนที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล"
} |
{
"en": "The purposes of this study were to: 1) develop the elderly care indicators 2) to test the structural validity of the elderly care indicators in nursing homes. under the conceptual framework of Thailand Quality Award Category 7. The study was conducted in two stages: ; (i) the development of the elderly care indicators in nursing homes through literature reviews and in-depth interview, and (ii) to test the structural validity by confirmatory factor analysis. The samples in this study, 230 administrators, professional nurses, nursing home personnel, were selected by a random sampling technique. This study used an in-depth interview form and a questionnaire with a reliability value of 0.89. Content analysis, validity and confirmatory factor analysis were used to examine the data. The findings revealed the following 23 indicators of five components on elderly care in nursing homes under the framework of Thailand Quality Award as the followings; five indicators on elderly care process results, three indicators on customers results, seven indicators on workforce results, five indicators on leadership and governance results, three indicators on financial, market, and strategy results, respectively. The confirmatory factor analysis also supported the congruency between the models and the empirical data with the statistically significant at 0.05, the component loading at 0.848 – 0.999, x2 = 327.159 , df= 213, x2/df = 1.535, CFI= 0.960, TLI= 0.952, RMSEA= 0.048 and p-value < 0.05 This study’s indicators of the nursing home might be referred to as indicators of the nursing home.",
"th": "การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้การดูแลผู้สูงอายุ 2) ทดสอบความตรงเชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้การดูแล ผู้สูงอายุในสถานบริบาล ตามกรอบแนวคิดเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติหมวด 7 การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน (1) พัฒนา ตัวบ่งชี้โดยการสังเคราะห์เอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก (2) ทดสอบความตรงเชิงโครงสร้างด้วยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร พยาบาลวิชาชีพ และบุคลากรในสถานบริบาล จำนวน 230 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือคือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกและแบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เนื้อหา หาค่าความตรงของ เครื่องมือและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า ตัวบ่งชี้การดูแลผู้สูงอายุในสถานบริบาลตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ หมวด 7 มี 23 ตัวบ่งชี้ ใน 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านกระบวนการการดูแลผู้สูงอายุ มี 5 ตัวบ่งชี้ 2) ด้านลูกค้า มี 3 ตัวบ่งชี้ 3) ด้านบุคลากร มี 7 ตัวบ่งชี้ 4) ด้านการนำองค์กรและการกำกับดูแลองค์กร มี 5 ตัวบ่งชี้ และ 5) ด้านการเงิน ตลาด และกลยุทธ์ มี 3 ตัวบ่งชี้ มีความตรงเชิงโครงสร้างการดูแลผู้สูงอายุในสถานบริบาล โดยมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบระหว่าง 0.848-0.999 มีค่า x2 = 327.159 df= 213 x2/df = 1.535 CFI= 0.960 TLI= 0.952 RMSEA= 0.048 p-value < 0.05 ตัวบ่งชี้จากการศึกษาครั้งนี้ สถานบริบาลสามารถนำไปกำหนดเป็นตัวบ่งชี้ของสถานบริบาลได้"
} |
{
"en": "This research and development aimed to develop and evaluate a nursing service for the patients with coronary artery bypass graft(CABG) at Sakon Nakhon Hospital. The Mahdjoubi (2009) research methodology was 6 steps and conducted during October 2019-September 2021. The purposive samples were 10 chief nursing officers, 36 registered nurses and 66 patients with CABG. The research tools were composed of the developed a nursing service for patients with CABG (CVI 0.8) consisted of the developed a case management nursing service, clinical nursing practice guideline and nursing specific competency. Data collection instruments consisted of a nursing competency assessment form(Cronbach’s Alpha Coefficient 0.7),focus group questionnaire(CVI 0.8) and satisfaction assessment of nursing service(CVI 0.8). Data were analyzed using group content, mean, percentile, Chi-square test and Wilcoxon Signed Ranks test. The results revealed that: 1) The nursing service system for patients with CABG consisted of 3 components; (1) nursing service system using a case management model. (2) Clinical nursing practice guidelines based on King’s theory including the nursing standard for surgical patients and critical care for 3 parts ; pre-intra and post operative nursing and (3) the 8 specific competencies and 2) The results of the developed nursing service system found that (1)the incident of unpreparedness postponing surgery, patient’s worsens unexpected, surgical wound infection, unexpected death and the specific competency showed significantly, readmission in 28 days showed non significantly (p<.05), and the health care provider were highest satisfaction.",
"th": "การวิจัยและพัฒนา วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินผลลัพธ์ระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือด หัวใจ ดำเนินการตุลาคม 2562-กันยายน 2564 ใช้ระเบียบวิจัยมาโจวบี 6 ขั้นตอน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร 10 คน พยาบาล วิชาชีพ 36 คนและผู้ป่วย 66 คน เครื่องมือในการทดลอง คือ ระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ CVI 0.8 ประกอบด้วย การจัดบริการพยาบาลโดยใช้การจัดการรายกรณี แนวปฏิบัติการพยาบาลและสมรรถนะพยาบาล เครื่องมือ เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินสมรรถนะ ค่าอัลฟ่าครอนบาค 0.7 แนวทางการสนทนากลุ่ม CVI 0.8 และแบบประเมิน ความพึงพอใจ CVI 0.8 วิเคราะห์โดยจัดกลุ่มเนื้อหา ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ไคส์แควร์และวิลค็อกซัน ผลการศึกษา 1) ระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) การจัดบริการ พยาบาลโดยใช้การจัดการรายกรณี (2) แนวปฏิบัติพยาบาล ประยุกต์ทฤษฎีการบรรลุเป้าหมายของคิงร่วมกับมาตรฐานการพยาบาล ผู้ป่วยผ่าตัดและผู้ป่วยหนัก 3 ระยะ คือ ก่อนการผ่าตัด ขณะผ่าตัดและหลังผ่าตัด และ (3) สมรรถนะพยาบาล 8 ด้าน และ 2) ผลลัพธ์การพัฒนา พบว่า การเลื่อนผ่าตัด ผู้ป่วยทรุดลงโดยไม่ได้คาดหมาย การติดเชื้อแผลผ่าตัดและผู้ป่วยเสียชีวิตลดลงกว่า ก่อนการพัฒนาสมรรถนะพยาบาลสูงกว่าก่อนการพัฒนา การกลับมารักษาซ้ำภายใน 28 วันไม่มีความแตกต่างกัน (p<.05) และพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด"
} |
{
"en": "The purpose of this research was to develop the quality of a clinical competency assessment model for nursing students based on Miller’ s Learning Framework using entrustable professional activities. The research informants developed a clinical competency assessment model consisted of 37 nursing experts. The samples for the trial of clinical competency assessment model and examining the quality of the developed model were 2 nursing instructors, and 10 fourth-year nursing students. The research instruments consisted of the Entrustable Professional Activity Scale and Clinical Competency Assessment Scale, and the scoring rubrics. The results were summarized as follows: The development of the clinical competency assessment model consisted of 1) 82 essential entrustable professional activities of nursing students, classified into 25 domains. The activities were divided into 5 levels of supervision from levels 1 to 5 consisting of 4, 25, 12, 20 and 21 activities, respectively, 2) Clinical competency assessment components consisting of 5 core nursing professional competencies with 22 indicators, and 3) The developed clinical competency assessment model and the scoring rubrics; nursing practice was the most important core competency component, followed by core competency in the ethics, code of conduct and law. The clinical competency assessment model consisted of three stages: preparatory, operational, and concluding. The results of this study show that the developed clinical competency assessment model is appropriate, and the clinical competency assessment scale is of satisfactory quality in terms of validity and reliability. Therefore, it is recommended that nursing institutions use it as a tool to assess the clinical competency of nursing students who are graduating to build confidence in the quality of nursing practice upon graduation.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการประเมินสมรรถนะทางคลินิกของนักศึกษาพยาบาลตามกรอบการเรียน รู้ของมิลเลอร์ โดยใช้การกำหนดกิจกรรมสมรรถนะทางวิชาชีพที่เชื่อมั่นได้ ผู้ให้ข้อมูลในการพัฒนารูปแบบการประเมินสมรรถนะ ทางคลินิก คือ ผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาลจำนวน 37 คน กลุ่มตัวอย่างในการทดลองใช้รูปแบบการประเมินสมรรถนะทางคลินิก ที่พัฒนาขึ้นคือ อาจารย์พยาบาล จำนวน 2 คน และนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบ ด้วย แบบสอบถามกิจกรรมสมรรถนะทางวิชาชีพที่เชื่อมั่นได้ และแบบประเมินสมรรถนะทางคลินิกและเกณฑ์การให้คะแนน ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ รูปแบบการประเมินสมรรถนะทางคลินิกที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 1) กิจกรรมสมรรถนะทางวิชาชีพที่เชื่อมั่นได้ที่จำเป็น ของนักศึกษาพยาบาล จำนวน 25 ด้าน 82 กิจกรรม โดยแบ่งกิจกรรมตามระดับการดูแลเป็นระดับที่ 1 ถึง ระดับที่ 5 เป็น 4, 25, 12, 20 และ 21 กิจกรรม ตามลำดับ 2) องค์ประกอบการประเมินสมรรถนะทางคลินิก ประกอบด้วย สมรรถนะหลักทางวิชาชีพ การพยาบาล 5 องค์ประกอบ และตัวบ่งชี้ระดับความสามารถทั้งหมด 22 ตัวบ่งชี้ 3) แบบประเมินสมรรถนะทางคลินิกและเกณฑ์ การให้คะแนนที่พัฒนาขึ้นพบว่า สมรรถนะหลักด้านการปฏิบัติการพยาบาลมีความสำคัญมากที่สุด รองลงมาคือ สมรรถนะหลักด้าน จริยธรรมจรรยาบรรณและกฎหมาย และรูปแบบการประเมินสมรรถนะทางคลินิก ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียม ขั้นดำเนิน การ และขั้นสรุป ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า รูปแบบการประเมินสมรรถนะทางคลินิกที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสม และแบบ ประเมินสมรรถนะทางคลินิกมีคุณภาพด้านความตรงและความเที่ยงอยู่ในระดับที่น่าพอใจ จึงมีข้อเสนอแนะให้สถาบันทางการ พยาบาลนำไปใช้เป็นเครื่องมือประเมินสมรรถนะทางคลินิกของนักศึกษาพยาบาลที่กำลังจะสำเร็จการศึกษาเพื่อสร้างความเชื่อมั่น ในการปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างมีคุณภาพเมื่อสำเร็จการศึกษา"
} |
{
"en": "This research and development aims to develop nursing for critically ill pediatrics with endotracheal intubation in Pediatrics Intensive care unit of Lerdsin hospital with sample of 12 Registered nurses and is critical ill patients. Research instruments were the questionnaire study on the knowledge of endotracheal intubation nursing care content validity index CVI= 0.95 Reliability of the test by Kuder-Richardson 20 (KR-20) = 0.93, Nursing standard process and job satisfaction of Registered nurses content validity index (CVI) = 0.96, which calculated in Cronbach’s Alpha co efficient = 0.91 and 0.94 respectively Data were analyzed by descriptive statistics and pair t-test The interpretation yielded the nursing model of critically ill pediatrics with ventilator support in Lerdsin Hospital consisted with 4 strategies, 1) organization structure 2) sufficient equipments 3) Improved untically ill pediatrics nursing care knowledge 4) Develop nursing model for critically ill pediatrics to prevent ventilator associated pneumonia and decrease incidence of endotracheal tube displacement Results of the study showed that the studied nursing model is appropriate, accurate and practical in accordance with the nursing assessment standards. Moreover, the results also showed that by using the 4 strategies, the incidence of Ventilator Associated Pneumonia (VAP) decreased which were statistically significant (p<0.01).On the other hand, the incidence of endotracheal tube dislocations also decreased, yet not statistically significant. In conclusion, this study has a positive effect on nursing of critically ill pediatric patients with respiratory problems who were put on ventilator in Lerdsin Hospital.",
"th": "งานวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยเด็กวิกฤตที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจที่ใช้ เครื่องช่วยหายใจ หอผู้ป่วยเด็กวิกฤต โรงพยาบาลเลิดสิน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ จํานวน 12 คน และผู้ป่วยเด็กวิกฤต จํานวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามความรู้เรื่องการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ มีค่าดัชนีความตรงของ เนื้อหา (CVI)เท่ากับ 0.95 ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20 ให้เท่ากับ 0.93 แบบสอบถามการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ ตามมาตรฐาน การพยาบาลและแบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ 0.96 และ 1.00 ไป คํานวณหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบัค (Cronbach’s Alpha Coefficient) เท่ากับ 0.91 และ 0.94 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติ พรรณาและสถิติ การทดสอบ Pair t-test ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการพยาบาลของผู้ป่วยเด็กวิกฤตที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ ใน โรงพยาบาลเลิดสิน ประกอบด้วยกลยุทธ์ 4 ส่วน คือ (1) จัดโครงสร้างให้เหมาะสม (2) จัดหาอุปกรณ์ให้เพียงพอ (3) พัฒนา ความ รู้ในการให้บริการพยาบาลผู้ป่วยเด็กวิกฤต และ (4) พัฒนาแนวทางการพยาบาลผู้ป่วยเด็กวิกฤต เพื่อป้องกันภาวะปอดอักเสบจาก การใช้เครื่องช่วยหายใจและลดอุบัติการณ์ของท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด ผลการใช้รูปแบบการพยาบาลฯ มีความเป็นไปได้ เหมาะสม ถูกต้อง เป็นประโยชน์ตามมาตรฐานการพยาบาล โดยหลัง การใช้รูปแบบการพยาบาลฯ พยาบาลผู้ดูแลเด็กวิกฤตมีความรู้เรื่องการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่อง ช่วยหายใจและคุณภาพการพยาบาล ตามมาตรฐานเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยเด็กวิกฤตเกิดภาวะปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจลดลงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .01) ส่วนการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจลดลงอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .01) สรุปได้ว่า การศึกษาครั้งนี้ รูปแบบ กา รพยาบาลฯ ที่พัฒนาขึ้นส่งผลลัพธ์ที่ดีต่อการพยาบาลผู้ป่วยเด็กวิกฤตที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจในโรง พยาบาลเลิดสิน"
} |
{
"en": "The objectives of this research are to develop and to evaluate the outcomes of the respiratory critical nursing system proposed in the Coronavirus 2019 epidemic. This developmental research was divided into 3 phases. Phase 1: Analyze the situation concerning the present patients with respiratory deterioration nursing system. Phase 2: A respiratory critical nursing system was being developed. Phase 3: Evaluation for the effectiveness of the proposed nursing system. The sample group consisted of (1) 30 professional nurses working in wards for Emerging/Re-emerging Diseases 6/5 between October and December 2021. These samples were chosen through purposeful sampling. (2) 34 critical ill patients who were treated during the same period. Research tools were an interview form, a guideline for the use of mechanical ventilator in respiratory deterioration patients, Nursing knowledge assessment form for respiratory critical nursing care and patient data record form. Data obtained were analyzed by descriptive statistics and Paired Samples t-test. The study on the effectiveness of the respiratory critical nursing system for patients with respiratory deterioration found that the knowledge scores on the care of patients with respiratory deterioration after using the respiratory intensive care system was significantly higher than before using the system (p<0.05). Assessing the suitability and feasibility of the respiratory critical nursing system was found to be at high-level (mean 3.67). Patient survival rate was 88.3%. No personnel infection was found.",
"th": "การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและประเมินระบบการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตระบบทางเดินหายใจ ในสถานการณ์ระบาดโรคโคโรนาไวรัส 2019 แบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 วิเคราะห์สถานการณ์ระบบการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ระบบทางเดินหายใจ ระยะที่ 2 การพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตระบบทางเดินหายใจ ระยะที่ 3 ศึกษาประสิทธิผล ของระบบการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตระบบทางเดินหายใจ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยโรคอุบัติใหม่/ อุบัติซ้ำ 6/5 ในเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2564 คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 30 ราย และผู้ป่วยวิกฤตที่เข้ารับการรักษา ในช่วงเวลาเดียวกัน จำนวน 34 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ แนวทางการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตระบบทาง เดินหายใจ แบบประเมินความรู้การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตระบบทางเดินหายใจ แบบเก็บข้อมูลผู้ป่วยวิกฤต วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ เชิงพรรณนา และ Pair t-test ผลการวิจัย พบว่าประสิทธิผลของระบบการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตระบบทางเดินหายใจ พบว่า คะแนนความรู้ เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตระบบทางเดินหายใจ หลังการใช้ระบบการพยาบาล สูงกว่าก่อนการใช้ระบบ (p<.05) การประเมิน ความเหมาะสมของระบบ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.67) อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วย ร้อยละ 88.3 ไม่พบการติดเชื้อของ บุคลากร"
} |
{
"en": "This research aimed to study and compare the caring behavior towards the elderly patients of nursing students at Police Nursing College. The purposive sampling was 180 police nursing students, academic year 2020, second, third and fourth year. The research instrument was the caring behavior questionnaire, developed by Porranee Luengarun et al. The content validity index was reported at .89 The Cronbach’s alpha coefficient of the questionnaire was .95 Data were analyzed by descriptive statistics in mean and standard deviation. Mean difference analysis with One - way ANOVA and Post Hoc test. The results were found that the caring behavior for elderly patients of Police Nursing Students were at very good level (M = 4.62, S.D. = .39). The highest average score was the second year, followed by third and fourth year respectively (M = 4.69, 4.67 and 4.48 S.D. = .31, .41 and .43 respectively). The caring behavior towards elderly patients of nursing students in all 3 years had a statistically significantly difference in means at P < .05. When considering each aspect, it was found that there were 3 statistically significantly different components, these were mental and spiritual support between second and fourth year (M = 4.71, 4.46 S.D. = .35, .47) and between third and fourth year (M = 4.73, 4.46 S.D. = .44, .47).The effective communication and respect were difference between second and fourth year (M = 4.76, 4.51 S.D. = .32, .45; M = 4.77, 4.59 S.D. = .26, .41) Therefore, nursing education programs should provide instruction that encourage students to have the opportunity to take care closely and communicate more with patients in practicum nursing.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทรต่อผู้ป่วยสูงอายุของนักศึกษา พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกอย่างจำเพาะเจาะจง คือ นักศึกษาพยาบาลตำรวจ ปีการศึกษา 2563 ชั้นปีที่ 2, 3 และ 4 จำนวน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบวัดพฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทรของนักศึกษาพยาบาล ของภรณี เลื่องอรุณ และคณะ ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา .89 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบครอนบาค .95 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วย One-way ANOVA และ Post Hoc test ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทรต่อผู้ป่วยสูงอายุโดยรวมของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับมากที่สุด (M = 4.62, S.D. = .39) โดยชั้นปีที่ 2 มีระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาเป็นชั้นปีที่ 3 และ 4 ตามลำดับ (M= 4.69, 4.67 และ 4.48 S.D. = .31, .41 และ .43 ตามลำดับ) เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลอย่างเอื้ออาทรต่อผู้ป่วยสูงอายุของนักศึกษาพยาบาล ทั้ง 3 ชั้นปี พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพิจารณารายด้าน พบว่า มี 3 องค์ประกอบแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ด้านการสนับสนุนประคับประคองจิตใจและจิตวิญญาณ ชั้นปีที่แตกต่างกันได้แก่ ชั้นปีที่ 2 กับ ชั้นปีที่ 4 (M = 4.71 และ 4.46 S.D. = .35 และ .47) และชั้นปีที่ 3 กับชั้นปีที่ 4 (M = 4.73 และ 4.46 S.D. = .44 และ .47) ส่วนการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และการเคารพในบุคคล ชั้นปีที่แตกต่างกันได้แก่ ชั้นปีที่ 2 กับ ชั้นปีที่ 4 (M = 4.76 และ 4.51 S.D. = .32 และ .45, M = 4.77 และ 4.59 S.D. = .26 และ .41) ดังนั้นการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ควรออกแบบ การเรียนการสอนในภาคปฏิบัติที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีโอกาสดูแลเอาใจใส่ใกล้ชิดรวมถึงทักษะในการสื่อสารกับผู้ป่วยให้มากขึ้น"
} |
{
"en": "This study aimed to explore the level of numerical skills among police nursing students and compare it between difference 4 years of study. The participants were 273 police nursing students and recruited by using purposive selection technique. Instrument used for data collection was the test of numerical skills. Its content validity was tested by three experts and reported as 1.00. It was tried out this instrument with forty nursing students who had similar characteristics with the study’s participants. Its reliability was tested using the KR-20 and found as .70. The mean item difficulty was .643 and mean discrimination index was .335. Data were analyzed using descriptive statistics and one-way ANOVA. Post hoc test was utilized to compare the mean differences among each pair by Scheffe’s method. The results showed that police nursing students had low level scores of numerical skills (M = 35.52, SD = 9.03). Third year nursing students had the highest average of numeric skills scores (M = 40.05, SD. = 7.40), followed by the fourth year, second year, and first year nursing students respectively. The result about comparing the mean score of the overall numerical skills and three dimensions with police nursing students on the 4-year course, there were differences of (F = 31.476, 4.205, 16.986 and 24.178, respectively). Second year nursing students had significantly lower mean score of the overall numerical skills than third year nursing students. Each dimension of numerical skills, significantly difference in mean score of mathematical basic skill, it was found mean difference in the third year and fourth year nursing students (Mean Difference = .690, p < .05). However, First year students had the mean score of simple nursing calculation skill and complex nursing calculation skill significantly lower than third-, fourth- and second-year nursing students, respectively (p< .05).",
"th": "การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขของนักศึกษาพยาบาลตำรวจทั้ง 4 ชั้นปี และเปรียบเทียบทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขของนักศึกษาพยาบาลตำรวจ 4 ชั้นปี กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลตำรวจ จำนวน 273 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข มีความตรง เชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน เท่ากับ 1.00 และผ่านการทดลองใช้จากนักศึกษาพยาบาลที่มีลักษณะคล้ายกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 40 คน มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับจากการคำนวณด้วยสูตร KR-20 เท่ากับ .70 มีค่าความยากเท่ากับ .643 และอำนาจจำแนก เท่ากับ .335 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา การวิเคราะห์แปรปรวนแบบทางเดียวและการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Scheffe ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาพยาบาลตำรวจมีคะแนนทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขอยู่ในระดับน้อย (M = 35.52, SD = 9.03) โดยชั้นปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขมากที่สุดและอยู่ในระดับน้อย (M = 40.05, SD = 7.40) รองลงมา คือ ชั้นปีที่ 4 ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 1 ตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขโดยรวม และรายด้านทั้ง 3 ด้าน พบว่า มีความแตกต่างกันตามชั้นปี (F = 31.476, 4.205, 16.986, และ 24.178 ตามลำดับ, p < .05) นักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 2 มีคะแนนเฉลี่ยทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขโดยรวมน้อยกว่าชั้นปีที่ 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (p < .05) และนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 และ 4 มีคะแนนเฉลี่ยทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ด้านการคำนวณพื้นฐาน ทางคณิตศาสตร์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p < .05) และนักศึกษาพยาบาลตำรวจ ชั้นปีที่ 1 มีคะแนนเฉลี่ย ด้านการคำนวณอย่างง่ายทางการพยาบาลและด้านการคำนวณที่ซับซ้อนทางการพยาบาลน้อยกว่า ชั้นปี 3, 4 และ 2 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)"
} |
{
"en": "This quasi-experimental research aimed to study the effect of an online Lesson on the calculation competence of medication and intravenous fluids in Nursing Students, a two-group pretest-posttest. The sample was a number of 78 first-year police nursing students enrolled in the Fundamental nursing course in the academic year 2020. The systematic randomizing was divided into an experimental group using the online lesson and a control group using conventional learning. The experiments were conducted over four weeks, and data were collected using: 1) Online Lesson, 2) The knowledge and skill test on the calculation of drugs and intravenous fluids, and 3) The online lesson satisfaction assessment. The data were analyzed by 1) Comparing the average scores of knowledge and skills in the calculation of drugs and intravenous fluids of the students in the experimental group by using a statistical method, paired t-test, 2) Comparing the average scores of knowledge and skills in the calculation of drugs and intravenous fluids between the experimental group with the control group by using a statistical method, independent t-test, and 3) Analyze students’ learning satisfaction toward using the online lesson by using the statistical mean and standard deviation. The results showed that the average scores after learning of the experimental group and the control group were higher than before learning those, and comparison between the experimental group and the control group, the results showed that the average scores of the experimental group were higher than the control group, significant at the .01 level (p<.05)",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของบทเรียนออนไลน์ต่อความสามารถในการคำนวณยาและสารน้ำที่ให้ ทางหลอดเลือดดำของนักศึกษาพยาบาล แบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาพยาบาลตำรวจ ชั้นปี 1 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน ปีการศึกษา 2563 จำนวน 78 คน สุ่มอย่างเป็นระบบ แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง เรียนโดยใช้บทเรียนออนไลน์ และกลุ่มควบคุมเรียนด้วยการสอนรูปแบบเดิม ทดลอง 4 สัปดาห์และเก็บข้อมูลโดยใช้ 1) สื่อบทเรียน ออนไลน์ 2) แบบทดสอบความรู้และทักษะการคำนวณยาและสารน้ำ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อบทเรียนออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดย 1) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้และทักษะการคำนวณยาและสารน้ำหลังเรียนของกลุ่มทดลอง ด้วยสถิติ paired t-test 2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้และทักษะการคำนวณยาและสารน้ำหลังเรียนระหว่างกลุ่มทดลองกับ กลุ่มควบคุม ด้วยสถิติ Independent t-test และ 3) ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้บทเรียนออนไลน์ ด้วยสถิติค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าผู้เรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้และทักษะการคำนวณยาและสารน้ำหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง และเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า หลังเรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนน ความรู้และทักษะการคำนวณยาและสารน้ำสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p<.05)"
} |
{
"en": "This research aimed to investigate the effects of multi-scenario simulation learning program to enhance military nursing knowledge, military nursing skill performance, level of self-confidence in military nursing roles and program satisfaction. Study participants were 100 senior nursing students at the Royal Thai Army Nursing College. Research instruments composed of 1) the multiple-choice questions of military nursing knowledge 2) the self-confidence in military nursing roles questionnaire 3) the military nursing skill evaluation form, and 4) the program satisfaction questionnaire. Data was analyzed by using average score, standardized deviation, and paired t-test. The research result showed that the average score of military nursing knowledge and self-confidence level in military nursing roles among nursing students after engaging in the training program was statistically significantly higher than before. Furthermore, the result showed that the average score of military nursing skill performance was at good level and the average score of program satisfaction was at an excellent level.",
"th": "การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการฝึกปฏิบัติการพยาบาลทหารโดยใช้สถานการณ์เสมือนจริง ต่อความรู้ด้านการพยาบาลทหาร ความมั่นใจในการปฏิบัติบทบาทพยาบาลทหารบก ทักษะการจัดการในบทบาทพยาบาลทหารบก และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนในนักเรียนพยาบาลกองทัพบกชั้นปีที่ 4 จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ 1) แบบ วัดความรู้ด้านการพยาบาลทหาร 2) แบบสอบถามความมั่นใจในการปฏิบัติบทบาทพยาบาลทหารบก 3) แบบประเมินทักษะ การจัดการในบทบาทพยาบาลทหารบก และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลวิจัยพบว่า หลังได้รับการจัดการเรียนการสอนด้วยโปรแกรมการฝึกปฏิบัติการพยาบาลทหารโดยใช้สถานการณ์ เสมือนจริง กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของความรู้ด้านการพยาบาลทหาร ความมั่นใจในการปฏิบัติบทบาทพยาบาลทหารบก สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ มีทักษะการจัดการในบทบาทพยาบาลทหารบกอยู่ในระดับดี และมีความ พึงพอใจต่อโปรแกรมการฝึกอยู่ในระดับดีมาก"
} |
{
"en": "The purposes of this descriptive study were 1) to investigate personal factors, positive psychological capital, and the positive practice environment of Generation Y professional nurses at a Public Hospital, Ubon Ratchathani Province; and 2) to explore the correlation among their personal factors, positive psychological capital, and positive practice environment.The sample comprised 129 registered Generation Y aged nurses who worked at a public hospital in Ubon Ratchathani Province. They were selected by simple random sampling. Research tools comprised questionnaires with 3 parts including 1) personal factors, 2) positive psychological capital, and 3) positive practice environment. The tools were tested for content validity. The reliabilities of the second and the third sections were .92 and .96 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and Spearman rank correlation coefficient. The major findings were as follows. 1) Job duration of generation Y professional nurses was mostly 1-5 years (53.5%), and working hours per week was more than 48 hours (88.4%). Positive psychological capital was rated at the highest level (M = 4.59), and positive practice environment was rated at high level (M = 4.37). 2) Working hours per week and positive psychological capital were significantly and moderately positively related to positive practice environment at the level .001. However, job duration was not related to positive practice environment. The findings suggested that administrators should concern with Positive Practice Environment, Positive psychological capital, Working hours per week, Professional nurse, Generation Y. Performing tasks with good quality of work life this will bring good results to service recipients.",
"th": "การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ทุนจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการ ปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวาย โรงพยาบาลของรัฐแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคล ทุนจิตวิทยาเชิงบวกกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชันวาย กลุ่มตัวอย่างเป็น พยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชันวายซึ่งปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลของรัฐแห่งหนึ่งจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 129 คน ซึ่งได้จากการสุ่ม ตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วนได้แก่ 1) ปัจจัยส่วนบุคคล 2) ทุนจิตวิทยาเชิงบวก และ 3) สภาพแวดล้อมการ ปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชันวาย ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความ เที่ยงของแบบสอบถามส่วนที่ 2 และ3 ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ สเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า 1) พยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชันวายส่วนใหญ่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 1-5 ปี (ร้อยละ 53.5) และจำนวนชั่วโมงการปฏิบัติงานในหนึ่งสัปดาห์มากกว่า 48 ชั่วโมง (ร้อยละ 88.4%) ส่วนทุนจิตวิทยาเชิงบวกมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ ในระดับสูงที่สุด (M = 4.59) และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง (M = 4.37) 2) จำนวนชั่วโมง การปฏิบัติงานในหนึ่งสัปดาห์และทุนจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับสิ่งแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 แต่ระยะเวลาในการปฏิบัติงานพยาบาลวิชาชีพไม่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน ที่ดีของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชันวาย จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะว่า ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดี ทุนจิตวิทยาเชิงบวก จำนวนชั่วโมงการปฏิบัติงานในหนึ่งสัปดาห์เพื่อให้พยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชันวายปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดี ซึ่งจะก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้รับบริการคำสำคัญ ปัจจัยส่วนบุคคล ทุนจิตวิทยาเชิงบวก สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี พยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชันวาย"
} |
{
"en": "This quantitative study aimed to develop a measurement scale for the safety outcomes of operating rooms in general hospitals. The study used a quantitative research to develop the safety outcome scale based on the safety outcome concept of Donabedian. This study used of Devellis method for scale development. Descriptive statistics and exploratory factor analysis (EFA) were used to determine the validity of the instrument.The examination of the content validity by 7 experts revealed a content validity index = 0.90. The internal consistency reliability with Cronbach’s alpha coefficient was .98. The construct validity was performed by using EFA with 326 operating room nurses at 21 general hospitals. The safety outcome instrument consisted of three components with 29 indicators: 1) patientcenteredness composed of 11 indicators; 2) desired outcomes composed of 12 indicators and 3) effectiveness and efficacy composed of 6 indicators. The EFA showed that the factor loading of the indicators was between 0.55-0.83, all of which were statistically significant at .001. The developed instrument was congruent with empirical data (KMO = 0.96, df = 406, χ2 = 8577.305 and p <.001). The three components of the safety outcome measurement were explained by 27.05%, 24.77% and 16.28% with total of variance at 68.10%, respectively. The division head nurses should use the safety outcome measurement to measure the level of safety outcomes of operating rooms, thereby leading to patient safety.",
"th": "การวิจัยเชิงปริมาณนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือวัดผลลัพธ์ด้านความปลอดภัยงานการพยาบาลผู้ป่วยห้องผ่าตัด โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ตามแนวคิดของโดนาบีเดียน มีขั้นตอนการสร้างเครื่องมือตามกรอบการสร้างเครื่อง มือวัดของเดเวลลิส ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ .90 และค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ .98 กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพห้องผ่าตัดจำนวน 326 คน จำนวน 21 แห่ง ใช้สถิติการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ (EFA) การวิจัยครั้งนี้พบว่าผลลัพธ์ด้านความปลอดภัยของงานการพยาบาลผู้ป่วยห้องผ่าตัด มีองค์ประกอบ 3 ด้าน ประกอบด้วย 29 ข้อคำถาม ดังนี้ 1) ด้านการดูแลที่ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางประกอบด้วย 11 ข้อคำถาม 2) ด้านผลลัพธ์ที่ต้องการ ประกอบด้วย 12 ข้อคำถาม และ 3) ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประกอบด้วย 6 ข้อคำถาม มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (Factor loading) อยู่ระหว่าง 0.55-0.83 ที่นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (KMO = 0.96, df = 406, χ2 = 8577.305 และ p <.001) มีค่าความแปรปรวนในแต่ละองค์ประกอบดังนี้ 27.05%, 24.77% และ 16.28% ตามลำดับและมีค่าความแปรปรวนร่วมเท่ากับ 68.10% ดังนั้นหัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยห้องผ่าตัดควรนำเครื่องมือวัดนี้ไป ใช้เป็นแนวทางวัดระดับผลลัพธ์ด้านความปลอดภัยของห้องผ่าตัดในโรงพยาบาลทั่วไปซึ่งจะนำไปสู่ความปลอดภัยของผู้ป่วย"
} |
{
"en": "This quasi-experimental research (single group, pre- and post-test) aimed to study the effect of nutritional promotion model among pregnant women by applying motivation interviewing (MI) in ANC Clinic, Regional Health Promotion 10, Ubonratchathani. The participants were selected pregnant women who came to the antenatal clinic for 5 times during 2017-2019. The intervention program was consisting of 5 quality times including, 1) Stimulating awareness of love for yourself and child 2) Reviewing progress of maternal and child health conditions 3) Building confidence, knowing obstacles, 4) Behavioral empowerment from mother to child and 5) the infant health status. Nutrition assessment, self-determination and health planning were using in each interview. The data were collected from antenatal care record and then analyzed using descriptive statistics, paired sample t-test. The finding reveal that most of pregnant women (n = 71) who attended the antenatal care service were first pregnancy 45.1% and when pregnant before 9 weeks, 39.4. The average score of food consumption behavior and the weight of pregnant women was significantly different at the p-value",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของรูปแบบการส่งเสริมโภชนาการ สำหรับหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้การสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจ คลินิกฝากครรภ์ ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี ในหญิงตั้งครรภ์ที่มา ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งคุณภาพ ระหว่างปี พ.ศ.2560-2562 โปรแกรมแทรกแซง ประกอบด้วย 5 ครั้งคุณภาพ 1) กระตุ้นความตระหนัก รักตัวเองและลูก 2) ทบทวนความก้าวหน้าภาวะสุขภาพแม่และลูก 3) สร้างความเชื่อมั่นรู้ทันอุปสรรค 4) เสริมพลังปรับพฤติกรรม แม่สู่ลูก และ 5) ชี้คุณค่าภาวะสุขภาพลูกน้อย แต่ละครั้งจะมีการประเมินภาวะโภชนการและภาวะสุขภาพ กำหนดเป้าหมาย และวางแผนด้วยตนเอง เก็บข้อมูลด้วยแบบบันทึกประวัติการตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ ภาวะโภชนาการและภาวะสุขภาพวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมานด้วย Paired sample t-test ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างหญิงตั้งครรภ์จำนวน 71 คน เป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรก ร้อยละ 45.1 เมื่ออายุครรภ์ก่อน 9 สัปดาห์ ร้อยละ 39.4 ภายหลังการทดลอง ส่งผลให้ค่าคะแนน เฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และน้ำหนักหญิงตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p-value"
} |
{
"en": "This cross-sectional study aimed to examine the factors that effect on nurses’ pain management practice in hospitalized neonates in Thailand. The participants performed involving 118 neonatal nurses working in the Neonatal Intensive Care Units (NICUs) from general hospitals in Thailand by using multistage sampling. The instruments consisted of the Nurse’s Knowledge Regarding Pain Management in Neonates, the Nurse’s attitude Regarding Pain Management in Neonates, and the Nurses’ Pain Management Practice Questionnaire. The reliability of instruments were 0.70, 0.72, and 0.80 respectively. Data analyzed by using descriptive statistic and Multiple Regression Analysis. The results shown that most neonatal nurses had often providing a practice on procedural pain management in neonates. Nurse’s knowledge regarding pain management in neonates, nurse’s attitude regarding pain management in neonates, and experience of infant care together explained 40.9% of the total variance of nurses’ pain management practice in neonates. Knowledge distinctively acted as the most significant predictor of pain management practice (β = .435, p<.001), followed by attitude (β = .257, p = .001) and experience of infant care (β = .236, p<.01). These findings suggest that nurse administrators should promote nurses’ competencies by providing a mentoring system, create courses for neonatal pain management, and providing the guideline for neonatal pain management in their units.",
"th": "การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลเพื่อ จัดการความปวดในทารก กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤติของโรงพยาบาลทั่วไปในประเทศไทย จำนวน 118 ราย ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ความปวดในทารกแรกเกิด แบบประเมินทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการความปวดในทารกแรกเกิด แบบประเมินการปฏิบัติของพยาบาล ในการจัดการความปวดของทารกแรกเกิด ที่มีค่าความเที่ยง 0.70, 0.72, และ 0.80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และสถิติถดถอยพหุ ผลการศึกษา พบว่าพยาบาลส่วนใหญ่มีการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลเพื่อจัดการความปวดในทารกแรกเกิด และพบ ว่าทั้งความรู้ ทัศนคติและประสบการณ์การดูแลทารกแรกเกิดในโรงพยาบาลร่วมกันทำนายความแปรปรวนของการปฏิบัติกิจกรรม การพยาบาลเพื่อจัดการความปวดในทารกแรกเกิดได้ร้อยละ 40.9 (p<.001) โดยความรู้มีอิทธิพลต่อการจัดการความปวดในทารก แรกเกิดในโรงพยาบาลมากที่สุด (β = .435, p<.001) รองลงมาคือ ทัศนคติของพยาบาล (β = .257, p = .001) และประสบการณ์ การดูแลทารกแรกเกิดในโรงพยาบาล (β = .236, p<.01) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้บริหารการพยาบาลควรส่งเสริมสมรรถนะของ พยาบาล เช่น จัดให้มีระบบพยาบาลพี่เลี้ยง มีหลักสูตรการจัดการความปวดในทารกแรกเกิด และพัฒนาแนวปฏิบัติการจัดการ ความปวดในทารกแรกเกิดในหน่วยงานของโรงพยาบาล"
} |
{
"en": "This predictive correlational research aimed to study the factors predicting delayed progression of CKD behavior among patients with chronic kidney disease stage G1-G2. The samples consisted of 126 CKD patients with stage G1-G2. Data were collected from November to December,2020. The research instrument was composed of the recording form of personal information, the social support, the health literacy, the health belief and a questionnaire of delayed progression of CKD behavior. The data were analyzed using descriptive statistic and multiple regression analysis method. The research results revealed that CKD patients with stage G1-G2. social support, health literacy and health belief can predict delayed progression of CKD behavior among patients with chronic kidney disease stage G1-G2 were statistically significant accounted for 18.3% (β = .141, .259, .203, p < .05, respectively). The most significant predicting factor is health literacy, followed by health belief, but income cannot predict delayed progression of CKD behavior (β = .042, p.859). The result of this study could be used as guideline to develop the delayed progression of CKD behavior promoting program for CKD patients with stage G1-G2.",
"th": "การวิจัยนี้เป็นการวิจัยพรรณนาเชิงทำนาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วย โรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2 จำนวน 126 คน เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563 เครื่องมือวิจัยประกอบไปด้วย 5 ส่วนได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามความรอบรู้ทางสุขภาพ แบบสอบถามความเชื่อด้านสุขภาพ และแบบสอบถามพฤติกรรมการชะลอไตเสื่อม วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติ เชิงพรรณนา และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า แรงสนับสนุนทางสังคม ความรอบรู้ทางสุขภาพ และความเชื่อด้านสุขภาพ สามารถร่วมกันทำนาย พฤติกรรมการชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .141, .259, .203, p < .05 ตามลำดับ) และสามารถร่วมกันทำนายได้ร้อยละ 18.3 โดยปัจจัยด้านความรอบรู้ทางสุขภาพมีอำนาจในการทำนายพฤติกรรม การชะลอไตเสื่อม ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2 ได้มากที่สุด รองลงมาคือปัจจัยด้านความเชื่อด้านสุขภาพ แต่ปัจจัยด้านรายได้ไม่สามารถ ทำนายพฤติกรรมการชะลอไตเสื่อมได้ (β = .042 p.859) ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาเป็นโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อมในระยะที่ 1-2 ได้"
} |
{
"en": "This research and development. Objectives 1.To develop a service process model 2. To compare the waiting times before and after using the service process model and 3.To increase satisfaction score on Check Up Program.The data were collected during March-June, 2020. (Excluding April 2020 the TU Health Check Up Center was closed due to COVID-19). Results comparing time using the old model which consists of 11 steps and improved model of 9 steps, we found that the time taking on choosing Check Up Program was reduced and contact the financial department was reduce and getting EKG was reduced. This model couldn’t reduce time in others process. In addition, improved process provides smoother and less complications for faster service and satisfaction level of .05",
"th": "การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนารูปแบบขั้นตอนการรับบริการตรวจสุขภาพ 2. เพื่อเปรียบเทียบ ระยะเวลาการรอคอยก่อนและหลังการใช้รูปแบบขั้นตอนการรับบริการตรวจสุขภาพ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจการรับบริการตรวจ สุขภาพ เก็บข้อมูลเดือนมีนาคม – มิถุนายน 2563 (ยกเว้นเดือนเมษายนปิดบริการเนื่องการระบาดของโควิด-19) ผลการวิจัยพบว่าระยะเวลาจากขั้นตอนเดิม จำนวน 11 เหลือ 9 ขั้นตอนหลังการปรับรูปแบบช่วยลดขั้นตอนติดต่อ พยาบาลคัดกรอง/เลือกโปรแกรม ขั้นตอนติดต่อการเงิน ร่วมกับขั้นตอนตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การปรับรูปแบบบริการไม่สามารถ ช่วยลดระยะเวลาขั้นตอนอื่นๆได้ ระดับความพึงพอใจพบว่า การได้รับบริการที่ตรงตามความต้องการ ลำดับต่อมาคือ ขั้นตอนในการ ให้บริการมีความคล่องตัวและไม่ยุ่งยาก มีความรวดเร็วทันตามกำหนดเวลาในการให้บริการ มีความแตกต่างของค่าเฉลี่ยอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติ .05"
} |
{
"en": "The number of electronic cigarette smoking among adolescents is increasing continuously because of the belief that e-cigarettes are safer than regular cigarettes. The purposes of this research were to study the experience of electronic cigarette smoking and to examine the factors related to electronic cigarette smoking among male vocational students. The sample were 338 vocational certificate students in Buriram province.Data were collected with self-administered questionnaires including demographic data, smoking, attitude towards e-cigarette smoking, smoking law perception, school relationship and stress. Cronbach Alpha and KR 20 were used to test the reliability of those questionnaires. Descriptive statistic and binary logistic regression were used for data analysis The results of the research were as follows study demonstrated that 59.8 % experience of electronic cigarette smoking . The mean age of e-cigarette smoking initiation was 15.6 years (SD =1.56 ). The factors significantly associated with e-cigarette smoking were school relationship (AOR = 2.17, 95% CI = 1.257-3.768), peer-persuasion to smoke (AOR = 2.92, 95% CI = 1.7102 -5.007), peer cigarette smoking (AOR = 2.49, 95% CI = 1.411-4.423), peer e-cigarette smoking (AOR = 2.69, 95% CI = 1.546-4.698), and e-cigarette accessibility (AOR = 1.74, 95% CI = 1.011-3.085).The results of this study will be beneficial to health personal, teachers, and people involved to develop an effective program to prevent Thai male adolescents from e-cigarette smoking.",
"th": "การสููบบุหรี่ไฟฟ้าในวัยรุ่นมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมีความเชื่อว่าบุหรี่ไฟฟ้ามีความปลอดภัยกว่าบุหรี่ะรรมดา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีประสบการณ์สูบบุหรี่ไฟฟ้า และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ไฟฟ้าของนักเรียนชายอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชาย ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 338 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ตอบด้วยตนเอง ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล การสูบบุหรี่ ทัศนคติต่อการสูบบุหรี่ไฟฟ้า การรับรู้กฏหมายเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้า ความสัมพันธ์กับโรงเรียน และ ควัามีสูัมีพิ่ันธ์กับโรงเรียน และความเครียด ทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามด้วยวิธีครอนบาคแอลฟา และ KR 20 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณา และ Binary logistic regression ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีประสบการณ์สูบบุหรี่ไฟฟ้าเท่ากับร้อยละ 59.8 อายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่ไฟฟ้าคือ 15.6 ปี (SD =1.56 ) โดยพบว่าปัจจัยที่่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ไฟฟ้าของนักเรียนชายอาชีวศึกษา ได้แก่ ความสันพันธ์กับโรงเรียน (AOR = 2.17, 95% CI = 1.257-3.768) การถูกเพื่อนชักชวนให้สูบ (AOR = 2.92, 95% CI = 1.7102 -5.007) การสูบบุหรี่มวนของเพื่อน (AOR = 2.49, 95%CI = 1.411-4.423) การสููบบุหรี่ไฟฟ้าของเพื่อน (AOR = 2.69, 95% CI = 1.546-4.698) และการเช้าถึงบุหรี่ไฟฟ้า (AOR = 1.74, 95% CI = 1.011-3.085) ผลการศึกษาจะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลากรทางสุขภาพ ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ไฟฟ้าในวัยรุ่นชายไทยต่อไป"
} |
{
"en": "This research aimed at identifying significant predictors of human papillomavirus vaccination intention among young men who have sex with men (YMSM) in Chon Buri Province. The partici-pants of 308 YMSM aged 18-26 years old in Chon Buri, who experienced anal sexual intercourse within lifetime. The e-questionnaires were used to collect the data. Descriptive statistics and Stepwise multiple regression analysis. The results revealed that: 1) The mean score of intention to take HPV vaccine among YMSM in Chon Buri was at moderate (Mean = 13.45, SD = 2.395), 2) Self-efficacy to get HPV Vaccine (Beta = .402), normative beliefs of HPV vaccination (Beta = .246) and situational perceptions of HPV vaccina-tion (Beta = .161) were significant predictors of intention to take HPV vaccine among YMSM. These sig-nificant predictive variables accounted for 37.8% of the total variance in intention to take HPV vaccine among YMSM in Chon Buri (Adjusted R2 = .378, p < .01). However, number of sexual partners, knowledge of HPV and the HPV vaccine, and attitudes towards HPV vaccination could not significant-ly predict intention to take HPV vaccine (p > .05). The results suggest that it is useful guidance on pro-moting HPV vaccination intentions of YMSM in order to prevent HPV infection and reduce the inci-dence of rectal cancer and other malignant diseases caused by HPV infection.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความตั้งใจในการฉีดวัคซีนเอชพีวีของกลุ่มเยาวชนชายรักชาย จังหวัด ชลบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ เยาวชนชายรักชายจังหวัดชลบุรี ช่วงอายุระหว่าง 18-26 ปี มีประสบการณ์เพศสัมพันธ์ ทางทวารหนักกับเพศชายด้วยกันในช่วงชีวิตที่ผ่านมา จำนวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ตอบด้วยตนเองผ่าน ระบบ ออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า 1) กลุ่มเยาวชนชายรักชายจังหวัดชลบุรี มีค่าคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจในการฉีดวัคซีนเอชพีวีอยู่ใน ระดับปานกลาง (Mean = 13.45, SD = 2.395) 2) การรับรู้ความสามารถของตนเองในการฉีดวัคซีนเอชพีวี (Beta = .402), การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงในการฉีดวัคซีนเอชพีวี (Beta = .246) และการรับรู้สถานการณ์การฉีดวัคซีนเอชพีวี (Beta = .161) สามารถร่วมกันทำนายความตั้งใจในการฉีดวัคซีนเอชพีวีของกลุ่มเยาวชนชายรักชายจังหวัดชลบุรีได้ ร้อยละ 37.8 (Adjusted R2 = .378) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในขณะที่ประสบการณ์การมีกลุ่มอาการโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จำนวนคู่นอน ความรู้เกี่ยวกับเชื้อเอชพีวีและวัคซีนเอชพีวี และทัศนคติต่อการฉีดวัคซีนเอชพีวีไม่สามารถร่วมทำนายความตั้งใจในการฉีด วัคซีน เอชพีวีของกลุ่มเยาวชนชายรักชาย จังหวัดชลบุรีได้ ผลจากการศึกษาครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมความตั้งใจ ในการฉีดวัคซีนเอชพีวีของกลุ่มเยาวชนชายรักชาย เพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชพีวีและลดอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งปากทวารหนัก และโรคมะเร็งอื่น ๆ ต่อไป"
} |
{
"en": "This cross-sectional study was conducted to examine the relationship between the factors affecting the performance of community nurses on palliative care in Bangkok. Participants were 172 nurses, working at the public health centers in Bangkok Metropolitan selected through the stratified random sampling. Data was collected using the self- administered questionnaires and analyzed by using the descriptive statistics, Pearson’s product-moment correlation coefficient and Stepwise multiple regression analysis.\nThe result revealed that the community health nurses at the public health centers had a high level of overall performance on palliative care ( = 3.22, SD = 0.46). The factors that could significantly predict the performance of community nurses on palliative care in Bangkok were organization policy, co-worker relationship, social environment, and method of work. These predictors altogether could explain 70.1% of variance in performance on palliative care.\nIt is suggested that public health administrators should have a policy and provide appropriate tools and equipment to support palliative care services. Multidisciplinary involvement should also be promoted to further improve the quality of nursing practices in palliative care.",
"th": "การวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพยาบาลอนามัยชุมชนในการดูแลแบบประคับประคองในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาล วิชาชีพปฏิบัติงานที่ศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร จำนวน 172 คน ได้จากโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างตามชั้นภูมิ เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยวิธีให้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์ ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน\nผลการวิจัยพบว่าพยาบาลอนามัยชุมชนของศูนย์บริการสาธารณสุขมีผลการปฏิบัติงานการดูแลแบบประคับประคอง โดยรวมอยู่ในระดับสูง ( = 3.22, SD = 0.46) โดยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการปฏิบัติงานของพยาบาลอนามัยชุมชนในการดูแล ผู้ป่วยแบบประคับประคองในกรุงเทพมหานคร พบว่า นโยบายของหน่วยงาน สัมพันธภาพกับเพื่อนร่วมงาน สภาพแวดล้อม ทางสังคม วิธีการปฏิบัติงาน เป็นตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลอนามัยชุมชนในการดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคองได้ ร้อยละ 70.1\nข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงานของพยาบาลอนามัยชุมชนในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารควรมีนโยบาย และจัดหาเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานในการดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคอง นอกจากนี้ควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสหสาขาวิชาชีพเพื่อพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานพยาบาลของศูนย์ บริการสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในกรุงเทพมหานครต่อไป"
} |
{
"en": "This research is an experimental research. The objectives of this study were to study the effects of a finger fitness combined with music therapy program and music therapy program on episodic memory and cortisol levels in the elderly with mild cognitive impairment (MCI). Sixty older adults with MCI were randomly assigned to the experimental group 1 who received the finger fitness combined with music therapy program, the experimental group 2 who received the music therapy program and the control group who received no material. A dependent t-test, One Way ANOVA and One Way ANCOVA were used to analyze the data. The results revealed that after training, the experimental group 1 had episodic memory scores significantly higher than the experimental group 2 and the control group (p < .001). However, the episodic memory scores of experimental group 2 did not differ that of the control group. In addition, we found that the experimental group 2 and the experimental group 1 had lower plasma cortisol levels when compared to the control group (p = .001). It was concluded that the finger fitness combined with music therapy program can effectively increase episodic memory and decrease blood cortisol levels in the elderly with MCI.",
"th": "การวิจัยนี้ เป็นวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมบริหารนิ้วมือร่วมกับดนตรีบำบัดและโปรแกรม ดนตรีบำบัดต่อความจำเหตุการณ์และระดับคอร์ติซอลในเลือดของผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่อง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่ มีภาวะการรู้คิดบกพร่อง จำนวน 60 คน สุ่มเข้ากลุ่มด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับโปรแกรม การฟื้นฟูความจำเหตุการณ์ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการบริหารนิ้วมือร่วมกับดนตรีบำบัด (กลุ่มทดลองที่ 1) และกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมดนตรีบำบัด (กลุ่มทดลองที่ 2) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Dependent t-test, One - way ANOVA และ One - way ANCOVA ผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองที่ 1 มีคะแนนความจำเหตุการณ์มากกว่ากลุ่ม ทดลอง ที่ 2 และกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ในขณะเดียวกัน กลุ่มทดลองที่ 2 มีคะแนนความจำเหตุการณ์ ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุมและพบว่า กลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 มีระดับคอร์ติซอลในเลือดน้อยกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = < .001) สรุปได้ว่า โปรแกรมการบริหารนิ้วมือร่วมกับดนตรีบำบัดนั้นสามารถเพิ่มความจำเหตุการณ์ และลดระดับคอร์ติซอลในเลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพ"
} |
{
"en": "This research was conducted using a quasi-experimental research design, which aimed to study the effects of the tobacco immunity promotion program in accordance with the family developmental tasks among senior primary school male students. The sample included students from ages 11-12 years, and their parents. The sample was divided into 36 persons in an experimental group and 36 persons in a comparison group. The experimental group received the tobacco immunity promotion program and family developmental tasks activities. The data were collected by self–administered questionnaires. Statistics used Descriptive statistics, independent t-test, Paired t-test, and repeated measure ANOVA. The results showed that after the experiment, the experiment group had higher mean scores of knowledges about the dangers of tobacco and self-protection by staying away from tobacco, perceived parental care according to family developmental tasks including confidence in practicing family developmental tasks to promote tobacco immunity for their children after the experiment were significantly higher than the comparison group at p-value < 0.05. This program could better strengthen tobacco immunity to students, especially with the promotion of family development tasks to students and their parents, to enable students to perceive better careand build confidenee in parents to strengthen tobacco immunity to their childresn.",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมภูมิคุ้มกันบุหรี่ร่วมกับพัฒนกิจครอบครัวในนักเรียน ชายชั้นประถมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชายที่มีอายุ 11–12 ปี และผู้ปกครอง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม เปรียบเทียบ กลุ่มละ 36 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมภูมิคุ้มกันบุหรี่ และกิจกรรมส่งเสริมพัฒนกิจครอบครัวเก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบที และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่และการป้องกันตนเองให้ห่างไกลบุหรี่ การรับรู้ถึงความ เอาใจใส่จากผู้ปกครองตามพัฒนกิจครอบครัว และความมั่นใจการปฏิบัติพัฒนกิจครอบครัวเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันบุหรี่แก่บุตรสูง กว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โปรแกรมนี้สามารถสร้างภูมิคุ้มกันบุหรี่ โดยเฉพาะการส่งเสริมพัฒนกิจครอบครัวแก่นักเรียนและผู้ปกครองที่ช่วยให้เกิด การรับรู้ถึงความดูแลเอาใจใส่ที่ดีขึ้นแก่นักเรียนและสร้างความมั่นใจแก่ผู้ปกครองในการสร้างภูมิคุ้มกันบุหรี่ให้กับบุตร"
} |
{
"en": "This research uses research and development methodologies. The aims of this research are to examine psychometric properties of resilience scale concerned with social desirability responses for the army nurse students. The samples consist of 300 army nurse students. The instruments were resilience scale and social desirability scale. The analysis used descriptive statistic and inferential statistic.\nThe result showed that: 1) Resilience scale has 58 items 1.1) The discrimination index is between 0.31-0.66. 1.2) The Index of Item-objective congruence (IOC) is between 0.60 to 1.00 1.3) The second order confirmatory factor analysis found that the measurement model has a goodness of fit (χ2 = 95.32 df = 86 p = 0.23 CFI = 1.00 NFI = 0.92 RMR = 0.04 RMSEA = 0.000) 1.4) The Cronbach’s alpha coefficient is 0.95 2) Social desirability scale has 10 items 2.1) The discrimination index is between 0.20-0.46 2.2) The Index of Item-objective congruence (IOC) is between 0.60 to 1.00 2.3) The second order confirmatory factor analysis found that the measurement model has a goodness of fit (χ2 = 41.21 df = 29 p = 0.06 CFI = 0.98 NFI = 0.95 RMR = 0.02 RMSEA = 0.03) 2.4) The Cronbach’s alpha coefficient is 0.57.",
"th": "การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตมิติของแบบวัดความสามารถในการ ฟื้นพลังและแบบวัดการตอบตามความปรารถนาของสังคมสำหรับนักเรียนพยาบาลทหาร ตัวอย่างวิจัยใช้วิธีสุ่มแบบแบ่งชั้นจาก นักเรียนพยาบาลทหาร จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดความสามารถในการฟื้นพลัง และแบบวัดการตอบ ตามความปรารถนาของสังคม การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติเชิงบรรยายและสถิติเชิงอนุมาน\nผลการวิจัย พบว่า 1) แบบวัดความสามารถในการฟื้นพลัง จำนวน 58 ข้อ 1.1) ค่าอำนาจจำแนก อยู่ระหว่าง 0.31-0.66 1.2) ความตรงตามเนื้อหาอยู่ระหว่าง 0.60-1.00 1.3) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง พบว่า โมเดลการวัด ความ สามารถในการฟื้นพลังมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 95.32 df = 86 p = 0.23 CFI = 1.00 NFI = 0.92 RMR =0.04 RMSEA = 0.000) 1.4) สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.95 2) แบบวัดการตอบตามความปรารถนาของสังคมจำนวน 10 ข้อ 2.1) ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.20-0.46 2.2) ความตรงตามเนื้อหาอยู่ระหว่าง 0.60-1.00 2.3) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง โมเดลการวัดการตอบตามความปรารถนาของสังคมมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 41.21 df = 29 p = 0.06 CFI = 0.98 NFI = 0.95 RMR = 0.02 RMSEA = 0.03) 2.4) สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าเท่ากับ 0.57"
} |
{
"en": "The purposes of this quasi – experimental research were: 1) to compare depression of schizophrenic patients before and after received resilience enhancement group program, and 2) to compare depression of schizophrenic patients who received resilience enhancement group program and those who received regular nursing care. Forty samples were inpatients schizophrenic patients at Somdetchaopraya institute of psychiatry, 20 subjects were randomly assigned to experimental group and control group, who met the inclusion criteria. They were matched pair by gender, age, and psychiatric symptoms. The experimental group received resilience enhancement group program, and the control group received regular nursing care. Research instruments consisted; 1) The resilience enhancement group program, 2) Demographic questionnaire 3) The Thai version of Calgary Depression Scale for Schizophrenia (CDSS). All instruments were tested for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd instruments was reported by Cronbach’s Alpha coefficient of 0.85. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test.Major findings were as follows:1) Depression of schizophrenic patients who received resilience enhancement group program was significantly lower than before, at the .05 level.2) Depression of schizophrenic patients who received resilience enhancement group program were significantly lower than those who received regular nursing care, at the .05 level.Conclusion: The result of this study support that the resilience enhancement group program can reduce the depression of schizophrenic patients.",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยจิตเภท ก่อนและหลังได้รับโปรแกรม การสร้างความเข้มแข็งทางใจแบบกลุ่ม และ 2) เปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยจิตเภทระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการสร้าง ความเข้มแข็งทางใจแบบกลุ่มกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยจิตเภทที่เข้ารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วย ในสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 40 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน โดยได้รับการจับคู่ด้วย เพศ อายุ และอาการทางจิต กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสร้างความเข้มแข็งทางใจ แบบกลุ่ม ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมการสร้างความเข้มแข็งทางใจ แบบกลุ่ม 2) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 3) แบบประเมินอาการซึมเศร้าในผู้ป่วยจิตเภท เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน เครื่องมือชุดที่ 3 มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาคเท่ากับ 0.85 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที่ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้1) ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยจิตเภทหลังได้รับโปรแกรมการสร้างความเข้มแข็งทางใจแบบกลุ่มต่ำกว่าก่อนได้รับ โปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .052) ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยจิตเภทกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการสร้างความเข้มแข็งทางใจแบบกลุ่มต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับ การพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05การใช้โปรแกรมการสร้างความเข้มแข็งทางใจแบบกลุ่มในการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยจิตเภทที่มีภาวะซึมเศร้า ส่งผลให้ ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยจิตเภทลดลงได้"
} |
{
"en": "The purpose of this quasi-experimental research is to examine the effect of a mental health promotion program on the depression of older adults. The purposive sampling of the samples were equals and 60 years older, who were receiving health services at the rehabilitation center The samples were randomly assigned and match-paired according to gender for both the experimental and control group, with 30 persons in each group. The experimental group participated in the mental health promotion program for eight weeks, 60 to 90 minutes once a week. On the other hand, the control group received nursing care as usual. The research instruments were a demographic questionnaire and the Center for Epidemiologic Studies-Depression Scale (CES-D) questionnaire. The CES-D questionnaire showed a Cronbach’s alpha coefficient reliability of .87. Descriptive statistics were used to analyze the frequency, percentage, and chi-squared test. The mean score for depression for the experimental group was compared in terms of the pretest and posttest using dependent t-test. Additionally, the mean score for depression between the experimental and control group was compared using independent t-test. The results revealed that 1) after the experimental group participated in the program, the mean score for depression (M = 14.90, SD = 2.59) was significantly lower than before participating in the program (M = 20.13, SD = 3.10) (t = 17.11, p<.001); and 2) the mean difference in the mean score for depression between the pretest and posttest for the experimental group (1 = 5.23, SD = 1.67) was significantly greater than for the control group (2 = 1.86, SD = 2.14) (t = 14.28, p<.001) In conclusion, the research findings showed that the mental health promotion program effectively decreased depression among older adults.",
"th": "การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพจิตต่อภาวะซึมเศร้าผู้สูงอายุ ในชุมชน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มารับบริการสุขภาพที่ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งหนึ่ง ได้รับการสุ่มตัวอย่าง และการจับคู่เพศเข้า กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน ระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 60-90 นาที และกลุ่ม ควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สถิติพรรณนา ความถี่ ร้อยละ และเปรียบ เทียบคะแนนภาวะซึมเศร้าของกลุ่มทดลองก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพจิต ด้วยสถิติทดสอบค่าทีชนิดไม่เป็นอิสระ ต่อกัน และเปรียบเทียบคะแนนภาวะซึมเศร้าระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ด้วยสถิติทดสอบค่าทีชนิดที่เป็นอิสระจากกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมสุขภาพจิตของกลุ่มทดลอง (M = 14.90, SD = 2.59) ต่ำกว่าก่อนการทดลอง (M = 20.13, SD = 3.10) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 17.11, p<.001) และ 2) ผลต่างของ ค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ระหว่างก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลอง (1 = 5.23, SD = 1.67) มากกว่า กลุ่มควบคุม (2 = 1.86, SD = 2.14) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 14.28, p<.001) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าโปรแกรม การส่งเสริมสุขภาพจิตมีประสิทธิผลในการลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุในชุมชน"
} |
{
"en": "This was grounded theory research, which aimed to study the recovery process from depression from 26 women, aged 40-60years, living in Chonburi Province and having depression diagnosed by psychiatrists. Twenty-one people entered the recovery phase diagnosed by psychiatrists while five of them perceived by themselves. Data were collected by in-depth interviews, observation guideline and field notes informants and analyzed by comparative analysis.\nThe results showed that the recovery process from depression consisted of 3 phrases: phrases 1 loss and pain, phrases 2 having depression and seeking ways to unlock one’s self and phrases 3 regaining peace of mind. In the second phrase, the core category was found. It was “self-love”, which helped unlock one’s self from the suffering caused by focusing on others until neglecting self- care. Pulling one’s self out of sorrow can be done through the following important steps, namely: 1) throwing away things that cling to the mind - quitting suffering 2) analyzing the causes of suffering - building energy; 3) determining a new path - standing up and living with self-love and 4) creating own meaning to continue living. As a result, women recognized that their identity had returned and recognized their self-esteem. Healthcare providers should be encouraged to have self-love to promote recovery from depression.",
"th": "การวิจัยแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูลพื้นฐานนี้เป็นการศึกษากระบวนการฟื้นหายจากโรคซึมเศร้าของผู้หญิงอายุ 40-60 ปี ในจังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการวินิจฉัยจากจิตแพทย์ว่าเป็นโรคซึมเศร้า และจิตแพทย์ระบุว่าฟื้นหายจำนวน 21 คน และผู้หญิงรับรู้ การ ฟื้นหายด้วยตนเอง 5 คน รวม 26 คน เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตและบันทึกภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูล แบบเชิง เปรียบเทียบ\nผลการวิจัยพบกระบวนการฟื้นหายจากโรคซึมเศร้า มี 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 สูญเสียเจ็บปวด ระยะที่ 2 เศร้าซึมหา ทางปลดล็อค และระยะที่ 3 ฟื้นคืนสงบใจ ซึ่งในระยะที่ 2 พบแก่นความคิดสำคัญของการปลดล็อคตนเองคือ “การรักตัวเอง” จากการให้ความสำคัญกับผู้อื่นจนละเลยการดูแลใจตนเอง ดึงตนเองจากห้วงทุกข์ผ่านขั้นตอนสำคัญ คือ 1) สลัดทิ้งสิ่งเกาะ กินใจ- เลิกทุกข์ 2) วิเคราะห์เหตุแห่งทุกข์-สร้างพลังตน 3) กำหนดทางวิถีใหม่-ลุกขึ้นสู้อยู่ด้วยความรักตนเอง 4) สร้างความหมาย ของตนเองในการดำรงอยู่ จากกระบวนการดังกล่าวส่งผลให้ผู้หญิงรับรู้ถึงการที่ตัวตนกลับมาและรับรู้ในคุณค่าของตนเอง ผู้ให้บริการด้านสุขภาพจึงควรสนับสนุนให้ผู้หญิงตระหนักในการรักตนเองเพื่อการฟื้นหายจากโรคซึมเศร้า"
} |
{
"en": "The predictive correlational research aimed to study the parental factors influencing nutritional status of pre-school children. The samples consisted of 88 parental pre-school children. The samples were selected by random simple sampling. The research instruments were questionnaire which developed by researcher. The content validity and reliability of the nutritional knowledge questionnaire was analyzed by using KR-20 at 0.71. The food providing behaviors and nutritional care behaviors questionnaire were also analyzed by using Cronbach’ s alpha coefficient at 0.83 and 0.76, respectively. The data were analyzed by Descriptive statistics, Pearson’s correlation coefficient and Stepwise multiple regression analysis.\nThe results revealed that the two predisposing factors were statistically significantly associated and could predicted nutritional status of pre-school age children. The food providing behaviors (β = 2.31, p < .05) and nutritional care behaviors (β = 0.485, p < .05) were significantly positively correlated and could predicted nutritional status of pre-school age children at the level of 39% (R2 = 0.399, p < .05). The result of this study could be used as guideline to develop the promoting program for parental of pre-school age children and they could be able to care the children for development of maturity and good nutritional status.",
"th": "การวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยด้านผู้ปกครองที่มีผลต่อภาวะโภชนาการเด็ก ก่อนวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ปกครองที่มีเด็กก่อนวัยเรียนมีภาวะผอม จำนวน 88 คน จากการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรง เชิงเนื้อหาและความเชื่อมั่น โดยค่าคูเดอร์-ริชาร์ดสัน 20 ของแบบสอบถามความรู้ทางโภชนาการของผู้ปกครองเท่ากับ 0.71 และ ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามพฤติกรรมการจัดหาอาหารของผู้ปกครองและพฤติกรรมการเลี้ยงดูด้าน โภชนาการของผู้ปกครองเท่ากับ 0.83 และ 0.76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์ สัน และสถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน\nผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านผู้ปกครองที่มีความสัมพันธ์และสามารถร่วมทำนายภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ได้แก่ พฤติกรรมการจัดหาอาหารของผู้ปกครอง (β = 2.31, p < .05) และพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กด้านโภชนาการของผู้ปกครอง (β = 0.485, p < .05) โดยสามารถร่วมทำนายภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียนได้ร้อยละ 39 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = 0.399, p < .05) ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพเด็ก ก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถดูแลเด็กก่อนวัยเรียนให้มีพัฒนาการการเจริญเติบโตสมวัย และมีภาวะโภชนาการที่ดี"
} |
{
"en": "The objectives of this study were to identify happiness and factors predicting happiness towards working among faculty staff of Boromarajonani College of Nursing Nakhon Phanom, Nakhon Phanom University. The sample consisted of 90 staffs. Data were retrieved by self-administered questionnaires including baseline characteristics and the happiness self-assessment questionnaire (Happinometer). Descriptive Statistics was used to describe happiness level and multiple logistic regression was performed to investigate the relationship between various factors and happiness. The overall prediction property of the final model was also examined using receiver operating characteristics (ROC) curve.\nThe results showed that the sample group had an overall score of happiness level at 74.6 points which was identified as happy. The mean score of overall happiness was (3.7±SD = 0.4; 74.65%. According to the dimension of happiness, the sample had the highest mean score in the happy family dimension (4.1±0.5; 81.8%) and the lowest score in happy money dimension (3.2±0.8; 64.0%). In addition, factors that significantly predict the happiness at work among faculty staffs were being respected 8.62 (95%CI:1.81-41.08; p = 0.007), and affecting morale 2.48 (95%CI :1.02-6.16; p = 0.050). The area under ROC curve of this final model was 72.77%.\nThe findings suggest that board of Boromarajonani College of Nursing Nakhon Phanom should support and plan to create happiness projects for staff in the financial dimension and develop factors concerning with being respected and affecting morale that will make the staffs having more happiness.",
"th": "การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสุขและปัจจัยทำนายความสุขในการทำงานของบุคลากร วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีนครพนม มหาวิทยาลัยนครพนม กลุ่มตัวอย่างคือบุคลากร จำนวน 90 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประกอบด้วย ลักษณะส่วนบุคคล และ แบบวัดระดับความสุขด้วยตนเอง (Happinometer) ใช้สถิติเชิงพรรณนาบรรยายระดับความ สุข ใช้สถิติถดถอยทางพหุลอจิสติกเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับความสุขในการทำงานและทดสอบความสามารถใน การพยากรณ์โดยใช้พื้นที่ใต้โค้งอาร์โอซี\nผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนภาพรวมความสุขอยู่ในระดับมีความสุข โดยมีค่าเฉลี่ยความสุขเท่ากับ (3.7±SD=0.4) คะแนน คิดเป็นร้อยละ 74.6 ค่าเฉลี่ยคะแนนความสุขสูงสุด คือมิติครอบครัวดี (Happy Family) เท่ากับ (4.1±0.5) คะแนน คิดเป็นร้อยละ 81.8 และค่าเฉลี่ยคะแนนความสุขต่ำสุด คือ มิติสุขภาพเงินดี (Happy Money) เท่ากับ (3.2±0.8) คะแนน คิดเป็นร้อยละ 64.0 ปัจจัยทำนายความสุขในการทำงานของบุคลากรได้แก่ การได้รับการยอมรับนับถือ 8.62 เท่า (95% CI: 1.81- 41.08; p = 0.007) และขวัญ/กำลังใจในการทำงาน 2.48 เท่า (95% CI: 1.02-6.16; p = 0.050) และสามารถร่วมกันทำนายความ สุขในการทำงานได้ ร้อยละ 72.77\nผลการศึกษาเสนอแนะให้คณะกรรมการบริหารของวิทยาลัยควรมีการสร้างเสริมและวางแผนสร้างสุขให้แก่บุคลากร ในมิติสุขภาพเงินดี และพัฒนาปัจจัยองค์กรด้านการได้รับการยอมรับนับถือ และขวัญ/กำลังใจในการทำงาน เพื่อให้บุคลากร มีความสุขเพิ่มมากขึ้น"
} |
{
"en": "This descriptive correlation study was conducted for the purpose of describing the quality of diabetes care receiving in term of health promotion, prevention of complications, and continuity of care with A1C level of patients with type 2 diabetes mellitus in 12 community included 185 patients and treated in a public health center in the Bangkok Metropolitan. This research using the concept of quality of care by Donabedian. The data were collected between February to March 2021, using the questionnaire included two-part questionnaire included general information and the diabetes care receiving. The data were analyzed using Spearman Rank correlation coefficient.\nThe results showed that the participants had A1C level between 5.60% - 13.80%, 35.7% of participants can control A1C level well (A1C < 7%). The results of the correlation analysis revealed that a significant moderated negative correlation with diabetes care receiving in term of health promotion and continuity of care (r = -.352 and -.346, p < .01) and a significant low negative correlation with diabetes care receiving in term of prevention of complications (r = -.210, p < .01). The results of the study could be planned basic information management diabetes care practice guideline development in the future.",
"th": "การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของคุณภาพการได้รับการบริการดูแล ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันภาวะแทรกซ้อน และการดูแลอย่างต่อเนื่อง กับระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน 12 ชุมชน จำนวน 185 คนที่ได้รับการรักษาที่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยใช้กรอบแนวคิดคุณภาพการดูแลของโดนาบีเดียน เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม 2564 โดยใช้แบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามการได้รับการบริการดูแลเกี่ยวกับโรคเบาหวาน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน\nผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าระดับน้ำตาลสะสมในเลือด อยู่ระหว่าง 5.60% - 13.80% กลุ่มตัวอย่างควบคุม ระดับน้ำตาลได้ดี (A1C < 7%) ร้อยละ 35.7 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า การได้รับการบริการดูแลด้านการสร้างเสริม สุขภาพ และการได้รับการบริการดูแลด้านการดูแลอย่างต่อเนื่องมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลาง กับระดับน้ำตาลสะสม ในเลือด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.352 และ -.346, p < .01) และการได้รับการบริการดูแลด้านการป้องกันภาวะแทรกซ้อน มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับระดับน้ำตาลสะสมในเลือดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.210, p < .01) ข้อมูลที่ได้จากการ ศึกษาในครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดทำแนวปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเบาหวานต่อไปในอนาคต"
} |
{
"en": "The objective of this research to study the effects of the self-efficacy promoting program according to the public health development plan on knowledge, attitudes, and practice of postpartum women. This is quasi-experimental research. The participants consisted of women who received the first antenatal care, gave birth, and followed up on an infant’s postpartum health at Chaiyaphum Hospital. The participants were divided into the experimental group and the control group with 30 people in each group and a total of 60 people. Research instruments were the self-efficacy promoting program, personal information questionnaire, and a questionnaire on knowledge, attitude, and practice of postpartum women, which were tested on validity by experts and reliability by KR20 and Cronbach’s alpha. The value of reliability of the measurements were .80, .80, and .79, respectively. The data were analyzed by descriptive statistic, including frequency, percentage, mean, standard deviation, and inferential statistics, including Paired sample t-test, and independent sample t-test.\nThe research result showed that postpartum women who received the first antenatal care in the experimental group had the average score on knowledge, attitude, and practice of postpartum self-care and newborn care higher than before the trial and higher than the control group with statistical significance (p < .01). From the findings, health care provider should make self-efficacy promoting program on knowledge, attitude and practice in postpartum women every one since trimester pregnancy in pregnancy department and postpartum department to encourage mothers to have the ability to care for themselves and their babies effectivel.",
"th": "การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนตามแผนพัฒนาสาธารณสุขต่อ ความรู้ เจตคติและทักษะการปฏิบัติตนของมารดาหลังคลอด เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาครรภ์แรกที่มารับบริการ ฝากครรภ์ คลอดและติดตามสุขภาพทารกหลังคลอดที่โรงพยาบาลชัยภูมิ แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน รวมจำนวน 60 คน เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย โปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรู้ ทัศนคติและทักษะการปฏิบัติตนของมารดาหลังคลอด ผ่านการตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญและทดสอบ ความเชื่อมั่นด้วยวิธี KR20 และอัลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .80, .80 และ .79 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Chi-square, Paired sample t-test และ Independent sample t-test\nผลการศึกษา พบว่า มารดาครรภ์แรก กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ เจตคติและทักษะการปฏิบัติตนหลังคลอดใน การดูแลตนเองและการดูแลทารกแรกเกิด ดีขึ้นกว่าก่อนการทดลองและดีขึ้นกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01).ดังนั้นโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนตามแผนพัฒนาสาธารณสุข สามารถปรับเข้ากับกิจกรรมการดูแลตนเองเพื่อพัฒนา ความรู้ เจตคติและทักษะการปฏิบัติตนของมารดาครรภ์แรกหลังคลอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ"
} |
{
"en": "This analytical cross-sectional study aimed to determine health literacy, knowledge, self-protective behavior and to determine factors associated self-protective behavior of COVID-19 among undergraduate students. This study was conducted using an online questionnaire survey among the undergraduate students from 6 universities in the northeastern region from 27 October to November 7 in 2021. The questionnaires collected socio-demographic characteristics, health literacy, knowledge and self-protective behavior of COVID-19. The content validity of the health literacy, knowledge and self-protective behavior were 0.93, 0.89 and 0.83. Likewise, the reliability was 0.89, 0.79 and 0.84 respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and multivariable analysis was performed using multiple logistic regression to identify the factors associated with self-protective behavior of COVID-19. A total of 950 respondence were included in this study, and 57.9% were majoring in health care. Those groups also expressed vaccination intention (42.0%). The majority of participants (91.5%) had a high level of self-protective behavior of COVID-19 (95%CI: 88.9-92.4). Multivariable analyses shown that female respondence (OR = 3.68; 95%CI: 2.11-6.43; p<.001) and the high level of health literacy were likely to be more adopt self-protective behavior of COVID-19 (OR = 6.88; 95%CI: 3.82-12.39; p<0.001). Findings from this study highlight the necessity of education for improving the health literacy of undergraduate students to strengthen for their self-protective behavior of COVID-19 and protect themselves from other infectious diseases.",
"th": "การศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความรู้ และพฤติกรรม การป้องกันตนเองจากโรค COVID-19 และศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรค COVID-19 ในนักศึกษาระดับอุดมศึกษา การศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลแบบออนไลน์ในนักศึกษา 6 มหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ 27 ตุลาคม ถึง 7 พฤศจิกายน 2564 แบบสอบถามประกอบไปด้วย ลักษณะส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความรู้ และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรค COVID-19 ค่าความตรงของแบบวัด ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความรู้ และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรค COVID-19 เท่ากับ 0.93 0.89 และ 0.83 ค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.89 0.79 และ 0.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และใช้สถิติ การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุเพื่อหา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรค COVID-19 ผลการศึกษา มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 950 คน เป็นนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ร้อยละ 57.9 มีความประสงค์ที่จะรับวัคซีนเอง ร้อยละ 42.0 กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการ ป้องกันตนเองจากโรค COVID-19 ระดับดี ร้อยละ 91.5 (95%CI: 88.9-92.4) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันตนเอง จากโรค COVID-19 คือ เพศหญิง (OR = 3.68; 95%CI: 2.11-6.43; p<.001) และความรอบรู้สุขภาพระดับสูง OR = 6.88; 95%CI: 3.82-12.39; p<.001) ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าความสำคัญของจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ ให้แก่นักศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรค COVID-19 และโรคติดเชื้ออื่น "
} |
{
"en": "This quasi-experimental research aimed to study the effect of the participation in the social activity support program on the active ageing of the elderly in Phra Nakhon Si Ayutthaya province. The participants were 52 older adults, selected from the elderly in Phra Nakhon Si Ayutthaya province, who participated in the social activity support program with a duration of 8 weeks. The research instruments consisted of: 1) the instrument used for data collection comprising the questionnaire on general information, the assessment scale for the participation in the social activity support program of the elderly. Content validity using the CVI was 0.90 Cronbach’s coefficient was 0.86, and the assessment scale for the active ageing, Content validity using the CVI was 0.86 Cronbach’s coefficient was 0.85; 2) the instrument used in the experiment was the participation in the social activity support program. The study was conducted from September to November, 2020. The data were analyzed using descriptive statistics. The researcher compared the active ageing among the pre-participation in the social activity support program, the 4th week and 8th week of the participation in the social activity support program using Friedman test statistics. The results showed that the mean score of active ageing level was different with a statistical significance level of .05 during 8 weeks of the participation in the social activity support program. The mean scores at 4th and 8th weeks after the participation in the social activity support program were higher than that of the pre-participation with a statistically significant level of .05. However, there was no difference in the mean scores of active ageing level between 4th and 8th week with a statistically significant level of .05. ",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมต่อ พฤฒิพลังของผู้สูงอายุ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากผู้สูงอายุในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 52 ราย เข้าร่วมโปรแกรมสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมระยะเวลา 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินการได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมทาง สังคมของผู้สูงอายุตรวจสอบคุณภาพโดยได้ค่า CVI เท่ากับ .90 ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาคเท่ากับ .86 และแบบประเมินพฤฒิ พลังด้านการมีส่วนร่วมตรวจสอบคุณภาพโดยได้ค่า CVI เท่ากับ .86 ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาคเท่ากับ .85 2) เครื่องมือที่ใช้ใน การทดลองคือ โปรแกรมสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับพฤฒิพลังด้านการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ ในระหว่างก่อนเข้าร่วม และในสัปดาห์ที่ 4 และ 8 ขณะเข้าร่วมโปรกรมสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ด้วยการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบฟรีดแมน ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยระดับพฤฒิพลังของผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ขณะเข้า ร่วมโปรแกรมสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม 8 สัปดาห์ โดยค่าเฉลี่ยของระดับพฤฒิพลังในสัปดาห์ที่ 4 และ 8 สูงกว่า ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าเฉลี่ยของระดับพฤฒิพลังในสัปดาห์ที่ 4 และ 8 ไม่แตกต่างกันที่ระดับ นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05"
} |
{
"en": "A basic procedure with which pediatric patients must face when admitted to the hospital is peripheral venous cannulation up to 95 percent. Intravenous catheterization is a procedure used for diagnose and treatment such as drug injection and Infusion Therapy. Pediatric patients view peripheral venous cannulation as a threatening situation because of pain from tissue destruction. This painful situation is a main factor causing fears among those patients and unsuccessful treatment. Nurse is a health professional closest to pediatric patients and plays an important role in the successful insertion of an intravascular catheter. Nurses not only have those skills and be expertise but also need to know their roles and the ways to help pediatric patients reduce their fear of intravenous catheterization. This academic paper aims to prevent abnormal fears regarding the development in pediatric patients, lessen the risk of delayed catheterization and raise nurses’ awareness about nursing activities in order to reduce fear of intravenous catheter insertion among pediatric patients.",
"th": "หัตถการพื้นฐานที่ผู้ปวยเด็กต้องได้รับเมื่อต้องเข้ารับการในโรงพยาบาล คือ การใส่สายสวนทางหลอดเลือดดํา มากถึง ร้อยละ 95 เป็นหัตถการที่ใช้เพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษาโรค เช่น การฉีดยา การให้สารน้ำ ซึ่งการใส่สายสวนทางหลอดเลือดดํา ผู้ป่วยเด็กมองว่าเป็นสถานการณ์ที่คุกคาม เนื่องจากเจ็บปวดจากการถูกทําลายเนื่อเยื่อบริเวณที่ใส่สายสวน และความเจ็บปวดนี้เป็น สิ่งคุกคามและเป็นปัจจัยหลักที่ทําให้ผู้ปวยเด็กเกิดความหวาดกลัว ส่งผลให้ไม่สามารถใส่สายสวนสําเร็จได้ ดังนั้นพยาบาลซึ่งเป็น บุคลากรที่อยู่ใกล้ชิดผู้ปวยเด็กมากที่สุดและมีบทบาทที่สําคัญมากที่ทําให้การใส่สายสวนทางหลอดเลือดดําสําเร็จได้ นอกจากพยาบาลจะต้องมีทักษะและความชํานาญแล้ว พยาบาลจะต้องทราบบทบาทหรือวิธีการที่จะช่วยทําให้ผู้ปวยเด็กลดความกลัวในการใส่สาย สวนทางหลอดเลือดดําอีกด้วย บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการเกิดความกลัวที่ผิดปกติจากพัฒนาการของ ผู้ปวยเด็กลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายจากการใส่สายสวนล่าช้าและสร้างความตระหนักให้กับพยาบาลในการปฏิบัติกิจกรรม การพยาบาลทีช่วยลดความกลัวในการใส่สายสวนทางหลอดเลือดดํา"
} |
{
"en": "The purposes of this research were to create and develop assisted model for suction skill practice, study its efficiency, and compare the satisfaction among nursing students towards uses between this assisted model and the college’s suctioning manikins. The population of this research was 108 second-year students of Bachelor of Nursing Science, Boromarajonani College of Nursing, Ratchaburi, who used this assisted model. The research instruments used for data collection consisted of two sets:1) the assisted model performance evaluation form, and 2) the nursing students’ satisfaction assessment form towards the assisted model uses. The data were then analyzed for finding mean, standard deviation, and t-test.\nThe study results were as follows: 1) To get the assisted model for suction skill practice which featured that when the suction tube was inserted into the trachea tube up to the optimum suction position, there were a flashing green warning light. When the suction was pressed, there were a warning sound after 10 seconds was reached. When the suction tube passed down to the carina, there were warning signs such as a flashing red light and a sound said that “carina” 2) The total mean score on opinions towards the efficiency of the assisted model for suction skill practice was at the high level (M = 4.38, SD = .39). 3) The total mean score on satisfaction among the nursing students towards this use of assisted model was statistically significantly higher than that of the college manikins. (t = 3.25, p <0.01).",
"th": "การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหุ่นฝึกทักษะการดูดเสมหะ ศึกษาประสิทธิภาพของนวัตกรรมหุ่นฝึกทักษะ การดูดเสมหะ และเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลต่อการใช้นวัตกรรมหุ่นฝึกทักษะการดูดเสมหะกับหุ่นดูดเสมหะ ของวิทยาลัย ประชากรคือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี จำนวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบประเมินประสิทธิภาพหุ่นฝึกทักษะการดูดเสมหะ และแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลที่มีต่อหุ่นฝึกทักษะ การดูดเสมหะ ได้ค่าความตรง เท่ากับ 0.94 และ 0.95 ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.89 และ 0.92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที\nผลการวิจัยพบว่า 1) ได้นวัตกรรมหุ่นฝึกทักษะการดูดเสมหะ ที่มีคุณลักษณะเมื่อใส่สายดูดเสมหะลงไปทางท่อหลอดลม จนถึงตำแหน่งที่เหมาะสมในการดูดเสมหะจะมีไฟกระพริบเตือนเป็นสีเขียว เมื่อกดดูดเสมหะจะมีนาฬิกาจับเวลา 10 วินาที เมื่อครบเวลาที่กำหนด จะมีเสียงดังเตือน เมื่อสายดูดเสมหะผ่านลงไปถึงจุด carina จะมีไฟกระพริบเตือนเป็นสีแดงและมีเสียงเตือน ว่า carina ดังขึ้น 2) ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพของนวัตกรรมหุ่นฝึกทักษะการดูดเสมหะ โดยรวม อยู่ในระดับมาก (M = 4.38, SD = .39) 3) ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลต่อการใช้นวัตกรรมหุ่นฝึกทักษะการดูดเสมหะสูงกว่า หุ่นดูดเสมหะของวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 3.25, p< 0.01)"
} |
{
"en": "This descriptive study aimed to examine associations of physical health and social support on quality of life of elderly people In Na Siew Sub-district, Mueang District, Chaiyaphum Province. Sample was 285 older adults. All data were collected by using questionnaires. Reliability obtained the values of .83, .80, .84 and .87 respectively. Data were analyzed by using percentage, means, standard deviation for descriptive and results revealed the following1. Barthel ADL Index of the older adults were mild severe dependence 97.5% and Chula ADL Index were dependence 94.0%2. Social support of the older adults were at a high level (M = 3.61 , SD = 0.65)3. Quality of life of the older adults were at a moderate level (M = 3.45 , SD = 0.54)4. Results showed factors that related to quality of life of elderly people were age, family characteristic, marriage status, living nature and social support (p-value < .05).The results can be applied to define a plan or project and develop a model for promoting the quality of life of the elderly continuously. Coordination of local community service network partners, social service partners and integrated holistic are for the elderly.",
"th": "การศึกษาเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสุขภาพทางกายและแรงสนับสนุนทางสังคม ที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 285 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามภาวะสุขภาพทางกาย แรงสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตผู้สูง อายุ ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.83 , 0.80, 0.84 และ 0.87 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า1. ภาวะสุขภาพทางกาย ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันดัชนีบาร์เธล โดยภาพรวมพบว่า อยู่ในระดับไม่มี ภาวะพึ่งพา ร้อยละ 97.5 และความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันดัชนีจุฬา โดยภาพรวมพบว่า อยู่ในระดับภาวะพึ่งพา ซึ่งต้องการการช่วยเหลือเล็กน้อย ร้อยละ 942. แรงสนับสนุนทางสังคม โดยภาพรวมพบว่าแรงสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับมาก (M = 3.61 , SD = 0.65)3. คุณภาพชีวิต โดยภาพรวมพบว่าคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง (M = 3.45 , SD = 0.54)4. พบว่า อายุ ลักษณะครอบครัว สถานภาพสมรส ลักษณะความเป็นอยู่ และแรงสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า ควรมีการกำหนดแผนงานหรือโครงการ และพัฒนารูปแบบการบริการผู้สูงอายุเชิงรุก อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนประสานภาคีเครือข่ายบริการชุมชน/ท้องถิ่น ภาคีบริการสังคม และบูรณาการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ"
} |
{
"en": "The objectives of this research were to study the level of social support, compare food knowledge and compare consumption behavior of in-patient with Acute Coronary Syndrome of Naresuan University Hospital before and after the implementation of nutrition education program with applied social support theory. The participants were 78 in-patients of Naresuan University Hospital diagnosed with acute coronary syndrome obtained using purposive sampling. Tools used in this research were questionnaires and nutrition education program with applied social support theory. Descriptive statistics and t- test were used for data analysis. The results revealed that level of social support for both groups before treatment were low with no significant. After treatment, there was moderate social support for the control group ( = 2.51, S.D. = 0.81) and high social support for the treatment group ( = 3.69, S.D.=0.62). The level of food knowledge in the treatment group to the high level ( = 14.66, S.D. = 2.19) and was statistically significantly higher than the control group (p<.05). Lastly, food consumption behavior of both groups before treatment was ranked as moderate, but after treatment, consumption behavior of both groups was ranked as good ( = 3.67, S.D.= 0.21 and = 3.84, S.D.=0.23) with the treatment group having a significantly higher overall score than the control group (p<.05). A nutrition education program with applied social support theory could help patients improve their health behaviors. For a better outcome, organizing education activities and counseling should concern each patient’s context.",
"th": "การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับแรงสนับสนุนทางสังคม เปรียบเทียบระดับความรู้ด้านอาหาร และพฤติกรรมบริโภค อาหารของผู้ป่วยในที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรก่อนและหลังการให้โปรแกรมโภชนศึกษา โดยประยุกต์ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยในที่มีภาวะหัวใจฯ เป็นกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจำนวน 78 คน โดยใช้แบบสอบถาม และโปรแกรมโภชนศึกษาฯ วิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลวิจัยพบว่า แรงสนับสนุนทาง สังคมก่อนทดลองทั้งสองกลุ่มอยู่ระดับต่ำไม่แตกต่างกัน หลังทดลองแรงสนับสนุนทางสังคมของกลุ่มเปรียบเทียบเพิ่มเป็นระดับปาน กลาง ( = 2.51, S.D. = 0.81) และกลุ่มทดลองเพิ่มเป็นระดับสูง ( = 3.69, S.D. = 0.62) กลุ่มทดลองมีความรู้ด้านอาหารเพิ่ม เป็นระดับสูง ( = 14.66, S.D. = 2.19) และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 พฤติกรรมบริโภคก่อน ทดลองทั้งสองกลุ่มอยู่ระดับปานกลาง หลังทดลองทั้งสองกลุ่มมีพฤติกรรมบริโภคระดับดี ( = 3.67, S.D. = 0.21 และ = 3.84, S.D. = 0.23) และกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โภชนศึกษาประยุกต์ทฤษฎี แรงสนับสนุนทางสังคมช่วยให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตามการจัดกิจกรรมให้ความรู้และให้คำปรึกษาที่มี ประสิทธิภาพควรจะคำนึงถึงบริบทของผู้ป่วยแต่ละรายร่วมด้วย"
} |
{
"en": "In the present, people tend to work in the building rather than outside, therefore increase the chance of developing sick building syndrome. The objectives of this study were to determine the prevalence and associated factors of sick building syndrome (SBS) among workers of Thai Army Medical Department Headquarter in Bangkok. This study was conducted in Cross-sectional design. Personal data were collected from 285 workers by using a structured questionnaire, and environmental data were collected by using dedicated environmental meters. The overall and sub-group specific prevalence of SBS was determined, and the SBS associated factors were then identified. Result showed that the overall SBS prevalence was 19.65% (95% CI = 15.04 – 24.26). Personal factors which were significantly associated with SBS were having medical condition such as skin system [ORadj = 3.95 (95% CI 1.48, 10.53)], circulatory system [ORadj = 6.64 (95% CI 2.03, 21.71)], and dissatisfaction to workplace [ORadj = 4.56 (95% CI 1.19, 17.51)], while environmental factors which were significantly associated with SBS were temperature (for temperature of higher than 26.5 °C compared to lower than 24.7 °C) [ORadj = 0.25 (95% CI 0.09, 0.70)] and PM2.5 (for PM2.5 concentration of 4-5.9 µg/m³ compared to concentration below 4 µg/m³) [ORadj = 3.20 (95% CI 1.25, 8.21)]. In conclusion, SBS awareness among the workers of Thai Army Medical Department Headquarter should be raised, and prompt investigation as well as proper environmental amelioration should be made in case of higher-than-expected SBS occurrence in the workplace.",
"th": "ปัจจุบันคนได้มีการทำงานในอาคารมากขึ้น ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดการเจ็บป่วยเหตุอาคารได้ การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารและความสัมพันธ์ของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมกับการเกิดกลุ่มอาการนี้ ในผู้ปฏิบัติงานในกองบัญชาการกรมแพทย์ทหารบก กรุงเทพมหานคร โดยใช้รูปแบบการศึกษาภาคตัดขวาง ทำการเก็บข้อมูล โดยการใช้แบบสอบถามที่มีโครงสร้าง และทำการตรวจวัดสิ่งแวดล้อมด้วยอุปกรณ์จำเพาะต่อสิ่งตรวจวัด มีผู้ปฏิบัติงาน ในกองบัญชาการกรมแพทย์ทหารบกเข้าร่วมการศึกษาทั้งสิ้น 285 คน ผลการศึกษาพบความชุกร้อยละ 19.65 (ค่าความเชื่อมั่นที่ 95% = 15.04 - 24.26) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารอย่างมีนัยสำคัญประกอบด้วย ปัจจัยระดับบุคคล ได้แก่ การมีโรคประจำตัวในระบบผิวหนัง [ORadj = 3.95 (95% CI 1.48, 10.53)] การมีโรคประจำตัวในระบบหมุนเวียนโลหิต [ORadj = 6.64 (95% CI 2.03, 21.71)] และความไม่พึงพอใจต่อสถานที่ทำงาน [ORadj = 4.56 (95% CI 1.19, 17.51)] ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม ได้แก่ อุณหภูมิ (สำหรับอุณหภูมิที่สูงกว่า 26.5 °C เมื่อเทียบกับอุณหภูมิที่ต่ำกว่า 24.7 °C) [ORadj = 0.25 (95% CI 0.09, 0.70)] และปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 (สำหรับปริมาณฝุ่น PM2.5 4 – 5.9 µg/m³ เมื่อเทียบกับปริมาณ ฝุ่น PM2.5 ต่ำกว่า 4 µg/m³) [ORadj = 3.20 (95% CI 1.25, 8.21)] ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับกลุ่มอาการป่วย เหตุอาคาร และทำการสอบสวนวินิจฉัยหาสาเหตุที่อาจเกี่ยวข้องหากพบผู้เป็นกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารมากกว่าที่คาดการณ์ เพื่อทำการปรับปรุงและแก้ไขปัจจัยที่อาจเกี่ยวข้อง"
} |
{
"en": "This descriptive correlational research aims to investigate the relationships between knowledge, self-efficacy, self-regulation, social support, and self-management behavior regarding fluid volume overload in chronic heart failure patients. The purposive sample was 84 patients with chronic heart failure. Data were collected through the knowledge about fluid volume overload questionnaire, the self-efficacy questionnaire, the self-regulation questionnaire, the social support questionnaire, and the self-management behaviors regarding fluid volume overload questionnaire in chronic heart failure patients. Pearson’s Product Moment Correlation was used to analyze the data.\nThe study results showed that patients with chronic heart failure had moderate levels of the overall self-management behaviors regarding fluid volume overload. Knowledge and self-regulation had a moderately positive correlation with self-management behaviors regarding fluid volume overload (r = .40, r = .64, both p < .05, respectively). Self-efficacy and social support had a highly positive correlation with self-management behaviors regarding fluid volume overload (r = .86, r = .94, both p < .05, respectively). The results suggest that nurses should enhance patients’ knowledge of fluid volume overload, self-efficacy, and self-regulation. Social support should be taken into the consideration in providing healthcare services.",
"th": "การวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการจัดการภาวะน้ำเกินด้วยตนเองในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วย ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง จำนวน 84 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับภาวะน้ำเกิน แบบสอบถามสมรรถนะแห่งตน ในการจัดการภาวะน้ำเกินด้วยตนเอง แบบสอบถามการกำกับตนเอง แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม และแบบสอบถาม พฤติกรรมการจัดการภาวะน้ำเกินด้วยตนเองในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน\nผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการภาวะน้ำเกินด้วยตนเองโดยรวมอยู่ ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า ความรู้ และการกำกับตนเองมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับ พฤติกรรมการจัดการภาวะน้ำเกินด้วยตนเองในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .40 p<.05; r = .64 p"
} |
{
"en": "A sequential explanatory design of mixed-method research explored continuing and coordinating care in communities of chronic illness by utilizing the World Health Organization (WHO) concept of centered patient healthcare services and to stimulate a strong community for sustainable and equilibrium of continuing and coordination of care. The target population was people with chronic illness and healthcare professionals, 160 samples came from 80 of each site. Each site was composed of 50 Participants with chronic illnesses and 30 people were representing community healthcare providers. Data collection and analysis started with quantitative data, then qualitative data in a second phase. The questionnaires for patients and healthcare providers were proposed to3 expertise for content validity was .96 and reliability for Cronbach’s Alpha at .98, .87 respectively. The content of the collected data was analyzed 1) in quantitative data; descriptive analysis; 2) Content analysis was used in qualitative data. Quantitative research results showed that continuing and coordination of care in Thailand and Indonesia were composed following 1. Continuing with a primary care professional had an average score of 3.82 ± .74 vs. 4.15 ± .83, 2) Collaboration in care and sharing decision-making scored on average 3.84 ± .79 and 4.25 ±.75, 3) Case management with complex needs was rated at 3.83 ± .75 compared to 4.21 ± .74 ; 4) Collocated services of access were rated at 3.67 ± .87 compared to 4.23 ±.74 5)Transitional or intermediate care had an average score of 3.66 ±1.48 vs. 4.16 ± .73, 6) Comprehensive care along the entire pathway had an average score of 3.78 ± .78 vs. 4.20 ± .78, 7) Technology in continuity and coordination of care had an average score at 3.54 ± .86 vs. 4.24 ± .74, 8) Building workforce capability had an average score at 3.76 ± .84 vs. 4.24 ± .74. Qualitative Research results showed the strengthened community for sustainability and equilibrium of continuing and coordination of care found that the system of caring was well-organized top to bottom and bottom to top, health volunteers with a high level of spirit, and a budget was to support the system.\nIt can be concluded that continuing and coordinating care in the community should have good systems, good organizations, financial support, the spirit of healthcare providers and the use of technology to provide information supporting care will increase sustainable programs for patients’ satisfaction and wellbeing. Moreover, the WHO concept of integrated health services will guide the healthcare providers to awareness to create a sustainable quality of life in the community.",
"th": "การวิจัยแบบผสมผสานเพื่อสำรวจการดูแลอย่างต่อเนื่องและประสานงานในชุมชนสำหรับการเจ็บป่วยเรื้อรังโดยใช้แนวคิด ขององค์การอนามัยโลก (WHO) เกี่ยวกับบริการด้านการรักษาผู้ป่วยแบบเป็นศูนย์กลางและเพื่อกระตุ้นชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อความยั่งยืน ความสมดุลของการดูแลต่อเนื่อง และการประสานการดูแล กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเรื้อรังและบุคลากรทางการแพทย์รวม 160 คน มาจากประเทศไทยและอินโดนิเซียอย่างละ 80 คน ซึ่งประกอบด้วยผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังจำนวน 50 คน และ 30 คน เป็นตัวแทนของผู้ให้บริการด้านสุขภาพในชุมชน การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเริ่มต้นด้วยข้อมูลเชิงปริมาณ จากนั้นจึงค่อยเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพในระยะที่สอง แบบสอบถามสำหรับผู้ป่วยและผู้ให้บริการด้านสุขภาพได้ผ่านผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน และผ่านการแปลย้อนกลับทางภาษา ได้ค่าความตรงทางเนื้อหา .96 และค่าความเชื่อมั่นของฉบับผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ ที่ 98, .87 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณเป็นสถิติเชิงพรรณา และข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นการวิเคราะห์เนื้อหาวิเคราะห์ เนื้อหาของข้อมูลที่เก็บรวบรวม ผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า การดูแลต่อเนื่องของไทยและอินโดนิเซียตามลำดับดังนี้ 1) การรักษา พยาบาลเบื้องต้นมีค่าเฉลี่ย 3.82 ± .74 vs. 4.15 ± .83, 2) การทำงานร่วมกันในการดูแลและแบ่งปัน 3.84 ± .79 และ 4.25 ±.75 3) การจัดการกรณีที่มีความต้องการที่ซับซ้อนมีค่าเฉลี่ยที่ 3.83 ± .75 และ 4.21 ± .74 4) การบริการการเข้าถึงแบบรวมกลุ่มได้รับ ค่าเฉลี่ยที่ 3.67±.87 และ 4.23±.74 5) การดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านค่าเฉลี่ยที่ 3.66 ±1.48 และ 4.16 ± .73 6) การดูแลแบบ ครบวงจรตลอดเส้นทางค่าฌลี่ยที่3.78 ± .78 และ 4.20 ± .78 7) เทคโนโลยีด้านความต่อเนื่อง และการประสานงานของการดูแล ค่าเฉลี่ยที่ 3.54 ± .86 vs. 4.24 ± .74, 8) ขีดความสามารถด้านกำลังคน ค่าเฉลี่ยที่ 3.76 ± .84 vs. 4.24 ± .74 ผลเชิงคุณภาพ พบว่า การดูแลชุมชนเข้มแข็งเพื่อความยั่งยืนและสมดุลของการต่อเนื่องและการประสานงานนั้นพบว่าควรมีระบบการดูแลที่ดี มีการจัดจากบนลงล่างและจากล่างขึ้นบน มีอาสาสมัครด้านสุขภาพที่มีจิตวิญญาณในการทำงานที่สูง และงบประมาณเพื่อสนับสนุน ระบบจะทำให้มีความเข้มแข็งในชุมชนยิ่งขึ้น\nสรุปได้ว่าการดูแลต่อเนื่องและประสานงานในชุมชนควรมีระบบที่ดี องค์กรที่ดี การสนับสนุนทางการเงิน จิตวิญญาณ ของผู้ให้บริการด้านสุขภาพ และการใช้เทคโนโลยีเพื่อให้ข้อมูลสนับสนุนการดูแลจะเพิ่มโปรแกรมการดูแลที่ยั่งยืนสำหรับผู้ป่วย ความพึงพอใจและความเป็นอยู่ที่ดี นอกจากนี้ แนวคิดของบริการสุขภาพแบบบูรณาการขององค์การอนามัยโลกจะชี้นำผู้ให้บริการ ด้านสุขภาพให้ตระหนักเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนในชุมชน"
} |
{
"en": "Heart failure is a crucial global health problem and also in Thailand, that leads to hospitalization and mortality cause in adults and older patients. This scoping review aimed to analyze and synthesize knowledge from Master in Nursing Science Program thesis in Thailand from 2012 to 2021, focusing on survey research design that associated of predictive factors related to heart failure patients. Method: Systematic scoping review methodology: Joanna Briggs Institute (JBI) was applied for searching update and reliable evidences from accessible electronic database related to Master in Nursing Science Program thesis. Using search strategy: PRISMA-ScR searching process, 11 full-text eligible articles were included and critically analyzed toward appraisal criteria. Results: It demonstrated update and continually publications in scholar journals. Most of them focused on quality of life, physical symptoms, depression, and self-management behavior. The significant predictors were depression, social support, and dyspnea. The suggestions: These results guide meta-analysis for further study. Moreover, thesis advisors and graduate students should focus the study of significant predictive variables confirmation and interrelationship among these variables in order to develop nursing theory and improve quality of life among heart failure patients.",
"th": "ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของโลกและประเทศไทย ที่เป็นสาเหตุของการเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาลและการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ การทบทวนวรรณกรรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ ความรู้จากวิทยานิพนธ์ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตในประเทศไทยช่วง พ.ศ. 2555-2564 ที่ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ ที่ศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนายของปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว วิธีการศึกษา ใช้ระเบียบวิธีการวิเคราะห์ความรู้ จากหลักฐานเชิงประจักษ์อย่างเป็นระบบแบบกำหนดขอบเขตการศึกษาของสถาบันโจแอนนาบริกส์ ใช้คำสืบค้นเฉพาะจากฐานข้อมูลที่เข้าถึงบทความวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม นำมาวิเคราะห์คัดสรรอย่างถี่ถ้วน ได้ผลงานที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพจำนวน 11 ชื่อเรื่อง ผลการศึกษา พบว่า มีการศึกษาและตีพิมพ์ผลงานอย่างต่อเนื่อง ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยทำนายคุณภาพ ชีวิต อาการรบกวนทางกาย ภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมการดูแลตนเอง โดยปัจจัยที่มีอำนาจทำนายได้ดี ได้แก่ ภาวะซึมเศร้า แรงสนับสนุนทางสังคม และอาการหายใจลำบาก ข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยให้แนวทางที่ดีสู่การวิจัยเชิงอภิมานต่อไป อาจารย์และ นักศึกษาควรมุ่งศึกษายืนยันการทำนายและความสัมพันธ์เชื่อมโยงของกลุ่มตัวแปรเพื่อการพัฒนาทฤษฎีการพยาบาลและเพิ่มพูนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว"
} |
{
"en": " This analytical cross-sectional research aimed to study the dimension and level of Health Literacy and compare the Health Literacy of VHVs regarding dietary control based upon nutrition therapy for Diabetic Mellitus type II patients classified by demographic and environmental factors. The samples were 405 VHVs randomly selected by multi-stage sampling technique. The research tools were 2 questionnaires 1) demographic and environmental factors that the content validity (IOC) was 0.67-1 and reliability (Cronbach’s Alpha coefficient ) was 0.81 2) Health Literacy of VHVs regarding dietary control based upon nutrition therapy for Diabetic Mellitus type II patients which the content validity (IOC) were 0.67-1, reliability (KR 20) was 0.55-0.84 and Cronbach’s Alpha coefficient was 0.66-0.98. Data were analyzed by descriptive statistics, Independent T-test and F-test\nThe study revealed that Basic, Communicative, Critical, and overall Health Literacy level was at a low level. The demographic factors on different educational levels and occupations including environmental factors on the different frequency of health learning resulted in different Health Literacy significantly at p ≤ 0.05. The suggestion was to develop the program to enhance the Health Literacy of VHVs regarding dietary control based upon nutrition therapy for Diabetic Mellitus type II patients. ",
"th": "การวิจัยแบบสำรวจเชิงวิเคราะห์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามิติ ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพและเปรียบเทียบความรอบรู้ ด้านสุขภาพของ อสม.เกี่ยวกับการควบคุมอาหารตามหลักโภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และสภาพแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างเป็น อสม.จำนวน 405 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม 2 ชุดคือ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยสภาพแวดล้อม ค่าความตรงตามเนื้อหา (IOC) เท่ากับ 0.67-1 และความเที่ยงได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคเท่ากับ 0.81 2) แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับการควบคุมอาหาร ตามหลักโภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ค่าความตรงตามเนื้อหา (IOC) เท่ากับ 0.67-1 ความเที่ยงของเครื่องมือ (KR 20) เท่ากับ 0.55-0.84 ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคเท่ากับ 0.66-0.98 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา Independent T-test F-test\nผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีมิติความรอบรู้ด้านสุขภาพขั้นพื้นฐาน ขั้นการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ขั้นวิจารณญาณและ ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับรู้แจ้งต่ำ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษา อาชีพ และปัจจัยสภาพแวดล้อม ด้านการเรียนรู้ด้านสุขภาพที่ต่างกัน ความรอบรู้ด้านสุขภาพต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p ≤ .05 ข้อเสนอแนะคือควร พัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของ อสม. เกี่ยวกับการควบคุมอาหารตามหลักโภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่ 2"
} |
{
"en": "The objectives of this research was study self-care and social care values of Thai and Indonesian students in regard to preventing and controlling the spread of COVID-19 and the impact of the pandemic. The sample was comprised of 400 undergraduate students at Srinakharinwirot University in Thailand and Tadulako University in Indonesia, obtained by simple random sampling. The research instrument was a Google Forms questionnaire with a five-point rating scale. The content validity index was 0.67 to 1.00, and the reliability based on Cronbach’s alpha coefficient was 0.93 and 0.89. The results showed that 1) the overall self-care and social care values of the Indonesian students were at a high level (M = 3.82, S.D. = 0.16), while the Thai students were at the highest level (M = 4.39, S.D. = 0.14); 2) there was a statistically significant difference at the .05 level between the self-care and social care values of the Thai and Indonesian students; 3) the overall impact of COVID-19 on Thai and Indonesian students was at a high level: (M = 4.03, S.D. = 0.25) and (M = 3.75, S.D. = 0.15), respectively; and 4) there was a statistically significant difference at the .05 level in the impact of COVID-19 between Thai and Indonesian students. Therefore, universities should provide counseling for students to help them deal with pandemic-induced stress, as well as reduce enrollment fees or extend the payment time.",
"th": "งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่านิยมในการดูแลตนเองและสังคมเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของไวรัส โควิด 19 และผลกระทบจากไวรัสโควิด 19 ต่อนิสิตปริญญาตรีของไทยและอินโดนีเซีย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นิสิตปริญญาตรีมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒและมหาวิทยาลัยตาดูลาโก จำนวน 400 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ตรวจสอบคุณภาพด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหามีค่าเท่ากับ 0.67-1.00 หาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคมีค่า 0.93 และ 0.89 ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่านิยมในการดูแลตนเองและสังคมโดยรวมของนิสิต อินโดนีเซียอยู่ในระดับมาก (M = 3.82, S.D. = 0.16) ส่วนนิสิตไทยอยู่ในระดับมากที่สุด (M = 4.39, S.D. = 0.14) 2) ค่านิยมใน การดูแลตนเองและสังคมระหว่างนิสิตไทยและอินโดนีเซีย มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลกระทบ จากไวรัสโควิด 19 ต่อนิสิตไทยและอินโดนีเซีย มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (M = 4.03, S.D. = 0.25) และ (M = 3.75, S.D. = 0.15) ตามลำดับ และ 4) ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 ระหว่างนิสิตไทยและอินโดนีเซีย พบว่ามีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้นมหาวิทยาลัยควรให้คำปรึกษาแก่นิสิตเพื่อช่วยจัดการกับความเครียดที่เกิดจากโรคระบาด ตลอดจนการลดค่าธรรมเนียมการลงทะเบียนหรือขยายเวลาการชำระเงิน"
} |
{
"en": "This study aimed to compare the differences in food consumption behavior (FCB) with noncommunicable diseases from a sample of 412 medical staff who work in an urbanized area (353 person) and those in non-urbanized (59 person). The populations were selected by stratified sampling method. The FCB questionnaire, previously used in the study by family members of the officers of Phramongkutklao Hospital, was applied for our study. The questionnaire had good reliability in our study, with Cronbach’s Alpha coefficient at 0.86. Statistical analyses in our study including frequency, percentage, mean and standard were used for the descriptive data; independent t-tests and Fisher exact tests were used for the analytical part. The FCB was divided into 3 levels: good, moderate, and should be improved.\nThe results of our study demonstrated that FCB was associated with a risk of several chronic diseases such as hypertension, chronic kidney disease, cancer, diabetes, and obesity among staff in the Faculty of Medicine Vajira Hospital (urbanized area) and Somdet Phra Sangharaja-19 Hospital (non-urbanized area). Comparing the percentage of each aspect by considering the frequency of practice, it was found that the staff of the two centers did not differ significantly with statistical significance (P<0.05). There was no significantly different in the overall behavior of the staff between centers. The overall score in the Faculty of Medicine Vajira Hospital (urbanized area) and Somdet Phra Sangharaja-19 Hospital (non-urbanized area) were x = 3.11, SD=0.88vs. x=3.18, SD=0.95, respectively, However, in terms of However, in terms of eating grilled food, including meatballs, pork, chicken, and fish was significantly different between centers, with all (P<.05).In summary, FCB according to consumerism among medical staff from urban and non-urban are still had a risk for chronic diseases. Therefore, the consumption behaviors should be research studies other for plan to promote or encourage personnel to have good consumption behaviors to prevent non-communicable diseases and enhance good health.",
"th": "การวิจัยเชิงสำรวจเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามวิถีบริโภคนิยม กับโรคไม่ติดต่อ โรคเรื้อรังของกลุ่มตัวอย่างบุคลากรในโรงพยาบาลเขตเมือง 353 คน และนอกเขตเมือง 59 คน รวมทั้งหมด 412 คน โดยการสุ่ม กลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยดัดแปลงมาจากแบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภค อาหารของครอบครัวในชุมชนบ้านพักข้าราชการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ค่าความเชื่อมั่นใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของ คอนบราค (Cronbach’s alpha Coefficient) เท่ากับ 0.86 สถิติพรรณนาใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์ใช้ Student t-test และ Fisher exact test โดยแบ่งพฤติกรรมการบริโภคเป็น 3 ระดับ คือ ดี ปานกลาง ควรปรับปรุง\nผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อโรคเรื้อรังของบุคลากรการแพทย์ในเขตเมืองและนอกเขตเมือง ไม่แตกต่างกัน โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง x = 3.11, SD = 0.88 และ x = 3.18, SD = 0.95 ตามลำดับ แต่เมื่อเปรียบเทียบ รายข้อ พบว่า การรับประทานอาหารประเภทปิ้งย่าง เช่น ลูกชิ้นปิ้ง หมูปิ้ง ไก่ย่าง ปลาเผา มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (P<.05) พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และ โรคอ้วน ของบุคลากรการแพทย์ในเขตเมืองและนอกเขตเมืองเปรียบเทียบร้อยละรายด้านโดยพิจารณาจากความถี่ในการปฏิบัติ พบว่า บุคลากรทั้ง 2 แห่งปฏิบัติไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<.05)ดังนั้นพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามวิถีบริโภคนิยมกับโรคไม่ติดต่อ โรคเรื้อรัง ของบุคลากรเขตเมืองและเขตนอกเมือง ยังมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง จึงควรทำการศึกษาวิจัยให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อวางแผนส่งเสริมหรือสนับสนุนให้บุคลากร มีพฤติกรรมการบริโภคที่ดีเพื่อป้องกันการเกิดไม่ติดต่อ โรคเรื้อรังต่อไป"
} |
{
"en": "A descriptive correlation study was conducted to explore relationships between selected factors and antiretroviral therapy adherence among people living with HIV. Selecting a specific sample group according to the inclusion criteria. A sample comprised of 220 people living with HIV who started antiretroviral therapy (ART). Data were collected by using a set of self-administered questionnaires. The content validity of interviewing forms were .96, .94 and .95 respectively and reliabilities were .94, .86 และ .84 respectively Pearson’s product- moment correlation and Spearman’s correlation were used to analyzing data.\nThis study revealed that age, education, and perceived needs for treatment were positively related to antiretroviral therapy adherence among people living with HIV (r = .223, p< .01; r = .164, p< .05; rs = .192, p< .05 respectively). While, the perceived barrier was negatively related to antiretroviral therapy adherence (r = -. 264, p< .05). Other factors were not significantly related to antiretroviral therapy adherence.The findings from this study suggested that nursing interventions enhancing antiretroviral therapy adherence should be provided early to prepare people living with HIV, especially those who are younger age, reported to have low perceived ART needs, and have high perceived barriers to ART.",
"th": "การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยคัดสรรกับความ สม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รักษาด้วยยาต้านไวรัส คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตาม ลักษณะที่กำหนดไว้ คือผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รักษาด้วยยาต้านไวรัส จำนวน 220 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ตรวจสอบ ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ .96, .94 และ .95 ตามลำดับ ค่าความเที่ยงของเครื่องมือ เท่ากับ .94, .86 และ .84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ลำดับ ที่สเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า อายุ การศึกษา และการรับรู้ความจำเป็นในการรักษาด้วยยาต้านไวรัสมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .223, p<.05; r = .164, p< .05;rs = .192, p< .05 ตามลำดับ) และการรับรู้อุปสรรคของการรักษาด้วยยาต้านไวรัสโดยรวม มีความสัมพันธ์ทางลบกับความสม่ำเสมอ ในการรับประทานยาต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.264, p<.05) การศึกษานี้มีประโยชน์ในการใช้ เป็นแนวทางการพยาบาลเพื่อส่งเสริมให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี มีความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัส โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ติดเชื้อ ที่อายุน้อย รับรู้ความจำเป็นในการรักษาระดับต่ำ และรับรู้อุปสรรคของการรักษาระดับสูง"
} |
{
"en": "Pediatric cases of COVID-19 are commonly found among healthy children with no underlying diseases aged between 3-11 years. Most of them have mild symptoms and can recover quickly. Therefore, home isolation is a primary option for pediatric care because it helps reduce the anxiety of children in early childhood who have to separate from their parents or caregivers, as well as reducing children’s stress, fear and feelings of insecurity about the environment inside the hospital wards. It is considered a challenge for caregivers of child patients with COVID-19, as they must have proper knowledge and skills to provide care for home isolation patients. Nurses play an important role in implementing the nursing process in holistic solutions to the health problems of each child patient so that caregivers can deal with COVID-19 cases safely, and applying the D-METHOD as a continuity of care guideline to prevent the disease recurrence.",
"th": "ผู้ป่วยเด็กโรคโควิด 19 มักพบการระบาดในช่วงอายุ 3-11 ปี ในเด็กที่มีสุขภาพแข็งแรงและไม่มีโรคประจำตัว ส่วนใหญ่ พบว่ามีอาการไม่รุนแรงและหายป่วยได้อย่างรวดเร็ว การดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้าน จึงเป็นทางเลือกสำคัญในการดูแลผู้ป่วยเด็ก เนื่องจากช่วยลดความวิตกกังวลจากการแยกจากบิดามารดา หรือผู้ดูแล ของเด็กเล็ก รวมทั้งลดความเครียด ความกลัว และความ รู้สึกไม่ปลอดภัยที่เด็กมีต่อสภาพแวดล้อมภายในหอผู้ป่วยของโรงพยาบาล นับเป็นความท้าทายของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคโควิด 19 เนื่องจากจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้และมีทักษะที่ถูกต้องในการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้าน พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการใช้กระบวนการ พยาบาลในการแก้ปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยเด็กรายบุคคลแบบองค์รวม เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กสามารถจัดการกับโรคโควิด 19 ได้ อย่างปลอดภัย และประยุกต์ใช้แนวทางการดูแลผู้ป่วยเด็กต่อเนื่องโดยใช้หลัก D-METHOD เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรค"
} |
{
"en": "The quasi-experimental research was a two-group pretest-posttest design. The purposes of the research were to study the effects of a health literacy development program in Coronavirus 2019 prevention for older adults with diabetes mellitus on health literacy and Coronavirus 2019 preventive behavior. The samples were older adults with uncontrolled type 2 diabetes patients. They all were living in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province.The sample was selected by systematic random sampling and put into an experimental and a comparative groups with 35 people each. Research instruments were 1) a health literacy development program in Coronavirus 2019 prevention for older adults with diabetes that was based on the concept of health literacy development for older adults by Manafo and Wong. The 6-week activities were workshops and knowledge reviewing by LINE application. 2) A handbook of health literacy in Coronavirus 2019 prevention; and 3) questionnaires on health literacy and Coronavirus 2019 preventive behavior. The tools were validated by 5 experts and the content validity indexes were .95 and 1.00, respectively. Kuder-Richardson-20 of the health literacy questionnaire was .85. Cronbach’s alpha coefficient of the Coronavirus 2019 preventive behavior was .79. Data were analyzed by descriptive statistics and a t-test. The result revealed as follows: after enrolling in the program, the health literacy and preventive behavior in Coronavirus 2019 prevention of the experimental group was better than before enrolling in the program, and the comparative group at p-value < .01",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาความ รอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับผู้สูงอายุโรคเบาหวาน ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม ป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลุ่มตัวอย่างสุ่ม แบบเป็นระบบ เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 35 คน เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมพัฒนาความ รอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับผู้สูงอายุโรคเบาหวาน โดยประยุกต์แนวคิดการพัฒนาความ รอบรู้ด้านสุขภาพผู้สูงอายุของมานาโฟและหว่อง กิจกรรมประกอบด้วยการอบรมเชิงปฏิบัติการและให้ความรู้ทางแอปพลิเคชันไลน์ มีระยะเวลา 6 สัปดาห์ 2) คู่มือความรอบรู้ด้านสุขภาพกับการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับผู้สูงอายุโรคเบาหวาน 3) แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เครื่องมือตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ .95 และ 1.00 ตามลำดับ มีค่าความเที่ยงของคูเดอร์ ริชาดสัน 20 เท่ากับ .85 ส่วน พฤติกรรมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราค เท่ากับ .79 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรม กลุ่มทดลองมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01"
} |
{
"en": "The purposes of this research was to investigate factors associated with duration time rehabilitation of stroke patient in community Buriram Province. This research was retrospective study. The sample consisted of 168 people of stroke patients they were selected by stratified random sampling. The instrument consisted of : (1) the problems questionnaires for stroke patient (2) the National Institutes of Health Stroke Scale (NIHSS) and (3) the questionnaires duration time of rehabilitation for stroke patien. The cronbach alpha reliability coefficients of questionnaires were .99, .86 and .86 respectively. Data collected by questionnaires. Research data were analyzed by both descriptive statistic (percentage, mean and standard deviation) and multiple logistic regression analysis.\nThe results of this research showed that the severity level of stroke patient 43.50% at moderate stroke level. Duration time of rehabilitation 49.40% rehabilitation leesthan 6 month. factors associated with duration time rehabilitation of stroke patient furthermore showed that stroke patient without body paralysis had rehabilitation as 5.08 time respectively in 6 month than stroke patient with body paralysis, duration time of stroke lessthan morethan 12 month had rehabilitation as 1.63 time respectively in duration time of stroke morethan 12 month and stroke patient less mental problem had rehabilitation morethan hight mental problem as 3.57 time respectively in stroke patient. Therefore, Duration time of rehabilitation appropriate, caregive considerate to care stroke patient in first period for the best body rehabilitation and focus mental caring patient for normal or approximaly functional for the fast body recovery and the best recovery efficiency.",
"th": "การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาการฟื้นฟูสภาพร่างกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองในชุมชน เป็นการวิจัยแบบศึกษาย้อนหลัง กลุ่มตัวอย่าง 168 คนคัดเลือกโดยสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือคือ (1) แบบสอบถาม ปัญหาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (2) แบบประเมินความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง (3) แบบประเมินระยะเวลาในการ ฟื้นฟูสภาพร่างกาย ความเที่ยงของแบบสอบถามมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาคเท่ากับ .86, .99 และ .86 ตามลำดับ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ Multiple Logistic regression analysis\nผลวิจัยพบว่าผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมีระดับความรุนแรงอยู่ที่ Moderate stroke ร้อยละ 43.50 มีระยะเวลาฟื้นฟู สภาพร่างกายหลังเจ็บป่วยไม่เกิน 6 เดือนร้อยละ 49.40 และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฟื้นฟูสภาพร่างกาย พบว่าผู้ป่วยที่ไม่มี อัมพฤกษ์อัมพาตมีโอกาสฟื้นฟูสภาพหลังเจ็บป่วยภายใน 6 เดือน เป็น 5.08 เท่าของผู้ป่วยที่มีอาการอัมพฤกษ์อัมพาต ผู้ป่วยที่มี ระยะเวลาเจ็บป่วยไม่เกิน 12 เดือนมีโอกาสฟื้นฟูสภาพหลังเจ็บป่วยภายใน 6 เดือนเป็น 1.63 เท่าของผู้ป่วยที่มีระยะเวลาเจ็บป่วย มากกว่า 12 เดือน และผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านจิตใจน้อยมีโอกาสฟื้นฟูสภาพหลังเจ็บป่วยภายใน 6 เดือนเป็น 3.57 เท่าของผู้ป่วยที่มี ปัญหาด้านจิตใจมาก ดังนั้น การฟื้นฟูสภาพร่างกายภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ผู้ดูแลควรดูแลในระยะแรกของการเจ็บป่วยและ เน้นดูแลจิตใจเพื่อให้มีการฟื้นฟูสภาพร่างกายได้เร็วและมีประสิทธิภาพของการฟื้นฟูดีที่สุด"
} |
{
"en": "This study was aimed develop of the Modification Model of Buddhist Health Care for the Elderly Chachoengsao Province. The sample consisted of 30 elderly people in the socially dependent group aged 60 years and over. By using Buddhist health care activities, which consisted of Activity 1. Healthy Food 2. Exercises for Health 3. 3 S. Build by Ourselves (Prayer, Meditation, Dharma Discussions) 4.Older adults join together. Collect data using questionnaires. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, standard deviation and compare the results within the statistical sample using Paired samples t – test.\nThe results of the research showed that mean scores 1) The after the intervention an average more knowledge scores higher than before intervention (p < .05) 2) The mean scores after the intervention an average more behavior scores higher than before intervention (p < .05) 3) The mean scores after the intervention an average more satisfaction scores higher than before intervention (p < .05). It shows that Model of Buddhist Health Care for the Elderly is appropriate and consistent with the lifestyle of the sample group and the community. Make health care in the Buddhist way of the elderly a part of daily life should be applied in other agencies.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนการดูแลสุขภาพวิถีพุทธของผู้สูงอายุ จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 30 คน โดยใช้กิจกรรมการดูแลสุขภาพวิถีพุทธดังนี้ 1. อาหารคู่สุขภาพ 2. ออกกำลังกายสร้างสุขภาพ 3. 3 ส.สร้างได้ด้วยตัวเรา (สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม) 4. สูงวัยร่วมด้วย ช่วยกันเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบ ผลภายในกลุ่มตัวอย่างสถิติที่ใช้ Paired samples t – test\nผลการวิจัยพบว่า 1) คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพก่อนและหลังใช้กิจกรรมแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ .05 2) คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพก่อนและหลังใช้กิจกรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ .05 3) คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจก่อนและหลังใช้กิจกรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่ารูปแบบ การดูแลสุขภาพวิถีพุทธของผู้สูงอายุมีความเหมาะสมสอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของกลุ่มตัวอย่างและชุมชน ทำให้การดูแล สุขภาพวิถีพุทธของผู้สูงอายุเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินชีวิตประจำวันควรนำไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานอื่นๆต่อไป"
} |
{
"en": "This article aims to study the role of nursing administrators in managing the care of COVID-19 patients who are isolated at home. Nursing management in the care of COVID-19 patients who have been isolated at home is a new form of nursing in the emergence of the coronavirus disease 2019 epidemic in which the number of infected people continues to rise increasingly and the number of beds in healthcare facilities is insufficient to meet demand. Therefore, it is a challenge in nursing management. Nursing administrators must play an important role in managing the care of COVID-19 patients who are isolated at home, including 1) establishing a special care team 2) allocating nursing manpower 3) coordinating with community organizations to adjust living spaces 4) communicating between the organization and personnel at all levels, according to the situation 5) risk and safety management 6) lessons learned 7) developing a body of knowledge in nursing practice for disease control and prevention 8) evaluating the outcomes of self-quarantine services to improve nursing quality, and 9) clarifying guidelines for disbursement of care for COVID-19 patients as prescribed by the Ministry of Public Health.",
"th": "บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทผู้บริหารทางการพยาบาลในการบริหารจัดการดูแลผู้ป่วยโรคโควิด-19 ที่แยกกักตัวที่บ้าน เนื่องจากการบริหารจัดการทางการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคโควิด-19 ที่ได้รับการแยกกักตัวที่บ้านเป็น รูปแบบการให้บริการพยาบาลรูปแบบใหม่ในภาวะจำเป็นฉุกเฉินของการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ที่จำนวนผู้ติดเชื้อยังคง เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและจำนวนเตียงในสถานบริการสุขภาพที่มีอยู่ไม่เพียงพอกับความต้องการ จึงเป็นความท้าทายในการบริหาร การพยาบาลที่ผู้บริหารทางการพยาบาลจะต้องมีบทบาทสำคัญในการบริหารจัดการดูแลผู้ป่วยโรคโควิด-19 ที่แยกกักตัวที่บ้าน ประกอบด้วย 1) จัดตั้งทีมดูแลเฉพาะกิจ 2) จัดสรรกำลังคนพยาบาลวิชาชีพ 3) ประสานความร่วมมือกับองค์กรในชุมชนปรับพื้นที่ พักอาศัย 4) สื่อสารระหว่างองค์กรและบุคลากรทุกระดับตามสถานการณ์ 5) บริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย 6) ถอดบทเรียน กระบวนการจัดบริการแบบแยกกักตัวที่บ้าน 7) พัฒนาองค์ความรู้ด้านการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อควบคุมและป้องกันโรค 8) ประเมิน ผลลัพธ์การจัดบริการแบบแยกกักตัวที่บ้านเพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาล และ 9) ชี้แจงหลักเกณฑ์แนวทางการเบิกจ่ายสำหรับ การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19 ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด"
} |
{
"en": "This phenomenological research aims to study perceptions and experiences on wearing removable acrylic dentures of the elderly at Bangkruai Hospital. 25 elderly persons wearing removable acrylic dentures were selected using purposive sampling. The data was collected by using in-depth interview questions until data saturation. The data was analyzed by transcribed verbatim and content analysis.\nThe results showed that the elderly provided the meaning of wearing removable acrylic dentures that “a dental appliance used to designate an artificial replacement for the natural teeth, and improves aesthetic appearance, also able to be removed for cleaning”. The seven main issues that emerged from the perceptions and experiences on wearing removable acrylic dentures of the elderly include 1) the problems before wearing the removable acrylic denture, 2) the helping digestive system, 3) the improvement of appearance, 4) the uncomfortable of wearing the dentures, 5) the speaking or pronunciation, 6) the reception of information, and 7) the maintenance of the removable acrylic denture.It is recommended that perceptions and experiences on wearing removable acrylic dentures of the elderly play a significant role in developing a wearing the removable acrylic denture model and provide knowledge to be a guideline for the patients after wearing the denture. An interprofessional practice also plays a crucial role for the elderly after wearing the denture to arrange the appointment to follow up and to solve or prevent the denture problems, and increase the quality of wearing the denture for the elderly.",
"th": "การวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยา เพื่อศึกษาการรับรู้และประสบการณ์ของผู้สูงอายุในการใส่ฟันเทียมถอดได้ โรงพยาบาลบางกรวย สัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่ใส่ฟันเทียมถอดได้ จำนวน 25 คน จากการเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง ใช้คำถาม สัมภาษณ์แบบเจาะลึกจนข้อมูลอิ่มตัว นำข้อมูลมาถอดความแบบคำต่อคำ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา\nผลการวิจัย พบว่า ผู้สูงอายุให้ความหมายของการใส่ฟันเทียมถอดได้ คือ “การใส่ฟันเทียมเพื่อทำหน้าที่ทดแทนฟันแท้ที่ สูญเสียและเสริมสร้างบุคลิกภาพให้ดีขึ้น และสามารถถอดทำความสะอาดได้” การรับรู้ผ่านประสบการณ์ของผู้สูงอายุในการใส่ฟัน เทียมถอดได้ ประกอบด้วย 7 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1) ปัญหาก่อนใส่ฟันเทียมถอดได้ 2) ช่วยระบบย่อยอาหาร 3) เสริมสร้างบุคลิกภาพ 4) ความไม่สุขสบายในช่องปาก 5) การพูดหรือการออกเสียง 6) การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และ 7) การดูแลฟันเทียมถอดได้ข้อเสนอแนะ การรับรู้ผ่านประสบการณ์ของผู้สูงอายุในการใส่ฟันปลอมถอดได้เป็นสิ่งสำคัญที่จะนำไปสู่การวางแผน ปรับปรุงคุณภาพในการใส่ฟันเทียม และการให้ความรู้ที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ได้จริง การดำเนินการแบบสหสาขา วิชาชีพโดยทันตแพทย์และพยาบาลมีความสำคัญในการติดตามนัดหมายและดูแล เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง และทำให้การใส่ฟันเทียมถอดได้ของผู้สูงอายุมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น"
} |
{
"en": "Tobacco use is a major public health problem worldwide. This study examined the effects of the invented toe sheath acupressure (TSA) combined with motivational interviewing (MI) as a treatment for smoking cessation. One hundred and sixteen smokers were divided into 4 groups: control group, MI group, TSA group, and MI plus TSA group. Data were collected at baseline and 1, 3, 6, and 9 months after interventions. Data were analyzed by using repeated measures MANCOVA.\nResults showed that smokers (68.97%) reported that there was a high level of the unpleasant smell of cigarettes after using the invented TSA which made them reduce smoking cravings. The treatments could significantly reduce smoking (F (3,925.354) = 4.444, p = .006, Eta Squared (η2) = .116). The control group showed significantly higher cigarettes smoked per day than those in the MI group and the MI plus TSA group (∆ = 6.485, p = .015; ∆ = 6.125 , p = .026, respectively).\nIn conclusion, using only MI may be sufficient to facilitate smoking cessation as the results were not different when compared to the MI plus TSA treatment. However, the TSA applied reflexology could be an alternative means to initiate quitting smoking. Also, MI should be used to affirm cognitive modification for smokers.",
"th": "การเสพติดบุหรี่ก่อปัญหาด้านสาธารณสุขทั่วโลก การวิจัยนี้เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้ปลอกนิ้วเท้ากดจุดสะท้อน เท้ากับการสัมภาษณ์สร้างแรงจูงใจเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ ในกลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการสุ่มแบบเจาะจงจำนวน 116 คนซึ่งแบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มควบคุมไม่ได้รับการแทรกแซงใดๆ 2) ได้รับกิจกรรมการสัมภาษณ์สร้างแรงจูงใจ 3) ได้รับปลอกนิ้วเท้ากดจุดสะท้อนเท้า และ 4) ได้รับกิจกรรมการสัมภาษณ์สร้างแรงจูงใจร่วมกับได้รับปลอกนิ้วเท้า เก็บข้อมูลก่อนทดลองและในเดือนที่ 1, 3, 6, 9 วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติ repeated measures MANCOVA\nผลการวิจัยพบว่าผู้ใช้ปลอกนิ้วเท้ากดจุด TSA (68.97%) เกิดความรู้สึกว่ากลิ่นและรสชาติของบุหรี่เปลี่ยนไปจนรู้สึกไม่ อยากสูบในระดับมากถึงมากที่สุด การแทรกแซงมีผลต่อจำนวนการสูบบุหรี่ (F (3,925.354) = 4.444, p = .006, Eta Squared = .116) กลุ่มควบคุม แสดงการสูบบุหรี่ต่อวัน สูงกว่ากลุ่ม MI และกลุ่ม MI plus TSA (∆ = 6.485, p = .015; ∆ = 6.125, p = .026) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ\nดังนั้นการสัมภาษณ์สร้างแรงจูงใจอย่างเดียวน่าจะเพียงพอในการช่วยเลิกบุหรี่ เนื่องจาก ผลลัพธ์ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามการใช้ปลอกนิ้วเท้ากดจุดสะท้อนเท้าก็เป็นทางเลือกทางหนึ่งในการช่วยเป็นจุดเริ่มต้นในการลด ละ เลิกบุหรี่ นอกจากนี้ ควรใช้ MI เพื่อปรับเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจสำหรับผู้สูบบุหรี่ต่อไป"
} |
{
"en": "The objectives of this quasi-experimental research were to compare the level of working memory in the experimental group of older persons among before experiment, after experiment and follow-up and to compare the level of working memory of the elderly between the experimental and the control group in the after experiment and follow-up period. The subject in this study was sixty older persons who had no dementia and were voluntarily willing to participate the research project. Participants were screened by using the 2002 Mini-Mental State Exam (the 2002 MMSE in Thai version). A total of sixty participants were randomly selected and divided into two groups (the experimental group and the control group) by using the matching method based on the scores of the Corsi Block test. The research instruments used in this research consisted of 3 main parts: (i) The working memory training program for the elderly based on Acceptance and Commitment Therapy, (ii) Corsi Block Test, and (iii) Color Trial Test. The period of the study can be divided into three main periods: (i) before experiment, (ii) after experiment, and (iii) follow-up. The experimental group was trained by using the working memory training program while the control group was trained by using the normal teaching method designed by the elderly school. Data were analyzed by using Repeated-Measures Analysis of Variance: One between-subject variable and one within-subject variable and the post-hoc comparison using the Bonferroni method. The result showed that the elderly in the experimental group had a significantly higher level of working memory in the posttest and the follow-up period than that in the control group (p < .05). In addition, the finding revealed that the elderly in the experimental group had a significantly higher level of working memory in the posttest and the follow-up period than that in the control group (p < .05).",
"th": "วัตถุประสงค์ของการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความจำใช้งานสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มทดลองระหว่าง ก่อนทดลอง หลังทดลอง และระยะติดตามผล และเปรียบเทียบความจำใช้งานสำหรับผู้สูงอายุระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม หลังทดลองและระยะติดตามผลกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ ที่ไม่มีภาวะสมองเสื่อม โดยพิจารณาจากแบบทดสอบสภาพสมองเบื้อง ต้นฉบับภาษาไทย เอ็ม เอ็ม เอส อี -ไทย 2002 ของกรมสุขภาพจิต และสมัครใจเข้าร่วมการทดลอง สุ่มแบ่งกลุ่มโดยการจับคู่คะแนน จากแบบทดสอบคอร์ซี่บล็อกเทส เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จำนวนกลุ่มละ 30 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมเสริม สร้างความจำใช้งานด้วยทฤษฎีการยอมรับและพันธะสัญญาสำหรับผู้สูงอายุ 2) แบบทดสอบคอร์ซี่บล็อกเทส และ 3) แบบทดสอบ คัลเลอร์ไทรแอลเทส กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความจำใช้งานด้วยทฤษฎีการยอมรับและพันธะสัญญาสำหรับผู้สูงอายุ ส่วนกลุ่มควบคุม ได้รับการเรียนการสอนปกติจากโรงเรียนผู้สูงอายุ การทดลองแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ก่อนทดลอง หลังทดลอง และ ระยะติดตามผล 3 สัปดาห์ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่มและหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและทดสอบ ความแตกต่างรายคู่แบบบอนเฟอโรนี่ ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุกลุ่มทดลองมีความจำใช้งานหลังทดลองและระยะติดตามผล สูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผู้สูงอายุกลุ่มทดลองมีความจำใช้งานหลังทดลองและระยะติดตามผล สูงกว่าผู้สูงอายุกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05"
} |
{
"en": "COVID-19 epidemic severely affects the global health system and the economy. All countries have recognized the importance of campaigning for people of all ages to get vaccinated as quickly as possible. This is because the vaccine is safe and highly effective in preventing infection and reducing the severity of the disease. However, among pregnant and postpartum women, the rate of vaccination remains relatively low because they lack knowledge of the efficacy of vaccines and fear that the vaccine will harm the baby. Therefore, they decided to refuse vaccination, which increases the risk of serious complications when contracting COVID-19. However, vaccination is voluntary, pregnant women should be counseled or advised on COVID-19 vaccination to use for decision making.\nTherefore, nurses are important people who should encourage pregnant women and postpartum women to get vaccinated against COVID-19 to prevent infection and reduce the severity of the disease by presenting empirical evidence on the efficacy and safety of vaccines, encourage family members to participate in supporting pregnant women, provide information about vaccination principles and establishing a system for continuous symptom monitoring, so that pregnant women can be confident and willing to receive vaccinations. This will benefit the health of pregnant women and babies in the current situation of the COVID-19 epidemic.",
"th": "สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบสุขภาพ และระบบเศรษฐกิจทั่วโลก ทุกประเทศได้เล็งเห็นความสำคัญของการรณรงค์ให้ประชาชนทุกช่วงวัยได้รับวัคซีนป้องกันโรคดังกล่าวโดยเร็วที่สุด เนื่องจากวัคซีน มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันการติดเชื้อและลดความรุนแรงของโรค อย่างไรก็ตาม ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดยังคงมีอัตราการได้รับวัคซีนค่อนข้างต่ำเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับประสิทธิภาพของวัคซีน และกลัวว่าวัคซีน จะทำให้เกิดอันตรายแก่ทารก จึงตัดสินใจปฏิเสธการรับวัคซีน เป็นการเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงกรณีเกิด การติดเชื้อโควิด-19 ขึ้น อย่างไรก็ตามการฉีดวัคซีนถือเป็นความสมัครใจ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดจึงควรได้รับคำปรึกษา หรือได้รับคำแนะนำในการรับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ\nดังนั้น พยาบาลจึงเป็นบุคคลสำคัญที่ควรจะส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 เพื่อป้องกันการติดเชื้อและลดความรุนแรงของโรค ด้วยการนำเสนอข้อเท็จจริงจากหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของวัคซีน ส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมสนับสนุนหญิงตั้งครรภ์ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับหลักการรับวัคซีน รวมถึง สร้างระบบติดตามอาการต่อเนื่อง เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความมั่นใจและยินดีเข้ารับการฉีดวัคซีน อันจะส่งผลดีต่อสุขภาพของ หญิงตั้งครรภ์และทารกในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปัจจุบัน"
} |
{
"en": "The purpose of this quasi-experimental with two group pretest-posttest design aim to examine the effect of Participatory Learning with PBRI Model 2022 on Knowledge, Attitude and Stroke Prevention Behaviors among Village health volunteers (VHVs). The samples consisted of 70 VHVs put into experimental and comparative groups which consisted of 35 persons in each groups. The 12-week participatory learning with PBRI Model 2022 consists of 1) an experience stage, 2) a reflective stage, 3) a conceptual stage, and 4) an applied concept.\nResearch instruments consists of Knowledge Attitude and Stroke Prevention Behaviors questionnaires. The content validity was 0.96, 1.0, 1.0 and reliability was 0.78, 0.98 and 0.95, respectively. Those were analyzed using descriptive statistics and t-test. The results showed that after enrolling in the program, the mean scores of Knowledge, Attitude and Stroke Prevention Behavior of the experimental group were lower than those of before enrolling in the program and lower than the comparative group at p-valve < .05. Knowledge, Attitude and Stroke Prevention Behavior scores of the experimental group were higher than before enrolling the program and higher than the comparative group at p-valve",
"th": "การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่ม วัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมด้วย สบช.โมเดล 2022 ต่อความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มตัวอย่างเป็น อสม. จำนวน 70 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 35 คน เครื่องมือที่ใช้ทดลอง คือ โปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมด้วย สบช.โมเดล 2022 จำนวน 12 สัปดาห์ โดยมีกิจกรรม 4 ขั้น คือ 1) ขั้นประสบการณ์ 2) ขั้นสะท้อนคิด 3) ขั้นความคิดรวบยอด และ 4) ขั้นประยุกต์แนวคิด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม ความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา 0.96, 1.0, 1.0 และมีค่าความเชื่อมั่น 0.78, 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติที ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ของกลุ่มทดลองสูงกว่า ก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคหลอด เลือดสมองโดยการนำโปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมด้วย สบช.โมเดล 2022 มาใช้ในการพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านความรู้ เจตคติ การคัดกรองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนได้ต่อไป"
} |
{
"en": "This study was a quasi-experimental research with a one-group pretest-posttest design. The study aimed to examine the effects of community participation empowerment programs on self-acre abilities to prevent falls in the elderly. The study samples were 30 elderly people and 8 key informants of the empowerment in Na Fai Sub-district, Muang District, Chaiyaphum Province. Purposive sampling and inclusion criteria based on Gibson’s empowerment concept were used. The experimental group received 8-week empowerment program by community participation developed by the researcher.The program activities included providing knowledge and balancing test (Time Up and Go Test), home visits, exercise skill practice, and empowerment, supported by community leaders, health care personnel and relatives. Research tools used to collect data consisted of 3 sections: 1) personal information 2) environmental information 3) elderly self-care ability assessment form and the ability to manage the environment to prevent falls in the elderly. The treatment used in the experiment was an empowerment program by community participation. Content validity of the questionnaires was verified by 5 experts. The reliabilities of the instruments were 0.80, 0.79 and 0.80 respectively. The data were analyzed using frequency, distribution, percentage, mean, standard deviation, and paired-samples t-test.\nThe results showed that after participating in a community-based empowerment program, the elderly participants had higher mean scores of self-care ability and ability in managing the environment to prevent falls, and balancing ability compared to their baseline at the .05 statistical significance level.\nTambon Health Promoting Hospital should bring Community Engagement Empowerment Program to apply and expand the results in the elderly in the diabetic group, Hypertension and various chronic diseases to enable the elderly to have self-care behaviors to prevent falls sustainably.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียวโดยวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์เปรียบ เทียบความสามารถการดูแลตนเอง และความสามารถในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันการหกล้ม และ เปรียบเทียบความสามารถ การดูแลตนเองในการทรงตัวของผู้สูงอายุ ก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการเสริมพลังอำนาจโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน กลุ่ม ตัวอย่างจำนวน 30 คน เป็นผู้สูงอายุติดบ้าน และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักในการเสริมพลังอำนาจ จำนวน 8 คน โดยใช้การเลือกแบบ เจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กำหนด ใช้การเสริมพลังอำนาจตามแนวคิดของกิ๊บสัน กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการเสริมพลัง อำนาจ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เป็นเวลาทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ ประกอบด้วยกิจกรรมการให้ความรู้ การทดสอบความสามารถใน การทรงตัว การเยี่ยมบ้าน ฝึกทักษะการออกกำลังกาย และการเสริมพลังอำนาจสนับสนุนจากผู้นำชุมชนบุคลากรสาธารณสุขและ ญาติ เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้สูงอายุ ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ 3 แบบ ประเมินความสามารถในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุและความสามารถในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองเป็นโปรแกรมการเสริมพลังอำนาจ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรง คุณวุฒิ 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบความเที่ยงโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของคอนบราคมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เท่ากับ 0.89 0.97 และ 0.89 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติการวิเคราะห์ Paired-sample t-test\nผลการวิจัยพบว่าภายหลังได้รับโปรแกรมการเสริมพลังอำนาจโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยความ สามารถในการดูแลตนเองและความสามารถในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันการหกล้ม และค่าเฉลี่ยความสามารถในการทรงตัว ของผู้สูงอายุ สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)\nโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ควรนำโปรแกรมการเสริมพลังอำนาจโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน นี้ไปประยุกต์ใช้และ ขยายผลในผู้สูงอายุกลุ่มโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคเรื้อรังต่างๆ ในชุมชน เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลตนเองใน การป้องกันการหกล้มอย่างยั่งยืนต่อไป"
} |
{
"en": "This research aimed to; 1) Behaviors for cerebrovascular disease among elderly risk group of tertiary hospital 2) study factors Influencing preventive behaviors for cerebrovascular disease among elderly risk group of tertiary hospital The sample consisted of 136 among elderly risk group of tertiary hospital. The research instrument was a questionnaire composed of 5 parts: demographic data, stroke knowledge, risk perception factors, severity of stroke, perceived benefits and obstacles to stroke prevention practices, social support and stroke preventive behaviors. The content validity index of a questionnaire was 0.88 and Knowledge questionnaire finds KR - 20 equal to 0.82, the reliability coefficients of each sub-parts, were 0.84, 0.81, 0.86 and 0.86 respectively. Descriptive statistics and Stepwise multiple regression analysis were used in data analysis. Statistical significance was set at the level of .05\nThe results were as follows. among elderly risk group of tertiary hospital, knowledge of cerebrovascular disease was at the high level with 43.4 percent. risk perception factors showed the moderate level of 71.3 percent. severity of stroke factors showed the high level of 86.1 percent. perceived benefits factors showed the moderate level of 52.2 percent. and obstacles to stroke prevention practices factors showed the moderate level of 45.6 percent. Social Support communication factors showed the moderate level of 54.4 percent , family factors showed the moderate level of 69.1 percent, neighbor factors showed the moderate level of 63.2 percent, staff personnel factors showed the high level of 56.6 percent and preventive behaviors for cerebrovascular disease showed the moderate level of 89.7 percent. Factors associated with perceived severity of disease (B = 0.080) and social-emotional and family support (B = 0.109) can jointly predict stroke prevention behaviors in the elderly, at risk groups, tertiary care hospitals in overall 8.8 percent of the variance of stroke preventive behavior at p <.05.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง โรงพยาบาล ตติยภูมิ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง โรงพยาบาลตติยภูมิการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณา (Descriptive research) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรค หลอดเลือดสมองใน ผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง โรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 136 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตาม กรอบแนวคิดทฤษฏีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ และแรงสนับสนุนทางสังคม มี 5 ส่วน 1) ข้อมูลทั่วไป 2) ความรู้เกี่ยวกับโรค หลอดเลือดสมอง 3) ปัจจัยการรับรู้โอกาสเสี่ยง ความรุนแรง การรับรู้ประโยชน์ และอุปสรรคของการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคหลอด เลือดสมอง 4) แรงสนับสนุนทางสังคมและ5) พฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ค่าดัชนีความตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.88 แบบสอบถามความรู้ หาค่า KR - 20 เท่ากับ 0.82 มีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงแบบสอบถามส่วนที่ 3 - 5 เท่ากับ 0.84, 0.81 0.86 และทั้งฉบับ เท่ากับ 0.86 ตามลำดับ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ วิเคราะห์การถดถอยพหุ โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\nผลวิจัยพบว่า 1) ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง มีความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมองอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 43.4 มีปัจจัยรับรู้โอกาส เสี่ยงเพื่อป้องกันโรคการเป็นโรคหลอดเลือดสมองอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 71.3 ปัจจัยการรับรู้ความรุนแรงความรุนแรงของ โรคหลอดเลือดสมอง อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 81.6 ปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคการเป็นโรคหลอดเลือด สมอง โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 52.2 ปัจจัยการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองเพื่อ ป้องกันโรคการเป็นโรคหลอดเลือดสมองอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 45.6 ปัจจัยแรงสนับสนุนทางสังคมด้านการสื่อสารอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 54.4 ปัจจัยแรง สนับสนุนทางสังคมด้านอารมณ์จากครอบครัว ในระดับปานกลาง ร้อยละ 69.5 ปัจจัยแรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนบ้านรวมอยู่ ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63.2 ปัจจัยแรงสนับสนุนทางสังคมจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 56.6 และพฤติกรรม การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 89.7 ปัจจัยที่มีการรับรู้ความรุนแรงของโรค (B = 0.080) และ แรงสนับสนุนทางสังคมทางด้านอารมณ์และครอบครัว (B = 0.109) สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอด เลือดสมองในผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง โรงพยาบาลตติยภูมิ ในภาพรวมได้ร้อยละ 8.8 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<.05"
} |
{
"en": "Promptly, a field intensive care unit has been set up amidst a natural disaster or the world’s catastrophe as the severe acute respiratory syndrome coronavirus-19 pandemic. to support the spread of severe disease. outbreak People with severe lung infections leading to respiratory failure (ARDS) requiring NMBA, along with sedatives to increase blood oxygen levels. There were no more complications related to muscle weakness. By means of good management regarding a designated area is classified into rooms for medical supplies, preparation and personal protective equipment, airborne infection isolation, admission and discharge patients. the appropriateness of human resources and healthcare budget as well as the innovative.\nDuring the coronavirus disease 2019 outbreak, may be postponed severe cases of patients undergoing surgery are not urgent. Must require workers to be fully vaccinated according to the criteria. and if there is a history of exposure to the disease. Be tested and undergo rigorous quarantine. Anesthetized personnel when free from burden. One of the caregivers of patients. which is the main function of supporting the respiratory system. Including airway assessment intubation and setting up a ventilator as well as the heart and circulatory system. It is necessary to know the management system. Take care of it according to the principles of preventing the spread of infection. Under the supervision of a medical professional for the benefit of the public.",
"th": "ไอซียูวิสัญญีภาคสนามถูกจัดตั้งขึ้นอย่างเร่งด่วนในสถานการณ์ภัยพิบัติ เพื่อรองรับการแพร่ระบาดของโรครุนแรง ดังเช่นในสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีการติดเชื้อรุนแรงที่ปอดจนเกิดภาวะระบบทางเดินหายใจล้มเหลว (ARDS) ที่ต้องให้ยาคลายกล้ามเนื้อกลุ่ม NMBA ควบคู่ไปกับยานอนหลับเพื่อช่วยเพิ่มระดับออกซิเจนในเลือด โดยไม่พบ ภาวะแทรกซ้อนเรื่องกล้ามเนื้ออ่อนแรงมากขึ้น14 อยู่ในห้องแยก พื้นที่แบ่งเป็นสัดส่วน ด้วยระบบการบริหารจัดการที่ดี ได้แก่ ห้องเวชภัณฑ์ ครุภัณฑ์ ห้องสำหรับเจ้าหน้าที่สวมใส่ชุดป้องกันการสัมผัสเชื้อเตรียมความพร้อมก่อนปฏิบัติงาน โดยจัดอัตรากำลัง คนและงบประมาณด้านการรักษาพยาบาลที่เหมาะสม มีความคล่องตัว การสื่อสารประสานงานกับโรงพยาบาลภาคสนามตลอดจน หน่วยงานสนับสนุนอย่างใกล้ชิด ผ่านเครือข่ายสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลอันทันสมัย\nในช่วงมีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หนัก กรณีผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดไม่เร่งด่วน อาจเลื่อนออกไปก่อน ต้องกำหนดให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับวัคซีนครบถ้วนตามเกณฑ์ และหากมีประวัติการสัมผัสโรคเกิดขึ้น ต้องทำการตรวจหาเชื้อและ เข้ารับการกักตัวอย่างเข้มงวด บุคลากรทางวิสัญญีเมื่อว่างจากภาระ จึงเป็นหนึ่งในการดูแลผู้ป่วย ซึ่งหน้าที่หลักในการประคับประคอง ระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ การประเมินทางเดินหายใจ การใส่ท่อช่วยหายใจ และการตั้งเครื่องช่วยหายใจ อีกทั้งระบบหัวใจ และการไหลเวียนเลือด จำเป็นต้องทราบระบบการจัดการ ดูแลให้ถูกต้องตามหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ภายใต้มาตรการ การดูแลของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม"
} |
{
"en": "This study ware research and development aims to analyze situations and development model for immunization of COVID-19 vaccine in elderly and 7 congenital diseases group (in name call 608 group). the sample was the consenting group and the non-vaccinating group, 175 people equally, totaling 350 people. Tools used was storage form and interview form. Results in pre-development period were coverage rate of vaccine ware in Multiple logistic regression founded Death anxiety and accept vaccine service if public health officer goes to service at home. Development model ware founded: 1) Situation analysis of vaccination data; 2) Community leaders, VHV. integrate work at all villages and vaccination campaigns in community participle. 3) Use village health convention center for working 4) Use motorbike innovation service at house and farms 5) Praise vaccinated person model 6) Report chief and district public health officer. After development founded vaccine coverage (83.2%). Recommendations should practice on participle in community, solve attitudes on vaccine deaths and focus on proactive vaccination in community can be successful.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สถานการณ์ และผลของการพัฒนาการเสริมสร้าง ภูมิคุ้มกันด้วยวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในกลุ่มผู้สูงอายุมีอายุ 60 ปีขึ้นไป และผู้มีโรคประจำตัวในกลุ่ม 7 โรค ประจำตัว (กลุ่ม 608) กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มยินยอมฉีดวัคซีนและไม่ยินยอมฉีดวัคซีน 175 คนเท่ากัน รวม 350 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบเก็บข้อมูล และแบบสมภาษณ์ ผลการศึกษาก่อนพัฒนา กลุ่มผู้ไม่มารับวัคซีนส่วนมากเป็นเพศชาย การไม่รับวัคซีน คือ กลัว เสียชีวิต ญาติไม่ยินยอม วิเคราะห์สหปัจจัย พบว่า กลัวเสียชีวิต และ ยินดีหากรัฐไปให้บริการที่บ้าน การพัฒนารูปแบบเป็นดังนี้ 1) วิเคราะห์สถานการณ์ 2) ผู้นำ อสม.บูรณาการงานแบบมีส่วนร่วม 3) ใช้สุขศาลาเป็นที่ทำงาน 4) ใช้นวัตกรรมซาเล้งพาเข็มไปหา แขนที่บ้านและไร่นา 5) เชิดชูบุคคลต้นแบบ 6) รายงานผลกับนายอำเภอ ภายหลังการพัฒนารูปแบบ มีการฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 83.2 สรุปและข้อเสนอแนะ ควรใช้การมีส่วนร่วม ระบบสุขภาพอำเภอ แก้ไขทัศนคติการเสียชีวิตจากวัคซีน และควรเน้น การฉีดวัคซีนเชิงรุก จึงทำตามรูปแบบนี้ได้"
} |
{
"en": "Type 2 Diabetes is a major global public health problem. High blood sugar levels are the leading causes of diabetic complications. The current guidelines to control blood sugar levels focus on diet consumption behavior promotion. According to research evidence, most type 2 diabetes mellitus patients participating in behavior change programs or receiving activities as prescribed by the hospital but still cannot control blood sugar levels due to lack of diet consumption behavior to control blood sugar levels. The previous studies on factors influencing diet consumption behavior included personal cognitive factors, socio-environmental factors, behavior factors, individual beliefs factors and cues to action factors. Therefore, the review on relevant theories, behavior modification techniques for diet consumption and evidence-based practice will guide health care professional to design appropriate intervention and activities for type 2 diabetes mellitus patients.",
"th": "โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นปัญหาที่สำคัญของสาธารณสุขทั่วโลก ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงจะมีโอกาส เสี่ยงต่อการเป็นโรคแทรกซ้อนจากเบาหวานสูง ปัจจุบันแนวทางการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดที่สำคัญ คือ การส่งเสริมพฤติกรรม การบริโภคอาหารที่เหมาะสม และพบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานจำนวนไม่น้อยเข้าร่วมโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือได้รับกิจกรรม ตามที่สถานพยาบาลกำหนด แต่ยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ เนื่องจากขาดพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือด ผลการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 คือ ปัจจัยด้านพุทธิ พิสัยต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ปัจจัยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมต่อพฤติกรรม ปัจจัยด้านพฤติกรรมสนับสนุน ปัจจัยด้านความ เชื่อของบุคคล และปัจจัยด้านแรงจูงใจสู่การปฏิบัติ ซึ่งบทความนี้ได้นำเสนอแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง แนวทางการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และหลักฐานเชิงประจักษ์ ที่จะช่วยให้บุคลากรทางสุขภาพสามารถออกแบบการจัดกิจกรรม ที่เหมาะสมได้"
} |
{
"en": "This research is a descriptive study aimed to examine the smoking cessation helping behavior among nursing students and to explore factors predicting smoking cessation helping behavior of nursing students. The study was based on five factors of health literacy: accessibility skills, comprehension skills, questioning skills, decision-making skills, and application skills. The purposive sampling was 688 nursing students at nursing Institutes. The instruments were a questionnaire of heath literacy in smoking cessation helping and smoking cessation helping behavior. The Content Validity Index (CVI) was .92 and the Cronbach’s alpha coefficient were .92 and .96 respectively. The data were analyzed by mean, standard deviation, Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results revealed that the samples had 5 factors of health literacy were at a high level ( = 3.31, SD = .47). The smoking cessation helping behavior were at a moderate level ( = 2.87, SD = .64). The application skills (r=.50) and questioning skills (r=.45) predicted the smoking cessation helping behavior of nursing students by 27.4 percent (R2 = 0.27, F= 129.05). The recommendation develops a skills-building program that encourages knowledge of smoking cessation so that students have the attributes of being more literacy in smoking cessation.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive study) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการช่วยเลิกบุหรี่ และ ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการช่วยเลิกบุหรี่ของนักศึกษาพยาบาล ปัจจัยความรอบรู้ทางสุขภาพ 5 ด้าน คือ ทักษะการเข้าถึง ทักษะ เข้าใจ ทักษะไต่ถาม ทักษะตัดสินใจ และทักษะนำไปใช้ กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง เป็นนักศึกษาพยาบาลในสถาบันพยาบาล จำนวน 688 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความรอบรู้ทางสุขภาพด้านการช่วยเลิกบุหรี่ และพฤติกรรมการช่วยเลิก สูบบุหรี่ โดยผ่านการตรวจสอบคุณภาพได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.92 และค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าครอนบาค เท่ากับ 0.92 และ 0.96 ตามลาดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบ พหุขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรอบรู้ทางสุขภาพด้านการช่วยเลิกบุหรี่ทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก ( = 3.31, SD = .47) พฤติกรรมการช่วยเลิกบุหรี่ อยู่ในระดับปานกลาง ( = 2.87, SD = .64) ทักษะการนำไปใช้ (r = .50) และทักษะ การไต่ถาม (r = .45) สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการช่วยเลิกสูบบุหรี่ได้ร้อยละ 27.40 (R2 = 0.27, F = 129.05) ข้อเสนอ แนะพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างทักษะที่ส่งเสริมให้เกิดความรอบรู้ด้านการช่วยเลิกบุหรี่เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะของการเป็น ผู้ที่มีความรอบรู้ด้านการช่วยเลิกบุหรี่มากขึ้น"
} |
{
"en": "The objective of this study was to collect and analyse model/methods of pre-treatment, treatment, and post-treatment phases in the institutions providing best practice services both nationally and internationally. The scoping review was used as a conceptual framework and research articles were selected from seven countries. Seventy out of 2,553 research studies were met criteria. Content analysis was used based on the Donabedian model. The results were summarized in 4 phases: 1) Pre-treatment phase, focuses on the quality of the management system and screening. 2) Treatment phase, emphasizes on standard care and practice guideline. 3) Post-treatment phase, centres on using the psychosocial care service, creating a network and developing a care system and 4) Unspecified treatment phase, emphasizes on integrated care with patient-centred care using communication and virtual technology for counselling.",
"th": "การศึกษาครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและวิเคราะห์รูปแบบ/วิธีการให้บริการโรคมะเร็งทั้งระยะก่อน ระหว่าง และหลัง การรักษาของหน่วยงานที่ให้การปฏิบัติเป็นเลิศทั้งในและต่างประเทศ ใช้กรอบแนวคิดการทบทวนวรรณกรรมแบบกำหนดขอบเขต คัดเลือกงานวิจัยจาก 7 ประเทศ จากงานวิจัยทั้งหมด 2,553 เรื่อง มีงานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 70 เรื่อง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการ วิเคราะห์เนื้อหาตาม Donabedian model ผลการศึกษา พบว่ารูปแบบ/วิธีการให้บริการโรคมะเร็ง แบ่งเป็น 4 ระยะ 1) ก่อนรักษา มุ่งเน้นคุณภาพของระบบการบริหารจัดการและการคัดกรอง 2) ระหว่างการรักษา เน้นการให้บริการตามมาตรฐานและแนวปฏิบัติ 3) หลังการรักษา เน้นการใช้บริการทางจิตใจและสังคม การสร้างเครือข่ายบริการเชื่อมโยงกับบุคลากรในระดับต่าง ๆ และพัฒนา ระบบบริการ และ 4) ไม่ระบุระยะ เน้นการดูแลแบบบูรณาการโดยใช้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารและแบบ เสมือนจริงในการให้คำปรึกษา"
} |
{
"en": "Patient triage is a tool for effective resource management in caring of emergency patients. Nurses must have triage knowledge and skills to properly sort emergency patients based on their severity. This quasi-experimental study aimed to examine effects of using an Emergency Department Patient Triage Online Instruction on knowledge and accuracy in patient triage of nurse. The adult learning theory was used as the conceptual framework. The participants were 23 registered nurses working in emergency departments, which were purposive sampling from the Royal Thai Army hospitals. The study was conducted between April 2019 to May 2020. The research instrument was the Emergency Department Patient Triage Online Instruction, including 6 content topics and the practice scenarios. Data collection was done using the Emergency Patient Triage Knowledge Test and the Emergency Patient Triage Accuracy Record Form. The Wilcoxon matched-pairs signed-rank test was used to compare the knowledge and triage accuracy before and after online learning. The findings showed that the participants’ knowledge scores were statistically significantly higher than the scores before studying (p <.001), and the triage accuracy scores were statistically significantly higher than the scores before studying (p <.001). These findings reveal that online instruction can improve nurses’ knowledge and skill in patient triage at the emergency department.",
"th": "การคัดแยกผู้ป่วยเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการบริหารจัดการทรัพยากรในการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างมีประสิทธิภาพ พยาบาล จำเป็นต้องมีความรู้และทักษะในการคัดแยกเพื่อสามารถคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินตามระดับความรุนแรงได้อย่างเหมาะสม การวิจัยกึ่ง ทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้บทเรียนออนไลน์เรื่องการคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินต่อความรู้และความถูกต้อง ในการคัดแยกผู้ป่วยของพยาบาล โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในห้องฉุกเฉิน จำนวน 23 ราย คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจากโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก ดำเนินการวิจัยระหว่าง เดือน เมษายน 2562 ถึง เดือนพฤษภาคม 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บทเรียนออนไลน์เรื่องการคัดแยกผู้ป่วยที่ห้อง ฉุกเฉินที่ประกอบด้วยเนื้อหาบทเรียน 6 บทและแบบฝึกหัดสถานการณ์จำลอง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบทดสอบความรู้เรื่อง การคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน และแบบบันทึกคะแนนความถูกต้องในการคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน เปรียบเทียบความแตกต่าง ของความรู้และความถูกต้องในการคัดแยกก่อนและหลังการเรียนบทเรียนออนไลน์โดยใช้สถิติทดสอบวิลคอกซัน (the Wilcoxon Matched Pairs Signed-Ranks Test) ผลการวิจัยพบว่าหลังเรียนบทเรียนออนไลน์กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความรู้ มากกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และมีคะแนนความถูกต้องของการคัดแยกหลังเรียน มากกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p < .001) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าบทเรียนออนไลน์สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาความรู้และทักษะของ พยาบาลในการคัดแยกผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินได้"
} |
{
"en": "The purpose of this describes research was to study the operating situations and guidelines for developing desirable characteristics of graduates nursing students during the COVID-19 pandemic among College of Nursing under the Praboromarajchanok Institute. The total sample of 72 the primarily responsible for academic development and graduate characteristics from 30 colleges was recruited using purposive sampling. Data were collected using a semi-structured interview focus on operating situations and guidelines for developing desirable characteristics of graduates nursing students. The data were analyzed using descriptive statistic and content analysis.\nThe results showed that the operating situations and guidelines for developing desirable characteristics of graduates nursing students during the COVID-19 pandemic, the colleges adapt their teaching methods to online or combine with small group and postpone in some subjects (40.00 percent). For practicum, the colleges using simulation with small group workshops such as problem-based learning and simulation-based learning combined with hands-on training in wards, nursing homes and communities (86.67%) and online learning (40.00 %). Student development activities changed to online engagements (86.67 %), using a small group event, or limitation the number of student (83.33 %). Covid-19 epidemic lead the College of Nursing to develop the educational management model and educational technology systems. On the other hand, the College of Nursing unable to organize student development activities in some characteristic. Teachers need more time to prepare for teaching. Students sometimes lose interest in learning and lack of skill training in some subjects. The results of the study can be used to improve the activities to develop desirable characteristics of graduated nursing who are below the criteria.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพสภาพการดำเนินงานและแนวทางการพัฒนา คุณลักษณะบัณฑิตพยาบาลที่พึงประสงค์ท่ามกลางสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ของวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบัน พระบรมราชชนก กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการพัฒนานักศึกษาจากวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก 30 แห่ง รวม 72 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเกี่ยวกับสภาพการดำเนินงานและ แนวทางการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตพยาบาลที่พึงประสงค์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา\nผลการวิจัยพบว่า สภาพการดำเนินงานพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตพยาบาลที่พึงประสงค์ท่ามกลางสถานการณ์โรคระบาด โควิด-19 วิทยาลัยพยาบาลต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบในเป็นการเรียนออนไลน์หรือผสมผสานไปกับการเรียนแบบกลุ่มย่อยและเลื่อน การเรียนบางวิชา (ร้อยละ 40.00) เรียนแบบกลุ่มย่อยในสถานการณ์จ�าลองร่วมกับการฝึกปฏิบัติในหอผู้ป่วย สถานพยาบาล และ ชุมชน (ร้อยละ 86.67) และเรียนออนไลน์ (ร้อยละ 40.00) กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเป็นกิจกรรมออนไลน์ (ร้อยละ 86.67) แบ่งกลุ่ม ย่อย (ร้อยละ 83.33) สถานการณ์โรคระบาดทำให้เกิดการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่ไม่สามารถจัดกิจกรรมในบาง คุณลักษณะ ใช้เวลาในการเตรียมการสอนมาก นักศึกษาขาดความสนใจขณะเรียนออนไลน์และขาดการฝึกทักษะในบางเรื่อง ผลการ ศึกษาสามารถใช้ปรับปรุงการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตพยาบาลที่ยังต่ำกว่าเกณฑ์"
} |
{
"en": "This quasi-experimental research aimed to study the effects of non-pharmacological management and prevention program for acute delirium in postoperative critically ill patients. The participants were adult patients aged over 18 years old and admitted to two surgical intensive care units (3IC and SDICU 51), Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. Data were collected from 100 postoperative critically ill patients. Fifty of the participants in the experimental group received non-pharmacological management and prevention program, while another 50 of the participants in the control group received usual care. The research instruments were the non-pharmacological management and prevention program for acute delirium and the Richmond agitation sedation scale assessment. Data were analyzed using descriptive and Chi-squares statistics. The results revealed that the program of non-pharmacological management and prevention for acute delirium had reduced the incidence of acute delirium at the significant level of .05 (p = .028) and incidence of unplanned extubation at the significant level of .05 (p = .041).",
"th": "งานวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการและป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันโดยไม่ใช้ยา ในผู้ป่วยวิกฤตหลังผ่าตัด กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม 3IC และหอผู้ป่วยวิกฤต 51 (SDICU51) คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 100 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง จำนวน 50 คน ที่ได้รับโปรแกรมการจัดการและป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันโดยไม่ใช้ยา ส่วนกลุ่มควบคุม จำนวน 50 คน ที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย โปรแกรมการจัดการและป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันโดยไม่ ใช้ยา และแบบประเมินภาวะสับสนเฉียบพลันของริชมอนด์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติ χ2 test\nผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมการจัดการและป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันโดยไม่ใช้ยาสามารถลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะ สับสนเฉียบพลัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p = .028) และสามารถลดอุบัติการณ์การดึงท่อช่วยหายใจจากเหตุการณ์ อันไม่พึงประสงค์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p = .041)"
} |
{
"en": "A quasi-experimental study to the effect of an unreasonable drug efficacy-enhancing program among non-communicable diseases among village health volunteers. Ubon Ratchathani Province. The sample was a village health volunteer in Ubon Ratchathani Province. A sample of 160 people was calculated, divided into experimental group and control group of 80 people each,The experimental group participated in a 24 week program for enhancing the competency of correct use of drugs in non-communicable diseases (NCDs) group. The control group received standard care from the hospital. The tools used for the collection and check the quality of confidence as follows : Knowledge scale, KR-20 value is 0.99. Behavior scale is 0.89. and Competentcy scale is 0.67. Data were analyzed using descriptive statistics.Test data with Independent t-test The research findings were as follow.\nThe results showed that the experimental group had knowledge, behavior and competency in rational drug use. in the chronic non-communicable disease group higher than the control group after receiving the rational use of medicine competency-enhancing program in the non-communicable chronic disease group of village health volunteers, statistically significant at the level (p<.05). Recommendations of this research can bring the program Applied to community leaders, community leaders, care givers.",
"th": "การวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาการพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพมีผลต่อความรู้ พฤติกรรมและ สมรรถนะการใช้ยาที่ถูกต้องในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่าง เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในจังหวัดอุบลราชธานี คำนวณกลุ่มตัวอย่างจำนวน 160 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและ กลุ่มควบคุม กลุ่มละ 80 คน โดยกลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพการใช้ยาที่ถูกต้องในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง(NCDs) ระยะเวลา 24 สัปดาห์ กลุ่มควบคุม ได้รับการดูแลตามมาตรฐานจากรพ.สต. เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมและตรวจสอบ ความเชื่อมั่นได้ดังนี้ แบบวัดความรู้ค่า KR-20 เท่ากับ 0.70 แบบวัดพฤติกรรมเท่ากับ 0.89 และแบบวัดสมรรถนะเท่ากับ 0.67 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าสถิติพรรณนาและทดสอบค่าทีแบบอิสระ(Independent t-test)\nผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีความรู้ พฤติกรรม และสมรรถนะในการใช้ยาที่ถูกต้อง ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สูงกว่ากลุ่มควบคุมภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพการใช้ยาที่ถูกต้อง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ (p<.05) ข้อเสนอแนะของงานวิจัยครั้งนี้ สามารถนำโปรแกรม ประยุกต์ใช้กับ ผู้นำชุมชน แกนนำชุมชน ผู้ดูแล (Care giver)"
} |
{
"en": "This article aims to point out the risks and healing support received by the VHV due to the COVID-19 outbreak. As a result, the VHV’s duties are at risk of contracting COVID-19 and tend to increase continuously. In addition to self-protection measures during the performance of duties, which consisted of self-protection by keeping distance, when VHV becomes an infected patient, the care will be no different from other patients. But there will be additional healing support as a medical worker. However the support for the VHV still has a delay than the situation when compared to other groups of medical worker. Despite the situation of the Covid-19 outbreak will have a downward trend, the roles, duties and risks of VHVs still remain the same. Therefore, to provide various actions to support the VHVs in the fight against the COVID-19 outbreak or any other epidemic that will follow; there should be a clear, concrete, and concrete support, healing support, and compensation regulations that can be applied to severe disease outbreak situations. In addition to COVID-19 that may occur again in the future and including support in the field of knowledge development of the potential to perform duties.",
"th": "บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงและการสนับสนุนเยียวยาที่ได้รับของ อสม. เนื่องจากการระบาด ของโรคโควิด-19 ได้ส่งผลให้การปฏิบัติหน้าที่ของ อสม. ต้องเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อโควิด-19 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากมาตรการในการป้องกันตนเองระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ซึ่งประกอบไปด้วยการป้องกันตนเองด้วยการรักษาระยะห่าง เมื่อ อสม. กลายเป็นผู้ป่วยติดเชื้อจะได้รับการดูแลไม่แตกต่างจากผู้ป่วยที่เป็นประชาชนโดยทั่วไป แต่จะมีการสนับสนุนเยียวยา และสิทธิ ต่าง ๆ ให้เพิ่มเติมในฐานะบุคลากรทางการแพทย์ แต่การสนับสนุนดังกล่าวส�าหรับกลุ่ม อสม. ยังมีความล่าช้ากว่าสถานการณ์ที่เกิด ขึ้นเมื่อเทียบกับบุคลากรทางการแพทย์กลุ่มอื่น ๆ ถึงแม้ว่าสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 จะมีแนวโน้มลดลง แต่อย่างไรก็ตาม บทบาทการทำหน้าที่และความเสี่ยงของ อสม. ก็ยังคงอยู่เช่นเดิม ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินการต่าง ๆ เพื่อสนับสนุน อสม. ในการ ต่อสู้กับการระบาดของโควิด-19 หรือโรคระบาดอื่นใดที่จะเกิดขึ้นตามมา ควรมีการกำหนดเป็นระเบียบการสนับสนุน เยียวยา และ ชดเชยที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม สามารถใช้ได้กับสถานการณ์การระบาดของโรคภัยต่าง ๆ ที่มีความรุนแรง นอกเหนือไปจากโควิด-19 ที่อาจเกิดขึ้นอีกได้ในอนาคต และรวมถึงการสนับสนุนในด้านความรู้ การพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่อย่างต่อเนื่อง"
} |
{
"en": "This mixed methods study aimed to explore the relationship between nurses’ stress and fear and their awareness of duties and investigate how their stress and fear affected their performance during the COVID-19 pandemic. The study was conducted among 509 registered nurses from Charoen Krung Pracharak Hospital, using the following instruments: Suanprung Stress Test-20 (SPST-20) by the Department of Mental Health, Fear of COVID-19 Pandemic Survey, and Registered Nurses’ Awareness of Duties Survey. The data were analysed using descriptive statistics, while statistical relationships were tested using Pearson product moment correlation coefficients with the p-value set below .05 (p < .05). A group of 15 volunteers participated in an in-depth interview, which was analysed using thematic analysis.\nThe results showed that most registered nurses had high levels of stress (45.8%), medium levels of fear (67.6%), and extremely high levels of awareness (52.8%); however, no relationship was found between their stress and fear and their awareness of duties during the COVID-19 pandemic (r = -.058 , p = .189 and r = .023, p = .602, respectively). Emerging from the in-depth interview with 15 participants were the following four themes: 1) abandoning family in times of crisis, 2) fear and primary responsibilities for patients, 3) burnout syndrome, and 4) psychosocial needs. This suggests that hospital executives should appropriately manage nurse staffing and provide physical and mental health care for nursing staff.",
"th": "การวิจัยผสานวิธีเพื่อสำรวจและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเครียด ความกลัวและความตระหนักในการปฏิบัติหน้าที่ และข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับความเครียดและความกลัวที่มีผลต่อปฏิบัติหน้าที่ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 509 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบวัดความเครียดของกรมสุขภาพจิต แบบสอบถามความกลัวต่อสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และความตระหนักในการปฏิบัติหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน อาสาสมัคร 15 คนเข้าร่วมการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ โดยใช้การวิเคราะห์แก่นสาระ (thematic analysis)\nผลการวิจัย พบว่า พยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่ร้อยละ 45.8 มีความเครียดสูง ร้อยละ 67.6 มีความกลัวปานกลาง และร้อยละ 52.8 มีความตระหนักสูงมาก ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดและความกลัวกับความตระหนักในการปฏิบัติหน้าที่ ในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 (r = -.058, p = .189 และ r = .023, p = .602 ตามลำดับ) การสัมภาษณ์เชิงลึกแบ่งเป็น 4 ประเด็น คือ 1) รู้สึกละทิ้งการดูแลครอบครัวในภาวะวิกฤต 2) ความกลัวและความรับผิดชอบหลักต่อการดูแลผู้ป่วย 3) ภาวะหมดไฟจากการทำงาน 4) ความต้องการการดูแลด้านจิตสังคม ดังนั้น การดูแลสุขภาพกายและจิตของพยาบาลที่ปฏิบัติหน้าที่ดูแลผู้ป่วย โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีความสำคัญ"
} |
{
"en": "This research aimed to study drug use knowledge, number, and problems related to drug use among elderly patients. The sample group was 88 elderly patients with chronic diseases who received services at medical clinics. The research instruments consist of the questionnaires of knowledge of drug use and problems related to drug use with a content validity index of 0.92 and 0.92, respectively. The reliability was analyzed using the Kuder-Richardson formula (KR-20) of 0.79 and Cronbach’s alpha coefficient formula of 0.80, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics; frequency, percentage, mean, and standard deviation. The relationships among variables were analyzed using Pearson’s correlation coefficient and Spearman’s rank correlation coefficient statistic.\nThe results showed that the research samples had a score of drug use knowledge at a good level (M = 10.73, SD = 1.53) and a problem related to drug use at a low level (M = 1.36, SD = .65). Drug use knowledge was negatively associated with drug problems statistically (r = .194, P<.05). Besides, the number of drugs used was a statistically significant positive correlation with drug use problems (r = .185, P<.05). The results of the study can be used for nurses to educate elderly patients with chronic diseases who receive a variety of medications to promote rational drug use.",
"th": "การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ และจำนวนชนิดยากับปัญหาการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุ โรคเรื้อรังที่มารับบริการในคลินิกอายุรกรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรังที่มารับบริการในคลินิกอายุรกรรม จำนวน 88 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุ และแบบสอบถามปัญหาการใช้ยา ของผู้ป่วยสูงอายุ มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา 0.92 และ 0.92 ตามลำดับ หาค่าความเที่ยงใช้สูตรของคูเดอร์ริชาร์ดสัน (KR-20) และสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ 0.79 และ 0.80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติเชิงพรรณา หาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากนั้นหาค่าความสัมพันธ์ด้วยสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน\nผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีคะแนนความรู้ในระดับดี (M = 10.73, SD = 1.53) คะแนนปัญหาการใช้ ยาอยู่ในระดับน้อย (M = 1.36, SD = .65) ความรู้มีความสัมพันธ์ทางลบกับปัญหาการใช้ยาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .194, P<.05) และจำนวนชนิดยาที่ใช้มีความสัมพันธ์ทางบวกกับปัญหาการใช้ยาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .185, P<.05) จากผลการศึกษา พยาบาลสามารถนำไปใช้ดูแลผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่ได้รับยาหลายชนิด ในการให้ความรู้ เพื่อให้มีการ ใช้ยาอย่างปลอดภัยต่อไป"
} |
{
"en": "This action research, aimed to study the effect of the development of COVID-19 patients care system of inpatient department in community hospital. The samples were divided into 2 groups: (1) 70 service recipients who were COVID-19 patients and (2) 33 service providers who were multidisciplinary teams. The research used system theory conceptual framework for development consisting of (1) input were service recipients, service providers, and service system (2) process using the cycle of PAOR comprised of four parts: planning, action, observation and reflection, and (3) output were service recipients, service providers, and service system. Data were analyzed descriptive statistics and paired t-test.\nThe results revealed that the care system by participation process which connected between inpatient department, families, communities, and partners network consisted of (1) Patient admission process (2) Patients care system of multidisciplinary in inpatient department and (3) Discharge planning process. The stress of service recipients and service providers after going into this system development had a statistical significance difference at .05 level and no adverse incidence was found. Research findings can be improved the quality of care of inpatient department for safety, reduce stress, and prevention of COVID-19 infection of service recipients and service providers.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของหอผู้ป่วยโรงพยาบาล ชุมชน กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้รับบริการ เป็นผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 70 คน และกลุ่มผู้ให้บริการ เป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ จำนวน 33 คน ใช้กรอบแนวคิดเชิงระบบในการพัฒนา ดังนี้ (1) สิ่งป้อนเข้า 3 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้รับบริการ ด้านผู้ให้บริการ และด้านระบบบริการ (2) กระบวนการ พัฒนาระบบให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่องโดยใช้วงจร PAOR ของ Kemmis and McTaggart ประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนกลับ และ (3) ผลลัพธ์ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้รับ บริการ ผู้ให้บริการ และคุณภาพบริการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติ paired t-test\nผลการศึกษา พบว่า การดูแลผู้ป่วยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมที่เชื่อมโยงกันระหว่างหอผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชนและภาคี เครือข่าย ครอบคลุม 3 กระบวนการ ประกอบด้วย (1) การรับผู้ป่วย (2) การดูแลรักษาในหอผู้ป่วยแบบสหสาขาวิชาชีพ และ (3) การวางแผนการจำหน่าย หลังการพัฒนาระบบ พบว่า ระดับความเครียดของผู้รับบริการ และผู้ให้บริการลดลงอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ด้านคุณภาพบริการ ไม่พบอุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์จากการปฏิบัติงาน ดังนั้นระบบการดูแลผู้ป่วยดังกล่าวช่วยให้ เกิดคุณภาพบริการที่ดีของหอผู้ป่วยใน เพื่อให้ผู้ให้บริการและผู้รับบริการมีความปลอดภัย ลดความเครียดและป้องกันการแพร่ กระจายเชื้อ"
} |
{
"en": "This quasi-experimental study aimed to examine an effect of an educational program on caregivers’ knowledge and ability enhancement regarding neonatal jaundice undergoing phototherapy by comparing caregivers’ knowledge and jaundice assessment competency. The sample consisted of 48 caregivers of newborns treated with phototherapy who were randomly selected and assigned to a control group of 24 caregivers and an experimental group of 24 caregivers. The research instruments consisted of knowledge testing on caring for newborns with jaundice treated by phototherapy and the ability of jaundice assessment form with the Index of Item Objective Congruence (IOC) of 0.86 and 1.00, respectively. The scales’ reliability was conducted using the KuderRichardson (KR-20), which was 0.78 and 0.81, respectively. Research data were analyzed using descriptive statistics, independent t-tests and dependent t-tests.\nThe results showed that the experimental group had a significantly higher mean score on knowledge than the control group (t = 8.25, p<.01). After the program, the experimental group had an ability enhancement regarding neonatal jaundice undergoing phototherapy score different from before participating in the program significantly (p<.01). Nurses can apply the findings to develop guidelines for educating caregivers of newborns treated with phototherapy.",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการให้ความรู้ต่อการพัฒนาความรู้ และความสามารถของผู้ดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองและได้รับการรักษาโดยการส่องไฟ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ดูแลทารก แรกเกิดที่ได้รับการรักษาโดยการส่องไฟ จำนวน 48 คน สุ่มตัวอย่างอย่างง่ายเป็นกลุ่มควบคุม 24 คน และกลุ่มทดลอง 24 คน เครื่องมือวิจัย คือ แบบทดสอบความรู้การดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองและได้รับการรักษาโดยการส่องไฟ และ แบบประเมินความสามารถของผู้ดูแลทารกในการตรวจประเมินภาวะเหลืองมีค่าความตรงตามเนื้อหา (IOC) = 0.86 และ 1.00 มีค่าความเที่ยง KR-20 = 0.78 และ 0.81 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Descriptive statistics สถิติ Independent t-test และ Dependent t-test\nผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้การดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองและได้รับการรักษาโดยการ ส่องไฟหลังการทดลอง = 10.58±0.97 มากกว่ากลุ่มควบคุม = 7.92±1.25 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p"
} |
{
"en": "This research was quasi-experimental research. The purpose of this research was to study the effect of a health literacy program on COVID-19 prevention behaviors. The sample consisted of type 2 diabetic patients. The sample was selected by purposive sampling. They were divided into an experimental and a control group. Each group was divided into 34 people. The experimental group received a health literacy program for 4 weeks and the control group received normal nursing care. The instruments used for data collection were a health literacy program and COVID-19 prevention behaviors questionnaire. These instruments had been examined by three experts. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, paired t-test., and independent t-test.\nThe results of the study found that after receiving a health literacy program on COVID-19 prevention behaviors, The experimental group had higher mean on health literacy and COVID-19 prevention behaviors scores than before receiving the program and more than the control group at a statistically significant (p< .05). Therefore, this program should be implemented to promote the prevention of COVID-19 or emerging disease in other patient populations, which may be applied to the context of each area.",
"th": "วิจัยฉบับนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกัน โรคโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 คัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้าจากนั้นจับคู่เข้าเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 34 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพ เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมได้รับ การพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ โปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพ แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม การป้องกันโรคโควิด-19 ผ่านการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน paired t- test และ Independent t-test\nผลการศึกษา พบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 กลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ และสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .05) ดังนั้น สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการป้องกันโรคโควิด-19 หรือโรคอุบัติใหม่ กับกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในพื้นที่อื่น ๆ หรือโรคอื่น ๆ ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่"
} |
{
"en": "The objective of this research was to study the causal relationship of spouse’s support in raising children, good attitude towards child, positive attitude towards breastfeeding, and love support breastfeeding behaviors during 6 months to 2 years of 71 adolescent mothers who received services at the Police General Hospital. The instruments consisted of a 6-level evaluation measure of spouse’s support in raising children, good attitude towards child, positive attitude towards breastfeeding, and love support breastfeeding behaviors, 10 items for each. The content validity was equal to 1.0. Cronbach’s alpha coefficients were .73, .75, .77 and .78, respectively. Data were analyzed using frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, correlation coefficients, and multiple regression analysis.\nThe results showed that spouse’s support in raising children, good attitude towards child, positive attitude towards breastfeeding, and love support breastfeeding behaviors during 6 months to 2 years of adolescent mothers were related to each other at the .001 level (r = .282 - .689). These variables were not related to the duration of raising children with breastfeeding. Good attitude towards children and a positive attitude towards breastfeeding could jointly explain the variation in supportive breastfeeding behaviors of adolescent mothers (43.0 %). Professionals should promote the role of spouses in supporting child rearing all stages of pregnancy and the role in breastfeeding support of family and society.",
"th": "วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการได้รับการสนับสนุนจากคู่สมรสในการเลี้ยงดูบุตร ทัศนคติที่ดีต่อบุตร ทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่แบบรักสนับสนุน ในช่วง 6 เดือนถึง 2 ปี ของมารดาวัยรุ่น ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลตำรวจ จำนวน 71 คน เครื่องมือ ได้แก่ แบบวัดการได้รับการสนับสนุน จากคู่สมรสในการเลี้ยงดูบุตร ทัศนคติที่ดีต่อบุตร ทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่ และพฤติกรรมการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่แบบ รักสนับสนุน เป็นมาตรประเมินรวมค่า 6 ระดับ 10 ข้อ มีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ 1.0 ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .73, .75, .77 และ .78 ตามลำดับ สถิติวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ\nผลการวิจัยพบว่า การได้รับการสนับสนุนจากคู่สมรสในการเลี้ยงดูบุตร ทัศนคติที่ดีต่อบุตร ทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงบุตร ด้วยนมแม่ และพฤติกรรมการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่แบบรักสนับสนุนของมารดาวัยรุ่น ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลตำรวจ มีความ สัมพันธ์กันในทิศทางบวกระดับค่อนข้างต่ำถึงระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r = .282 - .689) แต่ไม่มี ความสัมพันธ์กับระยะเวลาการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่ และพบว่าทัศนคติที่ดีต่อบุตร และทัศนคติที่ดีต่อการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่ ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนในพฤติกรรมการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่แบบรักสนับสนุนได้ร้อยละ 43.0 บุคลากรวิชาชีพควรส่งเสริม บทบาทของคู่สมรสในการสนับสนุนการเลี้ยงดูบุตร ตั้งแต่ตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอด และส่งเสริมบทบาทของคนในครอบครัวและ สังคมของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นในการสนับสนุนการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่"
} |
{
"en": "A chest trauma is a common condition. It has also been found to be the leading cause of death. Therefore, need to be treated urgently. The method of inserting a chest drain is one of the important treatments for patients with chest injuries. Aeromedical evacuation is an important role in ensuring that patients receive appropriate and timely care. However, aeromedical evacuation may affect the patient. Nurses play an important role and being part of aeromedical evacuation team. Therefore, there must be knowledge and understanding about the stress of flight that affects the patient’s body, Prevention guidelines, and Pre-flight assessment of the patient’s condition and caring for patient having chest drain during air transport. For patient care while transporting properly, quality and safety.",
"th": "การบาดเจ็บทรวงอกเป็นภาวะที่พบได้บ่อย และยังพบว่าเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ จึงต้อง ทำการรักษาอย่างเร่งด่วน ซึ่งการใส่สายระบายทรวงอกเป็นการรักษาผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บทรวงอกที่สำคัญอย่างหนึ่ง การลำเลียง ผู้ป่วยทางอากาศมีส่วนสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสมและทันท่วงที ทั้งนี้การลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศอาจจะมี ผลกระทบต่อผู้ป่วย ดังนั้น พยาบาลซึ่งเป็นสมาชิกทีมลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเครียดหรือ ผลกระทบจากการบินที่จะส่งผลต่อร่างกายผู้ป่วย แนวทางป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น การประเมินสภาพผู้ป่วยก่อนการลำเลียง ทางอากาศ และแนวทางการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บทรวงอกที่ใส่สายระบายทรวงอกที่สำคัญขณะลำเลียงทางอากาศ เพื่อให้การพยาบาล ผู้ป่วยขณะลำเลียงทางอากาศได้อย่างเหมาะสม มีคุณภาพและเกิดความปลอดภัยต่อผู้ป่วย"
} |
{
"en": "The pandemic of Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) continues to affect teaching and learning arrangement planned in the nursing program at the Royal Thai Army Nursing College (RTANC). Nursing instructors and students are required to adjust in many ways including teaching and learning strategies to respond to the changes resulted from emerging diseases. Medical and Surgical Nursing Department has considered adjusting the training approach in the Medical Field Service course from the original on-site training in the field area of RTANC to online scenario-based training through Zoom application for the 98 second-year nursing students, class 57. The training course consists of 3 steps: preparation, training, and evaluation. The evaluation results revealed that the mean score of knowledge and skills of medical field services for all students was 73.19 out of 100 which met the course requirement (Grade S = Satisfied). The students self-reported learning outcomes based on the 5 standards consistent with the National Higher Education Qualifications Framework showed that the average score was at a high level ( = 4.08 / 5, SD = 0.27).",
"th": "การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (Coronavirus Disease 2019: COVID-19) ส่งผลกระทบต่อ การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตของวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก (วพบ.) ทำให้ผู้สอนและผู้เรียนต้องปรับตัว เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ในการศึกษาทั้งด้านการพยาบาลและการทหารบรรลุวัตถุประสงค์และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยด้าน สภาพแวดล้อมจากโรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้น ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์ได้ปรับรูปแบบการฝึกภาคปฏิบัติโดยใช้ สถานการณ์เสมือนจริงเป็นฐาน (Scenario-based training) ในรายวิชาการบริการทางการแพทย์ในสนาม (Medical Field Service) สำหรับนักเรียนพยาบาล ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 57 จำนวน 98 นาย จากเดิมเป็นการเรียนการสอนแบบปกติในที่ตั้ง (On-site learning) โดยใช้พื้นที่สนามของวิทยาลัย มาเป็นรูปแบบออนไลน์ (Online learning) ผ่านระบบซูมแอปพลิเคชัน (Zoom application) การฝึกประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นเตรียมการฝึก ขั้นดำเนินการฝึก และขั้นสรุปและประเมินผลการฝึก ผลการประเมิน พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับความรู้และทักษะการบริการทางการแพทย์ในสนามของผู้เรียนภายหลังการฝึกฯ เท่ากับ 73.19 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ผ่านตามเกณฑ์การประเมินผลของรายวิชา (S = Satisfied) และผู้เรียนประเมินตนเองตามมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ 5 ด้านที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( = 4.08 / 5 คะแนน, SD = 0.27)"
} |
{
"en": "The situation of COVID-19 pandemic around the world enhances people to adjust themselves into new normal lifestyles including students in all level of academic institutions. Social distancing forced university to close down. Classrooms, hanging in the Clouds, need no tables, no chairs and no teachers standing in front of the class as usual. Disruptive adjustment happened while learning outcomes still focused on setting standards; these challenged the collaboration between teachers and students in order to turn the changes to be normal practices and reach the optimal outcomes of learning. Faculty of Nursing, Suan Dusit University faced this disruption with confidence that Work-Based Blended Learning and Technological Scaffolding System (WBSC:LMS) is prompt for teacher to handle the Online Teaching. Furthermore, before this crisis, teachers were continually prepared for using online tools for teaching and assessing the learning outcomes. Thus, challenges for teachers under COVID-19 to teach online are day to day lessons for them especially during March to May, 2020. They learned to be flexible and steady turn to dynamic teaching. This article aimed to unfold the online teaching following the proposed model designed by Klaus Schmidt (2004) with strongly belief that well preparing and dynamic teaching will create New Normal for teachers to coach their students through this quickly disruptive period with success.",
"th": "สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 เกิดขึ้นอย่างลุกลามและรวดเร็วทั่วโลก สร้างปรากฏการณ์ใหม่ในการใช้ชีวิต ของผู้คน รวมทั้ง นักเรียน นักศึกษา ในสถาบันการศึกษาทุกระดับ มาตรการของการเว้นระยะห่างทางสังคม ทำให้มหาวิทยาลัย ต้องปิดการเรียนการสอน ห้องเรียนในอาคารกลับแขวนล่องลอยไว้ในระบบคลาวด์ที่ไม่ต้องการโต๊ะและเก้าอี้ และที่ยืนของ อาจารย์หน้าชั้นเรียนเหมือนเคย การปรับตัวอย่างรวดเร็วชนิดพลิกฝ่ามือเกิดขึ้นในขณะที่ผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ ของหลักสูตรเป็นสิ่งที่มิอาจเปลี่ยนแปลงได้ สิ่งเหล่านี้คือความท้าทายที่อาจารย์และนักศึกษาจะต้องร่วมมือกันเพื่อให้การปรับตัว เป็นความคุ้นชินและสร้างผลสัมฤทธิ์ในที่สุด คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เผชิญการเปลี่ยนแปลงนี้ด้วยความเชื่อมั่น ในความพร้อมของระบบ ที่จะรองรับรูปแบบการสอนออนไลน์ ผนวกกับการเตรียมอาจารย์ให้สามารถใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยี การสอน และการสอบออนไลน์มาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ ความท้าทายสำหรับอาจารย์ ในสถานการณ์โรคโควิด-19 กับรูปแบบการ สอนออนไลน์ จึงเป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลา มีนาคม ถึง พฤษภาคม 2563 เพื่อให้การเรียนการสอนออนไลน์ มีความยืดหยุ่นและสามารถปรับเปลี่ยนอย่างเป็นพลวัต บทความนี้เป็นการถอดบทเรียนจากการสอนออนไลน์ การเตรียมการที่ดี การสอนที่มีพลวัต จะนำมาซึ่งปฏิบัติการสอนแบบใหม่ (New Normal) ให้อาจารย์สอนแนะนักศึกษาก้าวข้ามช่วงเวลาที่พลิกผัน อย่างรวดเร็วนี้ได้สำเร็จ"
} |
{
"en": "The process of developing research instruments in nursing is very important. This is because research tools are used to measure the value of a variable or to collect the data of the variable. It helps to transform abstract concepts into statistical, quantitative or qualitative data. Nursing variables, especially psychological variables, attitudes, behaviors, emotions, and attributes. In social science and management science, researchers cannot measure the variables or need to measure directly differently. Scientific and mathematical measurement. Therefore, nursing researchers must have a good understanding of the research tool development process. To be able to accurately create nursing research tools and get answers to research that meets the objectives of the research. It is important to identify the quality of the research.",
"th": "กระบวนการพัฒนาเครื่องมือวิจัยทางการพยาบาลมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเครื่องมือวิจัยจะใช้ใน การวัดค่าของตัวแปรหรือใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลของตัวแปร ช่วยแปรสภาพแนวคิดที่มีลักษณะนามธรรมให้เป็นข้อมูล ทางสถิติเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวแปรทางการพยาบาลส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับตัวแปร ด้านจิตใจ เจตคติพฤติกรรมอารมณ์ความรู้สึกและคุณลักษณะต่าง ๆ ทางสังคมศาสตร์หรือการบริหารจัดการ ซึ่งผู้วิจัย ไม่สามารถวัดตัวแปรหรือสิ่งที่ต้องการวัดได้โดยตรงซึ่งแตกต่างจากการวัดตัวแปรทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ดังนั้น ผู้วิจัยทางการพยาบาลต้องมีความรู้ความเข้าใจกระบวนการพัฒนาเครื่องมือการวิจัยเป็นอย่างดี เพื่อสามารถสร้างเครื่องมือ การวิจัยทางการพยาบาลได้อย่างถูกต้อง และได้คำตอบของการวิจัยที่ตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ รวมทั้งจะเป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะบ่งชี้ถึงคุณภาพของการวิจัยได้"
} |
{
"en": "Stroke is the second leading cause of death in older people after ischemic heart disease. After discharging from the hospital, these older people are considered as chronic patients who continue to require good care from their caregivers due to both physical and residual disabilities. It is imperative to rely on the caregiver relatives for daily activities and physical therapy to prevent further complications. If a relative who acts as a caregiver has been poorly prepared, it can result in stress because of new roles and lead to exhaustion in new roles. Therefore, healthcare workers need to find ways to strengthen these caregivers. This article covers the contents about types of stroke in elderly, risk factors for stroke in elderly, problems and basic needs of elderly with stroke, factors related to successful caregivers for elderly with stroke, and guidelines for strengthening caregivers. These contents will be useful for nurses to promote and support the relatives who care for older persons with stroke effectively",
"th": "โรคหลอดเลือดสมองเป็นภาวะที่ทำให้เกิดการเสียชีวิตในผู้สูงอายุอันดับที่ 2 รองจากภาวะหัวใจขาดเลือด ทั้งนี้ภายหลัง ออกจากโรงพยาบาล ผู้ป่วยกลุ่มนี้ถือเป็นผู้ป่วยเรื้อรังที่ยังคงต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจากญาติผู้ดูแลเนื่องจากยังมีความ บกพร่องทั้งทางร่างกายและมีความพิการหลงเหลือ จำเป็นที่จะต้องพึ่งพาญาติผู้ดูแลในการทำกิจวัตรประจำวันและการทำ กายภาพบำบัดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น หากญาติที่ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลได้รับการเตรียมความพร้อมไม่ดีนัก อาจส่งผลให้เกิดความเครียดจากบทบาทใหม่ที่เพิ่มขึ้นมามากมาย และนำไปสู่ภาวะเหนื่อยล้าในบทบาทใหม่ที่ได้รับได้ ดังนั้นจึงเป็น บทบาทของบุคลากรทางสุขภาพที่ต้องหาแนวทางในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ญาติผู้ดูแลเหล่านี้ต่อไป บทความวิชาการฉบับนี้ มีขอบเขตเนื้อหาเกี่ยวกับประเภทของโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ ปัญหาและความต้องการในการดูแลขั้นพื้นฐานของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการประสบความสำเร็จ ในการดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองของผู้ดูแล และแนวทางการส่งเสริมความแข็งแกร่งของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเนื้อหาเหล่านี้จะเป็นประโยชน์สำหรับพยาบาลในการส่งเสริมและสนับสนุนญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองให้มี ประสิทธิภาพต่อไป"
} |
{
"en": "Febrile convulsion is a common disease found in children at the age of 6 months – 5 years. Although the prognosis is rather effective, it makes caregivers feel much worried, and there will be several impacts in the case that children have recurrent seizures. Nurses have significant roles in utilizing the nursing process to do screening of children upon admission, involving in finding causes of fever, providing care for children during seizures, handling fever and preventing recurrent seizures, as well as preparing caregivers for fever handling at home and initial assistance for children in case of having febrile convulsion. Therefore, this article aims to present the data regarding febrile convulsion and role of nurses in providing care for children with febrile convulsion so that nurses acquire guidelines on planning and providing care for children with febrile convulsion efficiently, and that will further contribute to good quality of life of children and caregivers.",
"th": "ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion) เป็นภาวะที่พบบ่อยในเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ถึงแม้การพยากรณ์โรคจะค่อน ข้างดี แต่ก็สร้างความกังวลใจแก่ผู้ดูแลเป็นอย่างมาก และหากเด็กชักซ้าจะส่งผลกระทบตามมาหลายประการ พยาบาลมีบทบาท สำคัญในการใช้กระบวนการพยาบาล เพื่อประเมินสภาพเด็กเมื่อแรกรับ มีส่วนร่วมในการค้นหาสาเหตุของไข้ ให้การดูแลเด็กขณะชัก จัดการเรื่องไข้และป้องกันการชักซ้า ตลอดจนเตรียมผู้ดูแลในการจัดการเรื่องไข้ที่บ้านและการช่วยเหลือเด็กเบื้องต้นหากมีอาการ ชักจากไข้สูงเกิดขึ้น บทความนี้จึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอเกี่ยวกับภาวะชักจากไข้สูง และบทบาทพยาบาลในการดูแลเด็กที่ชักจาก ไข้สูง เพื่อให้พยาบาลมีแนวทางในการวางแผนและให้การพยาบาลเด็กที่ชักจากไข้สูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะคงไว้ซึ่งคุณภาพ ชีวิตที่ดีของเด็กและผู้ดูแลต่อไป"
} |
{
"en": "Health assessment is a crucial skill for nurses to assist decision making in identifying patient health problems and developing specific care plans for individual patients. Health assessment embraces both comprehensive assessment and focused assessment, which should be done simultaneously adopting cognitive, problem-solving, psychomotor, affective/interpersonal, and ethical skills. Health assessment comprises 4 steps which lead to quality nursing diagnosis including collecting the data, validating data, organizing or clustering the data, and recoding the data in order to gain accurate and complete data. In fact, even though health assessment plays an essential role for nurses, currently there are 4 dimensions of problems that sometimes make nurses unable to efficiently perform health assessment and accomplish accurate nursing diagnoses. The areas that need further resolution are: the nurses performing health assessments; development of health assessment competencies; support and opportunity; and patients and relatives.",
"th": "การประเมินสุขภาพเป็นทักษะสำคัญประการหนึ่งของพยาบาลที่ช่วยการตัดสินใจเกี่ยวกับการจำแนกปัญหาและวางแผน การพยาบาลที่เฉพาะเจาะจงสำหรับผู้ป่วยเป็นรายบุคคลได้ การประเมินสุขภาพมีทั้งการประเมินอย่างสมบูรณ์และการประเมินอย่าง เฉพาะเจาะจงโดยกระทำควบคู่ไปกับการใช้ทักษะด้านปัญญา ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะด้านการปฏิบัติ ทักษะด้านความรู้สึก หรือระหว่างบุคคล และทักษะด้านจริยธรรม การประเมินสุขภาพที่จะนำไปสู่การวินิจฉัยการพยาบาลอย่างมีคุณภาพ มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ การรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การจัดกลุ่มข้อมูล และการบันทึกข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลอย่างถูกต้องและครบถ้วน แต่ในความเป็นจริง การประเมินสุขภาพแม้จะมีความสำคัญสำหรับพยาบาล แต่ปัจจุบันพยาบาลยังมีปัญหาที่ทำให้ไม่สามารถประเมิน สุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพที่จะนำไปสู่การวินิจฉัยการพยาบาลอย่างถูกต้องและควรได้รับการแก้ไข 4 ด้าน ได้แก่ พยาบาลผู้ประเมิน สุขภาพ การพัฒนาสมรรถนะการประเมินสุขภาพ การสนับสนุนและโอกาส และผู้ป่วยและญาติ"
} |
{
"en": "Community health system is an important foundation for building healthy citizens. Working to create community well-being is a creative and important job. The important key success of the community health system is building a strong community. The role of the university should be involved in the research to create systemic intelligence and helps the health system to develop into more complete accuracy. Importantly, this article presents the concept on system development of the Contracting Unit for Primary care (CUP) operated by College of Nursing, Pibulsongkram Rajabhat University for local development on health promotion, as well as the treatment of all common diseases in the community without needing to go to the hospital and can reduce disease burden and hospital congestion. For these reasons, the hospitals can provide better quality services and reduce the burden of expenses of citizens and government. In this regard, the concept of community nursing aims to take care of people, families, and communities to have good health conditions. The concept of CUP network development must integrate the knowledge of nursing and public health science applying in the operation of health services by using the local community as a service base that covers 4 dimensions including health promotion, disease prevention, medical treatment, and rehabilitation, integrating the concepts of the nursing process and holistic nursing as well.",
"th": "ระบบสุขภาพชุมชนเป็นรากฐานที่สำคัญของการสร้างให้ประชาชนมีสุขภาพดี การทำงานเพื่อสร้างสุขภาวะชุมชนจึงเป็น งานที่สร้างสรรค์และสำคัญ โดยหัวใจสำคัญของระบบสุขภาพชุมชนคือการสร้างชุมชนเข้มแข็ง ซึ่งบทบาทของมหาวิทยาลัยควรเข้า มามีส่วนในการศึกษาวิจัยให้เกิดปัญญาเชิงระบบ จะช่วยให้ระบบสุขภาพพัฒนาไปสู่ความถูกต้องสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ที่สำคัญบทความ นี้ต้องการนำเสนอแนวคิดการพัฒนาหน่วยบริการประจำ ของวิทยาลัยการพยาบาลมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามเชิงระบบเพื่อ การพัฒนาท้องถิ่น ในการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนการดูแลรักษาโรคที่พบบ่อยทั้งหมดในชุมชนได้โดยไม่จำเป็นต้องไปโรงพยาบาล ลดภาระโรค ลดความแออัดทำให้โรงพยาบาลสามารถให้บริการด้วยคุณภาพที่ดีขึ้นและลดภาระค่าใช้จ่ายทั้งของประชาชนและภาค รัฐ ทั้งนี้แนวคิดการพยาบาลชุมชนมีเป้าหมายเพื่อดูแลบุคคล ครอบครัวและชุมชนให้มีภาวะสุขภาพที่ดี ซึ่งแนวคิดการพัฒนาหน่วย บริการประจำจะต้องบูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์ด้านการพยาบาลและการสาธารณสุขมาประยุกต์ใช้ให้บริการสุขภาพ โดยใช้ชุมชน เป็นฐานการบริการที่ครอบคลุม 4 มิติ ประกอบด้วยการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพ ร่วม กับแนวคิดของกระบวนการพยาบาลและการพยาบาลแบบองค์รวม"
} |
{
"en": "Promoting breast cancer prevention among working women is essential in order not to be fatal. Nurses play an important role in promoting breast cancer prevention health in working women by using the web site instruction and Bandura's self-regulatory theory. There are 4 steps: Step 1: Assess and enhance understanding. Step 2: Develop skills. Step 3 Decide and set goals, and step 4 self-regulation and reinforcement. It helps working women to understand themselves. Web-site instruction helps improve knowledge, demonstrations, practice skills in behavior modification with continuous monitoring via LINE or Facebook to exchange and learn from experience. It helps to boost morale and understanding behavioral practices, help working women to find solutions to problems together, apply new knowledge to the point of practicing, and changes lifestyle until able to reduce the risk of breast cancer in the future.",
"th": "การส่งเสริมสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านมในสตรีวัยทำงานเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อไม่ให้เป็นอันตรายถึงชีวิต โดยพยาบาลมีบทบาท สำคัญในการส่งเสริมสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านมในวัยทำงานโดยใช้เว็บช่วยสอนร่วมกับการส่งเสริมการกำกับตนเองของแบนดูร่า ซึ่งมี 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 ประเมินและเสริมความเข้าใจ ขั้นที่ 2 พัฒนาทักษะ ขั้นที่ 3 ตัดสินใจและตั้งเป้าหมาย และขั้นที่ 4 กำกับตนเองและเสริมแรง ทำให้สตรีวัยทำงานมีความเข้าใจตนเอง เว็บช่วยสอนช่วยพัฒนาความรู้ สาธิต ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม มีการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่องทางไลน์หรือเฟสบุ๊ค แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ จะช่วยเสริมแรงกำลังใจและ ความเข้าใจการปฏิบัติพฤติกรรม จะช่วยให้สตรีวัยทำงานสามารถค้นพบวิธีแก้ปัญหาร่วมกัน แล้วนำความรู้ใหม่มาประยุกต์ใช้ จนสามารถปฏิบัติได้จริง และมีการปรับเปลี่ยนแบบแผนการดำเนินชีวิต จนทำให้สามารถลดความเสี่ยงของมะเร็งเต้านมในอนาคต"
} |
{
"en": "Sarcopenia is one of the frequently-found geriatric syndromes. In Thailand, sarcopenia prevalence was 1 in 3 in the general population by 32.5 percent in males and 34.5 percent in females. Sarcopenia increased more in advanced age. Sarcopenia was caused by increasing illness, risk of frailty, limited activity daily living, increased risk of falls and cardiovascular diseases, decreased workability and quality of life, and increased treatment and mortality cost. Therefore, community and home healthcare nurses who work closely with older people at home had the role for assessment and screening the risk group of sarcopenia and assessment of complication after sarcopenia especially fall, promoting physical activity and exercise both resistance and aerobic exercises, promoting nutritional status, and withdrawing/quitting smoking and drinking which were important to promote the function of physical in older people. These will let the older people live independently, with no burden to the family and caregivers. It was also the quality indicators of community and home healthcare nurses in taking care of older people.",
"th": "ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นบ่อยในผู้สูงอายุ ในประเทศไทยพบความชุกภาวะมวลกล้าม เนื้อน้อยประมาณ 1 ใน 3 ของประชากรทั่วไป โดยพบร้อยละ 32.5 ในเพศชาย และร้อยละ 34.5 ในเพศหญิง โดยภาวะมวลกล้าม เนื้อพบมากขึ้นเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น การเกิดภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเปราะ บาง ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลง เพิ่มความเสี่ยงในการหกล้มและการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ความสามารถ ในการทำงานและคุณภาพชีวิตลดลง ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและเพิ่มอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ดังนั้นพยาบาลชุมชน และพยาบาลดูแลผู้ป่วยที่บ้านถือเป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับผู้สูงอายุที่บ้านมากที่สุด พยาบาลมีบทบาทตั้งแต่การประเมินหรือคัดกรอง กลุ่มเสี่ยงในการเกิดภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย การประเมินภาวะแทรกซ้อนหลังเกิดภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยโดยเฉพาะการพลัดตก หกล้ม การส่งเสริมกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายทั้งการออกกำลังกายแบบมีแรงต้านและแบบแอโรบิก การส่งเสริมภาวะ โภชนาการ และการลด/งดสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์มีความสำคัญเพื่อส่งเสริมการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถพึ่งพาตนเองได้ ไม่เกิดภาระต่อครอบครัวและผู้ดูแล รวมทั้งเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพในการดูแลผู้สูงอายุของพยาบาลในชุมชน และพยาบาลดูแลผู้ป่วยที่บ้าน"
} |
{
"en": "Nursing education currently has been emphasizing nursing skill practice in Learning Resources Center following the regulation from Nursing Council, including the community health nursing practicum subject. Regarding course learning outcomes, students are aimed to have the capacity to assess health conditions and basic needs of patients, plan nursing care related to an assessment for solving health problems or promoting health in both individual and family levels is required, accordingly. Moreover, provide nursing care for clients with safety and concern of rights is equally important. Thus, in order to prepare readiness for students before practicing in the genuine situation, applying simulated classrooms will encourage students to participate and increase nursing skills based on situations that similar to the actual contexts. This will result in not only confidence and also critical problem-solving thinking which leads to an appropriate clinical decision. Therefore, this article intended to be a guideline for nursing education particularly in community health nursing practicum subjects by applying simulation to increase effective learning skills.",
"th": "ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลเน้นให้ผู้เรียนได้มีการฝึกฝนทักษะการปฏิบัติมากขึ้นในห้องปฏิบัติการณ์ ตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาล ซึ่งรวมไปถึงรายวิชาการปฏิบัติพยาบาลอนามัยชุมชน โดยกำหนดว่าผู้เรียนจะต้องมีความ สามารถในการประเมินภาวะสุขภาพ ความต้องการการดูแลสุขภาพ วางแผนการพยาบาลเพื่อแก้ปัญหาหรือส่งเสริมสุขภาพของ บุคคลในครอบครัวและชุมชนได้อย่างถูกต้อง ให้การพยาบาลแก่ผู้รับบริการโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและสิทธิของผู้รับบริการเป็น หลักสำคัญ ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียนได้มีทักษะที่เหมาะสมก่อนที่จะไปฝึกปฏิบัติจริงกับผู้รับบริการ การใช้ ห้องเรียนจำลองจะทำให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมและฝึกฝนทักษะทางการพยาบาลต่าง ๆ ที่ตรงกับสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกับความเป็น จริงมากที่สุด ส่งผลให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนในด้านการส่งเสริมความมั่นใจ การคิดแก้ไขปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ และการตัดสินใจ ทางคลินิกอย่างสมเหตุสมผล บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับการจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาพยาบาล โดยเฉพาะวิชาพยาบาลอนามัยชุมชนโดยการนำสถานการณ์จำลองมาประยุกต์ใช้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ"
} |
{
"en": "COVID-19 is a global outbreak, a new emerging disease causing a dramatically increased the number of infected patients continually, result in overload working of the health personnel particularly nurses. Good management of the country is quite important and the Ministry of Public Health has concerned of nursing management. Consequently, the nurse collaboration center in COVID-19 outbreak was established to formulate policy, direction, and collaboration among nurses as a country agency. The nurse collaboration center has been working through the chief nursing officers (CNOs) committee, in which consisted of CNOs from regional and central sectors over the country. The 4 phrases of driving the nurse collaboration center: the 1St phase; 1-2 months of the beginning outbreak, the 2nd phase; 3-5 months after the outbreak, the 3rd phase; 6-10 months after the outbreak, and the 4th phase; 11-12 months after the outbreak. The operation of the nurse collaboration center revealed 3 major impacts on nursing profession and population: 1) policy formulation and direction of nursing service management, 2) a notable supervision, monitoring and collaboration mechanism system, and 3) various nursing knowledge and technology development. In addition, the policy recommendations were proposed to the Ministry of Public Health and the Nursing Organizations to better prepare the readiness for further nursing service management in the next wave of COVID-19 outbreak.",
"th": "การระบาดของโควิด-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน มีจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้นอย่าง รวดเร็วและต่อเนื่อง ส่งผลให้บุคลากรสุขภาพรวมถึงพยาบาลทำงานหนักขึ้น ดังนั้น การบริหารจัดการในภาพประเทศจึงมีความ สำคัญมาก กระทรวงสาธารณสุขได้จัดทำโครงการและจัดตั้งศูนย์ประสานความร่วมมือของพยาบาลในการระบาดโรคติดเชื้อโควิด- 19 เพื่อกำหนดนโยบาย ทิศทาง และประสานความร่วมมือของพยาบาลในภาพรวมของประเทศ ซึ่งดำเนินงานในรูปแบบของคณะ กรรมการประกอบด้วยผู้นำการพยาบาลทั้งจากส่วนกลางและส่วนภูมิภาคครอบคลุมเขตสุขภาพทั่วประเทศ การขับเคลื่อนและ พัฒนาการดำเนินงานของศูนย์ 1 ปีที่ผ่านมา แบ่งเป็น 4 ระยะ คือ 1) ช่วง 1-2 เดือนแรกที่เริ่มมีการระบาด 2) ช่วง 3-5 เดือนหลัง มีการระบาด 3) ช่วง 6-10 เดือนหลังมีการระบาด 4) ช่วง 11-12 เดือนหลังมีการระบาด ในแต่ละระยะเกิดผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่เป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพพยาบาลและส่งผลกระทบถึงประชาชน 3 ประการ คือ 1) การกำหนดนโยบายและทิศทางการบริหาร จัดการบริการพยาบาล 2) การพัฒนากลไก ติดตาม ประสานความร่วมมือ 3) การพัฒนาองค์ความรู้ทางการพยาบาล นอกจากนี้ มีข้อเสนอเชิงนโยบายต่อกระทรวงสาธารณสุข องค์กรการพยาบาล เพื่อให้เกิดความพร้อมยิ่งขึ้นในการบริหารจัดการบริการพยาบาล ผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 ระลอกใหม่ต่อไป"
} |
{
"en": "Patient safety is very important to patient, their family and staff members. This awareness is a measure of the success in on-going development of standards and qualities in Healthcare services. Therefore, learning management about patient safety in psychiatric patients with violent behavior by problem - based learning in medical and nursing students is building a foundation for learning about patient safety, cultivate attitudes and strengthen the provision of safe service and care for patients. Medical and nursing students place patient safety first awareness in every process of providing healthcare services. Especially the provision of services and care for psychiatric patients with violent behavior. Besides being aware of the safety of the patient. It is also one of the most important to be aware of the safety of service personnel.",
"th": "ความปลอดภัยของผู้ป่วย (Patient Safety) เป็นสิ่งที่พึงปรารถนาสำหรับผู้ป่วย ญาติ และบุคลากรผู้ให้บริการ รวมถึง เป็นสิ่งแสดงให้เห็นการพัฒนาคุณภาพการให้บริการทางสุขภาพที่ได้มาตรฐานและมีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตอบสนอง ความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการ ดังนั้นการจัดการเรียนรู้เรื่องความปลอดภัยของผู้ป่วยจิตเวชที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว รุนแรง โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) ในนักเรียนแพทย์และนักเรียนพยาบาลนั้น จะเป็นเสมือนการสร้างรากฐานการเรียนรู้ในเรื่องความปลอดภัยของผู้ป่วย ปลูกฝังทัศนคติ และเสริมสร้างการให้การบริการและ การดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างปลอดภัย เกิดความตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นลำดับแรกในทุกกระบวนการของการให้การ บริการทางด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง นอกจากการตระหนักถึงความปลอดภัย ของผู้ป่วยจิตเวชแล้ว การตระหนักถึงความปลอดภัยของบุคลากรผู้ให้บริการก็เป็นสิ่งที่สำคัญมากที่สุดอีกอย่างหนึ่งด้วยเช่นกัน"
} |
{
"en": "Preterm infants who need intensive medical care are in an environment entirely different than the protective environment of the womb. As we strive to improve our morbidity and mortality rates, we are challenged to enhance the neuroprotective development of the neonate, paying particular in NICU environment. Nurses work close to the family and have a role to promote developmental care. The neonatal integrative developmental care model identifies seven distinct core measures that provide clinical guidance for NICU staff in delivering neuroprotective family-centered developmental care in the NICU as the following: as the 1) healing environment, 2) partnering with families, 3) positioning & handling, 4) safeguarding sleep, 5) minimizing stress and pain, 6) protecting skin, and 7) optimizing nutrition. This model helps to promote normal growth and development.",
"th": "ทารกคลอดก่อนกำหนดภาวะวิกฤตอยู่สภาพแวดล้อมที่แตกต่างไปจากสภาพแวดล้อมที่อยู่ในครรภ์มารดา ประเด็นท้าทาย นอกเหนือจากการลดอัตราป่วยและอัตราตายในทารกเหล่านี้คือการป้องกันและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมใกล้เคียงกับภาวะ ปกติมากที่สุดภายใต้สิ่งแวดล้อมของแผนกทารกแรกเกิดวิกฤต พยาบาลเป็นบุคลากรในทีมสุขภาพที่ทำงานใกล้ชิดกับครอบครัวและ มีหน้าที่ในการส่งเสริมพัฒนาการทารกคลอดก่อนกำหนดวิกฤต การพยาบาลที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางตามรูปแบบการบูรณา การเพื่อให้ทารกคลอดก่อนกำหนดวิกฤตมีพัฒนาการที่ดีประกอบไปด้วยหลัก 7 ประการ คือ1) การจัดสิ่งแวดล้อม 2) การเป็นหุ้น ส่วนกับครอบครัว 3) การจัดท่าและการสัมผัส 4) การปกป้องการนอนหลับ 5) การลดความเครียดและความเจ็บปวด 6) การดูแล ผิวหนัง และ 7) การมีภาวะโภชนาการที่ดี เพื่อให้ทารกคลอดก่อนกำหนดภาวะวิกฤตมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการใกล้เคียงกับ ปกติให้มากที่สุด"
} |
{
"en": "Aggressive patient management is a risk which nursing students frequently face during the practical section of the Mental Health and Psychiatric Nursing. A previous evaluation found that the students showed fear, anxiety, and a lack of confidence in providing care to aggressive patients. Although the students study the theory, students lack real life experience in dealing with aggressive patient management. Therefore, the Mental Health and Psychiatric Nursing Department of the Royal Thai Army Nursing College have emphasized the importance of preparing knowledge and skills for enhancing student confidence prior to implementing nursing cares to aggressive patients. The author has developed a virtual reality program using case simulation for the management of aggressive patients. This allows the students to self-train and develop the required skills before dealing with real patients. Post-use assessment of the virtual reality program in 99 third-year nursing students indicated that the effectiveness index (E.I.) of the program is 0.5679. Knowledge on aggressive patient management of the nursing students increased. The results indicated a good satisfaction level (mean = 4.36, S.D. = 0.382).",
"th": "การจัดการผู้ป่วยก้าวร้าวเป็นความเสี่ยงที่พบได้บ่อยระหว่างการขึ้นฝึกปฏิบัติ เนื่องจากนักเรียนพยาบาลไม่เคยเผชิญ กับสถานการณ์จริงในการดูแลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวทำให้เกิดความกลัว วิตกกังวลและไม่มั่นใจในการให้การพยาบาล ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก จึงพัฒนานวัตกรรมสื่อการสอนทางการพยาบาล เรื่อง การจัดการผู้ป่วยก้าวร้าว โดยสร้างสถานการณ์จำลอง (Simulations) ผ่านโปรแกรมความจริงเสมือน (Virtual Reality) เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะการตัดสินใจการจัดการผู้ป่วยก้าวร้าวผ่านสถานการณ์จำลอง กลุ่มผู้ทดลองใช้โปรแกรม คือ นักเรียนพยาบาลกองทัพบกชั้นปีที่ 2 จำนวน 99 นาย ผลของการทดลองใช้โปรแกรมพบว่า ค่าดัชนีประสิทธิผลของโปรแกรม (E.I.) = 0.5679 แสดงให้เห็นว่าหลังจากการใช้โปรแกรมผู้เรียนมีคะแนนความรู้ในการจัดการผู้ป่วยก้าวร้าวเพิ่มขึ้น ผลประเมินความพึง พอใจต่อโปรแกรมความจริงเสมือนในการจัดการผู้ป่วยก้าวร้าวมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับดี (mean = 4.36, S.D. = 0.382)"
} |
{
"en": "A person’s history can create knowledge concerning of who does what and how until success journey. The purposes of this qualitative research were to examine work life history, working path to success, including describing the professional leader characters of Major General Khunying Asanee Saovapap. Auto-biographical research was used from the history owner and 29 close informants, who permitted to be interviewed, divided into 5 groups and individually interviewed using a different set of semi- structured interview. Data collecting using interviewing and from evidence bared data between the year 2019-2020. Analyzing data used content analysis and life story.\nThe results revealed that the administrator’s professional leader is the leader’s model with high proficiency at the national level institution. Using her knowledge and ability with succession in Thai cultural contest and outstanding characters, good moral with good life model including network drive supporters as “the wind beneath her wings,” helped through love, faith, trust in herself and her works; lead to accepting her as the outstanding leader. The 6 prominent characters and the professional leaders were having: 1) Broad and progressive vision 2) Appropriate decision with discipline 3) Cooperative concern 4) Public benefits abided as priority 5) Leading for better organization reform. 6) Developing Thai people to have a better quality of life and sustainable living. These made her received praise for the identity leader of the leaders. Applying her characters and a successful journey works as a lesson learned to develop Thai society leaders.",
"th": "ประวัติศาสตร์บุคคลจะสร้างความรู้ได้ว่า ผู้ใด ทำอะไร อย่างไรจนประสบความสำเร็จ วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยนี้ เพื่อศึกษาประวัติการทำงาน เส้นทางความสำเร็จ และลักษณะของผู้นำมืออาชีพของ พลตรีหญิง คุณหญิงอัสนีย์ เสาวภาพ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบ Auto - Biographical research จากเจ้าของประวัติและผู้ที่ใกล้ชิด จำนวน 29 ท่าน แบ่งเป็น 5 กลุ่ม และจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้าง 5 ชุด ระหว่าง พ.ศ. 2562 - 2563 ใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาของ ชาร์ยเออร์ และ life story work\nผลการวิจัยพบว่า พลตรีหญิง คุณหญิงอัสนีย์ เสาวภาพ เป็นผู้บริหารองค์กรระดับประเทศที่มีศักยภาพสูง มีความรู้ ความสามารถ จากบุคลิกภาพที่โดดเด่น จิตใจที่ใฝ่ดี และการมีตัวแบบที่ดีในชีวิต ภายใต้บริบทวัฒนธรรมความเป็นไทยร่วมด้วย การขับเคลื่อนของเครือข่ายที่เปรียบประดุจ “ลมใต้ปีก” ช่วยสนับสนุน ขับเคลื่อนด้วยความรัก ความศรัทธา และความไว้วางใจ ในผลงาน จนได้รับการยอมรับว่า เป็นผู้นำมืออาชีพที่โดดเด่น 6 ด้าน ได้แก่ 1) มีวิสัยทัศน์ก้าวหน้ากว้างไกล 2) ตัดสินใจดี มีวินัย 3) ใส่ใจประสานความร่วมมือ 4) ถือประโยชน์ของส่วนรวมมาก่อน 5) นำพาองค์กรสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น และ 6) สร้างความ ยั่งยืนอยู่ดีมีสุขของคนไทย รวมทั้งได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้นำของผู้นำที่มีอัตลักษณ์ ดังนั้นจึงควรประยุกต์ลักษณะของผู้นำ และเส้นทางการทำงานของท่านไว้เป็นบทเรียนนำไปใช้ในการพัฒนาความเป็นผู้นำของผู้บริหารในสังคมไทย"
} |
{
"en": "Exposure to extreme stressors such as intimate partner violence (IPV) could lead to insomnia, affecting physical and mental health of the victims. This study aimed to examine a) the relationships between insomnia and the number of types of IPV, perceived severity of violence, and social support among Thai adult women; b) the moderating effect of social support on the relationships between the number of types of IPV, perceived severity of each type of IPV (physical violence, sexual, and psychological) and insomnia after controlling for age, education, and income; and c) which form of social support, family or friends, was more effective as a moderator. The transactional model of stress and coping guided the study. A correlational, cross-sectional design with secondary data analysis was used. The insomnia item of the Patient Health Questionnaire, Severity of Abuse against Women Scale, and Multidimensional Scale of Perceived Social Support (family scale, and family scale) were used to measure insomnia, the number of types of IPV, and social support, respectively. The study sample was 284 Thai women receiving care at obstetrics and gynecology units in a Thai hospital. Hierarchical multiple regression was used to analyze data. Results showed that friends support and the number of types of IPV experienced significantly predicted insomnia.",
"th": "การเผชิญกับความเครียดที่รุนแรงเช่นความรุนแรงระหว่างคู่ครองอาจเป็นสาเหตุของการนอนไม่หลับซึ่งส่งผลกระทบต่อ สุขภาพร่างกายและจิตใจของสตรีที่ถูกกระทำ การวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมินี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ของการนอน ไม่หลับกับจำนวนชนิดของความรุนแรงระหว่างคู่ครอง การรับรู้ความรุนแรง และการสนับสนุนทางสังคมของสตรีไทย 2) ผลของ การสนับสนุนทางสังคมซึ่งเป็นตัวแปรกำกับ ต่อความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนชนิดของความรุนแรงระหว่างคู่ครอง การรับรู้ถึงความ สาหัสของความรุนแรงระหว่างคู่ครองแต่ละชนิดซึ่งประกอบด้วยความรุนแรงทางร่างกาย เพศ และจิตใจ กับการนอนไม่หลับหลัง ควบคุมตัวแปรด้านอายุการศึกษาและรายได้ และ 3) ประสิทธิผลของการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวหรือเพื่อนในการเป็น ตัวแปรกำกับ โดยยึดแบบจำลองการเปลี่ยนผ่านของความเครียดและการเผชิญความเครียดเป็นแนวทาง การวิจัยข้อมูลทุตยภูมินี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรแบบภาคตัดขวาง เครื่องมือวิจัยที่ใช้ประเมินการนอนไม่ หลับ จำนวนของความรุนแรงระหว่างคู่ครอง และการสนับสนุนทางสังคม ประกอบด้วย แบบประเมินการนอนไม่หลับ แบบประเมิน ความรุนแรงระหว่างคู่ครอง และแบบวัดพหุมิติในการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยสตรีวัยผู้ใหญ่ จำนวน 284 ราย ที่ได้เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลแผนกสูตินรีเวช วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น ผลการศึกษาพบว่าการสนับสนุนทางสังคมไม่ได้เป็นตัวแปรกำกับระหว่างความรุนแรงและการนอนไม่หลับ การ สนับสนุนทางสังคม จากเพื่อนเป็นปัจจัยทำนายการลดลงของการนอนไม่หลับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ"
} |
{
"en": "This research using a qualitative methods to describe the NCD service delivery linked to the community of NCD quality clinic with performance above benchmark of the Ministry of Public Health in cases of diabetes in every hospital in Singburi Province which was been certified for NCD quality clinic performance in the year 2014, in terms of 1) community organization 2) community health network 3) community population and 4) primary health care system in the community. Data was collected using an in-depth interview tool developed from NCD clinical quality assessment form of the Department of Disease Control. The results found that : 1) Sub-district Administrative Organization (SAO) had sufficient and continuous budget support to the community including plan/project and encouraged people to participate in activities according to the plan/ project as well as encouraged the community to be conducive to good health by creating and providing a place to exercises. 2) Village Health Volunteers (VHV) were the core of health promotion activities, made a plan and home visit of the risk groups and patients to monitor blood sugar levels. In addition, the Diabetes Club organized activities to share and exchange self-care knowledge that improved blood sugar controlling. 3) population in the community has been supported in health care knowledge and various activities by multidisciplinary teams and Diabetes club regularly which improved diabetes patients to have good self-care management skills.4) every hospital operated NCD quality clinic linked to the health promoting hospitals and communities included continuous treatment, reported the diabetes situation of the community, as well assupport SAO and communities to conduct projects/ activities to solve diabetes problems by the community itself.",
"th": "การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายรูปแบบการจัดบริการเชื่อมโยงกับชุมชนของคลินิก NCD คุณภาพ ที่มีผลการดำเนินงานสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขในจังหวัดสิงห์บุรี กรณีศึกษาโรคเบาหวาน ในโรงพยาบาล ทุกแห่งของจังหวัดสิงห์บุรี ที่ได้รับการตรวจประเมินรับรองผลการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ พ.ศ.2557 ด้านสถานะของ 1) องค์กรในชุมชน 2) เครือข่ายสุขภาพในชุมชน 3) ประชากรในชุมชน และ 4) ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในชุมชน โดยเก็บ รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก ตามแบบสัมภาษณ์ที่ผู้ศึกษาได้พัฒนามาจากแบบประเมินการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ ของกรมควบคุมโรค ผลการวิจัย พบว่า 1) องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) มีการสนับสนุนงบประมาณให้แก่ชุมชนอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง มีการจัดทำแผนงาน/โครงการและส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ ตลอดจนส่งเสริมให้ชุมชนเอื้อต่อการมีสุขภาพดี โดยการสร้างและจัดหาสถานที่ออกกำลังกาย 2) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน (อสม.) เป็นแกนหลักในการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ จัดทำแผนงานและเยี่ยมบ้านเพื่อดูแลติดตามระดับน้ำตาล ในเลือดของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย อีกทั้งชมรมผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลตัวเองของสมาชิก ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี 3) ประชากรในชุมชนได้รับการสนับสนุนด้านความรู้ในการดูแลตนเอง และกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจากทีมสหสาขาวิชาชีพและชมรมผู้ป่วยโรคเบาหวานอย่างสม่ำเสมอทำให้ประชาชนและกลุ่มผู้ป่วย โรคเบาหวานมีทักษะในการจัดการตนเองที่ดี 4) โรงพยาบาลทุกแห่งมีการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพที่เชื่อมโยงไปถึง รพ.สต. และชุมชน มีการรายงานผลการรักษาและสถานการณ์โรคเบาหวานให้ชุมชนทราบอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนสนับสนุนส่งเสริมให้ อบต. และชุมชนจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน และดำเนินกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคเบาหวานโดยชุมชนเอง"
} |
{
"en": "This predictive correlational research aimed to study the factors predicting antibiotic use behavior among village health volunteers. The samples consisted of 148 village health volunteers living in Talat subdistrict, Mueang Nakhon Ratchasima district, Nakhon Ratchasima province. The samples were selected by purposive sampling method. The research instruments were questionnaire which developed by researcher. The content validity and reliability of the knowledge questionnaire was analyzed by using KR-20 at 0.64. The attitude and antibiotic use behavior questionnaire were also analyzed by using Cronbach’s alpha coefficient at 0.77 and 0.81, respectively. The data were analyzed by descriptive statistics, Chi-square test, Pearson’s product moment correlation coefficient and Stepwise multiple regression analysis.\nThe results revealed that 72.3% of samples had a good level on antibiotic use behavior. When each factor was considered, it was found that the two predisposing factors were statistically significantly associated and could predict antibiotic use behavior. The attitude (ß = 0.388, p < .001) and the knowledge toward antibiotic use (ß = 0.173, p < .05) were significantly positively correlated and could predict antibiotic use behavior at the level of 21% (R2 = 0.210, p < .001). The result of this study could be used as guideline to develop the antibiotic smart use behavior promoting program for village health volunteers and they could be able to convey the knowledge about rationales for using antibiotics to people in community.",
"th": "การวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลตลาด อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 148 คน จากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและความเชื่อมั่น โดยค่าคูเดอร์-ริชาร์ดสัน 20 ของแบบสอบถามความรู้เท่ากับ 0.64 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามด้านทัศนคติและพฤติกรรมการ ใช้ยาปฏิชีวนะเท่ากับ 0.77 และ 0.81 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติไคสแควร์ สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เพียร์สัน และสถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน\nผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอยู่ในระดับดี ร้อยละ 72.3 เมื่อพิจารณาปัจจัย นำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริม ที่มีความสัมพันธ์และสามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะได้ พบว่า ปัจจัยนำ ด้านทัศนคติ เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะ (ß = 0.388, p < .001) และความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะมีผลทางบวกกับพฤติกรรมการใช้ยา ปฏิชีวนะ (ß = 0.173, p < .05) โดยสามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 21 อย่างมีนัย สำคัญทางสถิติ (R2 = 0.210, p < .001) ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริม พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลให้แก่กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดความรู้ด้านการใช้ยาปฏิชีวนะ อย่างถูกต้องเหมาะสมและสามารถถ่ายทอดสู่ประชาชนในพื้นที่ได"
} |
{
"en": "This research was a quasi-experiment with one-group pretest-posttest design. The purpose of this research was to study the effect of meditation program in promoting emotional quotient of the first year Nursing Students in Phetchaburi Rajabhat University by comparison mean pretest-posttest scores. This program based on the Observational learning’s concept process which based on social cognitive learning theory of Bandura were used as the conceptual frameworks to develop the program. The study sample consisted of 64 first year nursing students in Phetchaburi Rajabhat University. The research tool was the meditation program, which tested to ensure content validity by a panel of five experts before their implementation. Emotional Intelligence Assessment2 was used to collect data at three time points: pre-test, post-test, and at one-month follow up. The reliability of the questionnaires was confirmed with Cronbach’s alpha coefficients at .89. Data were analyzed using Repeated Measure Analysis of Variance and Bonferroni’s statistic.\nThe findings of the study revealed that the study sample’s mean post- test scores of emotional quotient obtained immediately after the experiment and at one-month follow up were statistically significantly higher than the mean pre-test score (p <.05).",
"th": "การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว วัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผล ของการใช้โปรแกรมการฝึกสมาธิต่อความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี โดยเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังเข้าร่วมการทดลอง และใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้ โดยการสังเกต (Observational learning) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา (Social Cognitive Learning Theory) ของ Bandura กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จำนวน 64 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ โปรแกรมการฝึกสมาธิสำหรับนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ก่อนนำไปใช้ในการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้ค่าความเที่ยง .89 เก็บข้อมูลก่อนทดลอง หลังการทดลองทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติ Repeated Measure Analysis of Variance และวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วย วิธีของ Bonferroni\nผลการวิจัย พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรี ที่ได้รับโปรแกรมการฝึกสมาธิ ทันทีเมื่อสิ้นสุดการทดลอง และระยะติดตามผล 1 เดือน สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05"
} |